SlideShare a Scribd company logo
By Kru Amp
http://ampmaths.wordpress.com
ที่มา : พจนานุกรมคณิตศาสตร์
จานวน                    เลขโดด (Digit) เลขโดด 10 ตัว ที่เขียนเป็นเลขฮินดู
(Numbers)                 อารบิก ได้แก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9
                          เราสามารถเขียนจานวนต่างๆ ได้จากเลขโดด 10 ตัวนี้



        1            2               3           4              5

จานวนเต็ม (Integers) ได้แก่
จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ และ ศูนย์
เช่น -11, -2, 0, 3, 8, 15, ฯลฯ

                                               http://ampmaths.wordpress.com
จานวน                      จานวนถัดไป (Consecutive numbers)
(Numbers)                    คือ จานวนซึ่งอยู่ถัดไปของจานวนอื่นแต่ละจานวน เช่น
                             4, 5, 6, 7, 8,… จานวนถัดไป คือ 9, 10, 11,…



          6             7             8              9             0
จานวนธรรมชาติ (Natural numbers)
หรือ จานวนนับ (Counting numbers)
ได้แก่ จานวนเต็มบวก เราใช้สาหรับนับ เช่น
1, 2, 3, 4, … จานวนธรรมชาติ ใช้สาหรับ
บวก ลบ คูณ และหารได้ จานวนธรรมชาติเริ่มที่ 1
หมายเหตุ 0 ไม่เป็นจำนวนธรรมชำติ
                                                  http://ampmaths.wordpress.com
จานวน                     จานวนบวก (Positive number)
                               จานวนใดที่อยู่เหนือศูนย์ เช่น +1, +6.5, +279
(Numbers)
                            แต่โดยทั่วไปจะเขียนโดยไม่ใส่เครื่องหมาย + จานวนใด
                            ที่ไม่มีเครื่องหมายบวกอยู่ขางหน้าก็ถือว่าเป็นจานวนบวก
                                                       ้



         +              -              +                             -
                                                                ในการวัดอุณหภูมิ
                                                                ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า
จานวนลบ (Negative number)                                       0ก็จะต้องวัด
จานวนใดที่น้อยกว่าศูนย์ เช่น -3, -21.4, -40                     อุณหภูมิโดยใช้
จานวนลบเขียนโดยใช้เครื่องหมาย – อยู่หน้าจานวน
ควรหลีกเลี่ยงความสับสนเกี่ยวกับการลบ จานวนลบ
                                                                จานวนลบ
อาจเขียนเครื่องหมายลบในตาแหน่งสูงก็ได้ เช่น -3     http://ampmaths.wordpress.com
จานวนระบุทศทาง (Directed numbers)
                                           ิ
  จานวน                    ได้แก่ จานวนบวกและจานวนลบทั้งหมดแสดงได้ด้วย
(Numbers)                  เส้นจานวน (Number line) ดังรูปที่แสดงไว้ข้างล่าง
                           ที่เรียกว่าจานวนระบุทิศทาง เพราะว่ามีความสาคัญในการ
                                      ที่จะนาทิศทางมาใช้โดยการวัดจากศูนย์




     -4 -3 -2 -1 0 +1 +2 +3 +4
จากเส้นจานวน (Number line)
เราสามารถบอกได้ว่าจานวนใดมีค่ามากกว่า
โดยดูจากเส้นจานวน จานวนที่อยู่ทางขวาจะมีค่ามากกว่า
จานวนที่อยู่ด้านซ้ายเสมอ เช่น -4 กับ 0
-4อยู่ด้านซ้ายของ 0 ดังนั้น -4 < 0
                                                http://ampmaths.wordpress.com
จานวนคู่ (Even number)
 จานวน                       ได้แก่ จานวนเต็มใดๆ ที่หารด้วย 2 แล้วไม่เหลือเศษ เช่น
(Numbers)                    -2, 2, 16, -18 ในการดูว่าจานวนใดเป็นจานวนคู่
                             มีวิธีง่ายๆ คือ จานวนเต็มซึ่งลงท้ายด้วย
                                               0, 2, 4, 6 หรือ 8 เป็นจานวนคู่


         1             2                3             4                5
จานวนคี่ (Odd number)
ได้แก่ จานวนเต็มใดๆ ที่หารด้วย 2 แล้ว
เหลือเศษ เช่น -1, 1, 13, -15
ในการดูว่าจานวนใดเป็นจานวนคี่มีวิธีง่ายๆ คือ
จานวนเต็มซึ่งลงท้ายด้วย 1, 3, 5, 7 หรือ 9
เป็นจานวนคี่                                        http://ampmaths.wordpress.com
จานวนเฉพาะ (Prime number)
  จานวน              คือ จานวนเต็มที่มากกว่า 1 ที่มี 1 และตัวมันเองเท่านั้นที่หารลงตัว
(Numbers)                จานวนเฉพาะ 10 ตัวแรก ได้แก่ 2, 3, 5, 7, 11, 13,17,
                     19, 23, 29 จะเห็นว่ามีจานวนเฉพาะไม่จากัดจานวน
                                 ข้อควรจา - 1 ไม่เป็นจานวนเฉพาะ
                                           - จานวนคู่มี 2 เท่านั้นเที่เป็นจานวนเฉพาะ

         1            2               3              4                5
จานวนประกอบ (Composite number)
ได้แก่ จานวนเต็มบวกใดๆ ที่ไม่ใช่จานวนเฉพาะ
เช่น 6, 9, 20, 27 ซึ่งเราสามารถเขียน
จานวนประกอบในรูปผลคูณของจานวนเฉพาะ เช่น
30 เป็นจานวนประกอบ 30 = 2 x 3 x 5
                                                   http://ampmaths.wordpress.com
จานวนแพนดิจิท(Pandigital number)
 จานวน                  ได้แก่ จานวนจานวนหนึ่งซึ่งประกอบด้วยเลขโดด 0, 1,
(Numbers)               2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 เพียงหนึ่งครั้งเท่านั้น เช่น
                        2918653470, 43785, 517




พาลินโดรม (Palindrome)
ได้แก่ จานวนจานวนหนึ่งซึ่งอ่านจากทางขวา
ไปทางซ้ายมีค่าเช่นเดียวกันกับอ่านจากทางซ้ายไป
ทางขวา เช่น 23432, 123454321, 788887

                                               http://ampmaths.wordpress.com
จานวนตรรกยะ (Rational number)
  จานวน                   ได้แก่ จานวนใดๆ ที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน เมื่อ
(Numbers)                 ตัวเศษและตัวส่วนเป็นจานวนเต็ม ซึ่งเป็นทั้งจานวนบวก
                          และจานวนลบ และอาจเป็นทศนิยม เช่น 50.856 และ
                                  ทศนิยมไม่รู้จบ เช่น 0.3 (ควรศึกษาวิธีการเปลี่ยน
                                       ทศนิยมและทศนิยมซ้าให้เป็นเศษส่วนต่อไป)
จานวนจริง (Real numbers)
ได้แก่ เซตของจานวนตรรกยะและจานวนอตรรยกะ
จานวนอตรรกยะ (Irrational number)
ได้แก่ จานวนใดที่ไม่ใช่จานวนตรรกยะ
จึงไม่สามารถเขียนเป็นเศษส่วนได้ จานวนอตรรกยะ
จะมีจานวนของตาแหน่งทศนิยมไม่จากัดแต่ไม่สามารถ
บอกจานวนต่อไปที่ละไว้ได้ พาย ()เป็นจานวนอตรรยะ
เพราะ  ได้แก่ 3.141592653…
                                                  http://ampmaths.wordpress.com

More Related Content

What's hot

การลบเลข
การลบเลขการลบเลข
การลบเลขguesta296e5
 
การลบเลข
การลบเลขการลบเลข
การลบเลขguesta296e5
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานพัน พัน
 
การลบเลข
การลบเลขการลบเลข
การลบเลขguesta296e5
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
อนุชิต ไชยชมพู
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
yingsinee
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
กอล์ฟ กุยช่ายเอกวิทย์
 
The numbers
The numbersThe numbers
The numbersjetiya
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
Nichaya100376
 

What's hot (15)

การลบเลข
การลบเลขการลบเลข
การลบเลข
 
การลบเลข
การลบเลขการลบเลข
การลบเลข
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
 
การลบเลข
การลบเลขการลบเลข
การลบเลข
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
Integer
IntegerInteger
Integer
 
53011213051
5301121305153011213051
53011213051
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
 
The numbers
The numbersThe numbers
The numbers
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
 
Mathอังกฤษ
MathอังกฤษMathอังกฤษ
Mathอังกฤษ
 

Similar to Numbers

รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองlekho
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
คุณครูพี่อั๋น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงDestiny Nooppynuchy
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ปณพล ดาดวง
 
Figures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจ
Figures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจFigures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจ
Figures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจ
Aj Muu
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
waranyuati
 
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
Supachok Pongkathin
 

Similar to Numbers (8)

รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
 
Figures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจ
Figures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจFigures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจ
Figures การพูดถึงตัวเลขในภาษาอังกฤษธุรกิจ
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
เวทคณิตน่ารู้(The Vedic mathematics Ver.Thai)
 
Number
NumberNumber
Number
 

More from KruAm Maths

กคศ.ว30
กคศ.ว30กคศ.ว30
กคศ.ว30
KruAm Maths
 
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
KruAm Maths
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
KruAm Maths
 
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
KruAm Maths
 
Geometry
GeometryGeometry
Geometry
KruAm Maths
 
Square Root 2
Square Root 2Square Root 2
Square Root 2
KruAm Maths
 
แนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisaแนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisaKruAm Maths
 
Pytagorus
PytagorusPytagorus
Pytagorus
KruAm Maths
 

More from KruAm Maths (9)

กคศ.ว30
กคศ.ว30กคศ.ว30
กคศ.ว30
 
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
ปรับเงินเดือนย้อนหลัง 1 ม.ค. 55
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
Begin with GSP (The Geometer's Sketchpad)
 
Geometry
GeometryGeometry
Geometry
 
Square Root 2
Square Root 2Square Root 2
Square Root 2
 
แนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisaแนวข้อสอบPisa
แนวข้อสอบPisa
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 
Pytagorus
PytagorusPytagorus
Pytagorus
 

Numbers

  • 1. By Kru Amp http://ampmaths.wordpress.com ที่มา : พจนานุกรมคณิตศาสตร์
  • 2. จานวน เลขโดด (Digit) เลขโดด 10 ตัว ที่เขียนเป็นเลขฮินดู (Numbers) อารบิก ได้แก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 เราสามารถเขียนจานวนต่างๆ ได้จากเลขโดด 10 ตัวนี้ 1 2 3 4 5 จานวนเต็ม (Integers) ได้แก่ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ และ ศูนย์ เช่น -11, -2, 0, 3, 8, 15, ฯลฯ http://ampmaths.wordpress.com
  • 3. จานวน จานวนถัดไป (Consecutive numbers) (Numbers) คือ จานวนซึ่งอยู่ถัดไปของจานวนอื่นแต่ละจานวน เช่น 4, 5, 6, 7, 8,… จานวนถัดไป คือ 9, 10, 11,… 6 7 8 9 0 จานวนธรรมชาติ (Natural numbers) หรือ จานวนนับ (Counting numbers) ได้แก่ จานวนเต็มบวก เราใช้สาหรับนับ เช่น 1, 2, 3, 4, … จานวนธรรมชาติ ใช้สาหรับ บวก ลบ คูณ และหารได้ จานวนธรรมชาติเริ่มที่ 1 หมายเหตุ 0 ไม่เป็นจำนวนธรรมชำติ http://ampmaths.wordpress.com
  • 4. จานวน จานวนบวก (Positive number) จานวนใดที่อยู่เหนือศูนย์ เช่น +1, +6.5, +279 (Numbers) แต่โดยทั่วไปจะเขียนโดยไม่ใส่เครื่องหมาย + จานวนใด ที่ไม่มีเครื่องหมายบวกอยู่ขางหน้าก็ถือว่าเป็นจานวนบวก ้ + - + - ในการวัดอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า จานวนลบ (Negative number) 0ก็จะต้องวัด จานวนใดที่น้อยกว่าศูนย์ เช่น -3, -21.4, -40 อุณหภูมิโดยใช้ จานวนลบเขียนโดยใช้เครื่องหมาย – อยู่หน้าจานวน ควรหลีกเลี่ยงความสับสนเกี่ยวกับการลบ จานวนลบ จานวนลบ อาจเขียนเครื่องหมายลบในตาแหน่งสูงก็ได้ เช่น -3 http://ampmaths.wordpress.com
  • 5. จานวนระบุทศทาง (Directed numbers) ิ จานวน ได้แก่ จานวนบวกและจานวนลบทั้งหมดแสดงได้ด้วย (Numbers) เส้นจานวน (Number line) ดังรูปที่แสดงไว้ข้างล่าง ที่เรียกว่าจานวนระบุทิศทาง เพราะว่ามีความสาคัญในการ ที่จะนาทิศทางมาใช้โดยการวัดจากศูนย์ -4 -3 -2 -1 0 +1 +2 +3 +4 จากเส้นจานวน (Number line) เราสามารถบอกได้ว่าจานวนใดมีค่ามากกว่า โดยดูจากเส้นจานวน จานวนที่อยู่ทางขวาจะมีค่ามากกว่า จานวนที่อยู่ด้านซ้ายเสมอ เช่น -4 กับ 0 -4อยู่ด้านซ้ายของ 0 ดังนั้น -4 < 0 http://ampmaths.wordpress.com
  • 6. จานวนคู่ (Even number) จานวน ได้แก่ จานวนเต็มใดๆ ที่หารด้วย 2 แล้วไม่เหลือเศษ เช่น (Numbers) -2, 2, 16, -18 ในการดูว่าจานวนใดเป็นจานวนคู่ มีวิธีง่ายๆ คือ จานวนเต็มซึ่งลงท้ายด้วย 0, 2, 4, 6 หรือ 8 เป็นจานวนคู่ 1 2 3 4 5 จานวนคี่ (Odd number) ได้แก่ จานวนเต็มใดๆ ที่หารด้วย 2 แล้ว เหลือเศษ เช่น -1, 1, 13, -15 ในการดูว่าจานวนใดเป็นจานวนคี่มีวิธีง่ายๆ คือ จานวนเต็มซึ่งลงท้ายด้วย 1, 3, 5, 7 หรือ 9 เป็นจานวนคี่ http://ampmaths.wordpress.com
  • 7. จานวนเฉพาะ (Prime number) จานวน คือ จานวนเต็มที่มากกว่า 1 ที่มี 1 และตัวมันเองเท่านั้นที่หารลงตัว (Numbers) จานวนเฉพาะ 10 ตัวแรก ได้แก่ 2, 3, 5, 7, 11, 13,17, 19, 23, 29 จะเห็นว่ามีจานวนเฉพาะไม่จากัดจานวน ข้อควรจา - 1 ไม่เป็นจานวนเฉพาะ - จานวนคู่มี 2 เท่านั้นเที่เป็นจานวนเฉพาะ 1 2 3 4 5 จานวนประกอบ (Composite number) ได้แก่ จานวนเต็มบวกใดๆ ที่ไม่ใช่จานวนเฉพาะ เช่น 6, 9, 20, 27 ซึ่งเราสามารถเขียน จานวนประกอบในรูปผลคูณของจานวนเฉพาะ เช่น 30 เป็นจานวนประกอบ 30 = 2 x 3 x 5 http://ampmaths.wordpress.com
  • 8. จานวนแพนดิจิท(Pandigital number) จานวน ได้แก่ จานวนจานวนหนึ่งซึ่งประกอบด้วยเลขโดด 0, 1, (Numbers) 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 เพียงหนึ่งครั้งเท่านั้น เช่น 2918653470, 43785, 517 พาลินโดรม (Palindrome) ได้แก่ จานวนจานวนหนึ่งซึ่งอ่านจากทางขวา ไปทางซ้ายมีค่าเช่นเดียวกันกับอ่านจากทางซ้ายไป ทางขวา เช่น 23432, 123454321, 788887 http://ampmaths.wordpress.com
  • 9. จานวนตรรกยะ (Rational number) จานวน ได้แก่ จานวนใดๆ ที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน เมื่อ (Numbers) ตัวเศษและตัวส่วนเป็นจานวนเต็ม ซึ่งเป็นทั้งจานวนบวก และจานวนลบ และอาจเป็นทศนิยม เช่น 50.856 และ ทศนิยมไม่รู้จบ เช่น 0.3 (ควรศึกษาวิธีการเปลี่ยน ทศนิยมและทศนิยมซ้าให้เป็นเศษส่วนต่อไป) จานวนจริง (Real numbers) ได้แก่ เซตของจานวนตรรกยะและจานวนอตรรยกะ จานวนอตรรกยะ (Irrational number) ได้แก่ จานวนใดที่ไม่ใช่จานวนตรรกยะ จึงไม่สามารถเขียนเป็นเศษส่วนได้ จานวนอตรรกยะ จะมีจานวนของตาแหน่งทศนิยมไม่จากัดแต่ไม่สามารถ บอกจานวนต่อไปที่ละไว้ได้ พาย ()เป็นจานวนอตรรยะ เพราะ  ได้แก่ 3.141592653… http://ampmaths.wordpress.com