SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
การทางานเป็นเลเยอร์ (Layer) เป็นการทางานโดยการแยกส่วนต่างๆ ของภาพออกจากกัน เป็นลาดับ
ขั้น ซึ่งในการสร้าง Flash Movie นั้น การใช้ Layer จะช่วยทาให้เกิดการเคลื่อนที่อย่างสมจริงสมจัง ฉะนั้น
อาจเรียกได้ว่าการใช้ Layer ในการสร้างภาพเป็นเรื่องที่สาคัญมากในการสร้าง Flash Movie


          ลักษณะการทางานแบบ Layer เป็นการวางแผ่นใสซ้อนทับกันเป็นลาดับขั้นขึ้นมาเรื่อยๆ โดยแต่ละ
แผ่นใสเปรียบเหมือนเป็นแต่ละ Layer บริเวณ Layer ที่ไม่มีรูปจะเห็นทะลุถึง Layer ที่อยู่ข้างล่าง โดย
กระบวนการเช่นนี้จะทาให้เกิดเป็นรูป Flash Movie ที่สมบูรณ์
          นอกจากนี้แล้ว ในแต่ละ Layer จะแยกการทางานอย่างชัดเจน มีคุณสมบัติต่างๆ เป็นของตัวเอง และ
แก้ไขที่เกิดขึ้นในแต่ละ Layer นั้นจะไม่ส่งผลต่อ Layer อื่นๆ



                  รูปภาพแสดงเมื่อสมบูรณ์




รูปแสดงการวาง Layer เข้าด้วยกันจนเกิดเป็นภาพใหม่




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7       หน้า 108
ในการสร้าง Flash Movie ขึ้นมานั้น แม้จะประกอบ
ไปด้วย Layer หลาย Layer แต่สามารถทางานได้เพียงทีละ
 Layer เท่านั้น Layer ที่กาลังทางานอยู่เรียกว่า Action Layer
สังเกตได้จะปรากฏเป็นแถบสีดาที่ Layer นั้น และสามารถ
กาหนดสถานะต่าง ๆ ของ Layer นั้นได้ เช่น กาหนดให้
แสดงหรือซ่อน Layer, กาหนดให้ Layer นั้นสามารถปรับ
แต่งได้หรือไม่ได้ ,กาหนดให้ Layer นั้นแสดงเฉพาะเส้น
                                                                 แสดงสถานะการทางานของ Layer
โครงร่าง เป็นต้น



      คลิกในคอลัมน์      Eye ทางขวาของชื่อเลเยอร์หากเลเยอร์ใดแสดงเครื่องหมาย     แสดงว่าถูกซ่อน
อยู่ ให้คลิกซ้าเพื่อแสดง
          เราสามารถคลิกแล้วลากในคอลัมน์ Eye นี้ได้เพื่อแสดงหรือซ่อนทีละหลายๆ เลเยอร์
หากต้องการแสดง / ซ่อนเลเยอร์ทั้งหมด ให้คลิกที่ไอคอน ที่แถบส่วนหัวของเลเยอร์หรือ กดปุ่ม Alt ค้างไว้
แล้ว คลิกในคอลัมน์ Eye

                             แถบส่วนหัว       คอลัมน์ Eye




            คลิกในคอลัมน์   Outline ที่อยู่ทางขวาของชื่อเลเยอร์เพื่อแสดงหรือไม่แสดงโครงร่างเนื้อหาในเล
เยอร์นั้น
        เราสามารถคลิกแล้วลากในคอลัมน์ Outline นี้ได้เพื่อแสดงหรือไม่แสดงที ละหลายๆ เลเยอร์
หากต้องแสดง / ซ่อนเลเยอร์ทั้งหมด ให้คลิกที่ไอคอน ที่แถบส่วนหัวของเลเยอร์ หรือ กดปุ่ม Alt ค้างไว้
แล้วคลิกในคอลัมน์ Outline

โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7        หน้า 109
คอลัมน์ Outline




                                                             แสดงโครงร่างของเนื้อหา
                                                                ในเลเยอร์ทเี่ ลือก


        1. ให้เปิด Properties ขึ้นมาซึ่งสามารถที่จะเปิดหน้าต่าง Properties ขึ้นมาได้นั้นมีวิธีการเปิด
ด้วยกัน 3 วิธี ดังนี้
        * ดับเบิลคลิกที่ไอคอนของเลเยอร์ที่อยู่ด้านซ้ายของชื่อเลเยอร์
                  ้
        * คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วคลิกเลือกคาสั่ง Properties
        * คลิกที่เลเยอร์นั้น แล้วเลือกคาสั่ง Modify เลือกไปที่ Timeline แล้วเลือกที่ Layer




                                                                          เลือกสี




        2. เลือกสีที่ต้องการ
        3. เลือก OK



โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7       หน้า 110
ดับเบิลคลิกที่ไอคอน
              ้                 ที่อยู่ด้านซ้ายของชื่อเลเยอร์ แล้วเลือกขนาดในส่วนของ Layer Height และ
เลือก OK




         คลิกที่ชื่อเลเยอร์ หรือ คลิกที่เฟรมใดๆ ของเลเยอร์นั้น หรือ เลือกออบเจ็กต์บนสเตจที่อยู่ในเลเยอร์
นั้น หากต้องการเลือกหลายเลเยอร์ที่อยู่ติดกัน ให้กดปุ่ม Shift ค้างไว้ แล้วคลิกเลือกหากต้องการเลือกหลายเล
เยอร์ที่อยู่ไม่ติดกัน ให้กดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ แล้วคลิกเลือก

        1. สร้างโดยเลือกเมนู คาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Timeline แล้วเลือกที่ Layer ดังรูป




            - คลิกที่ปุ่ม      Insert Layer ที่อยู่ด้านล่างพาเนล
            - คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วเลือกคาสั่ง Insert Layer



โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7          หน้า 111
2. Layer ใหม่จะถูกสร้างขึ้นมาเหนือ Layer ที่กาลังทางานอยู่ โดยมีการกาหนดชื่อ Layer โดย
อัตโนมัติ




             ดับเบิลคลิกที่ชื่อเลเยอร์ แล้วพิมพ์ชื่อใหม่
                    ้
             คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วเลือกคาสั่ง Properties
             เลือกเลเยอร์นั้น แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Modify เลือกคาสั่ง Timeline แล้วเลือก Layer


                                                                       พิมพ์ชื่อใหม่




                   1. เลือกเลเยอร์ที่จะคัดลอก
                   2. เลือกมเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Copy Frames
                   3. คลิกที่ปุ่ม    Insert Layer เพื่อสร้างเลเยอร์ใหม่
                   4. เลือกเลเยอร์ใหม่นั้น แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste Frames




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7           หน้า 112
ลากเลเยอร์ไปยังตาแหน่งใหม่ที่ต้องการ



                                ดรากส์เมาส์ลากไปวางยัง
                                ตาแหน่งที่ต้องการ




        คลิกในคอลัมน์ Lock ที่อยู่ทางขวาของชื่อเลเยอร์เพื่อล็อคหรือไม่ล็อคเลเยอร์นั้นเรา สามารถคลิก
แล้วลากในคอลัมน์ Lock นี้ได้เพื่อล็อคทีละหลายๆ เลเยอร์ หากต้องการล็อก / ไม่ล็อกเลเยอร์ทั้งหมด
ให้คลิกที่ไอคอน ที่แถบส่วนหัวของเลเยอร์ หรือ กดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้วคลิกในคอลัมน์ Lock



                                                คอลัมน์ Lock




        1. เลือกเลเยอร์ที่จะลบ
        2. คลิกที่ปุ่ม      Delete Layer ด้านล่างของพาเนล หรือ ลากเลเยอร์นั้นไปทิ้งลงในปุ่ม
           Delete Layer หรือ คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วคลิกคาสั่ง Delete Layer




                                                                  Delete Layer

โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7     หน้า 113
โฟลเดอร์ของเลเยอร์ (Layer Folder) เป็นส่วนที่ช่วยในการจัดเลเยอร์ให้เป็นระเบียบโดยจัดแยก
ออกเป็น กลุ่มๆเช่นเดียวกับการจั ดระบบไฟล์ ในเครื่องของเราในโฟลเดอร์นี้จะสามารถบรรจุเลเยอร์ หรือ
โฟลเดอร์ย่อยๆ อีกก็ได้

             การสร้างโฟลเดอร์ของเลเยอร์
        คลิกที่เลเยอร์ใดๆ แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Layer Folder หรือ คลิกขวาที่ชื่อ
เลเยอร์ แล้วเลือกคาสั่ง Insert Folder หรือ คลิกปุ่ม        Insert Layer Foldr ที่ด้านล่างของพาเนลจะ
ปรากฏโฟลเดอร์อยู่เหนือเลเยอร์ที่เราเลือก




                         Insert Layer Folder


        ดรากส์เมาส์ลากเลเยอร์นั้นไปวางที่ชื่อโฟลเดอร์ที่ต้องการ


         คลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมหน้าชื่อโฟลเดอร์หากต้องการ
เปิด-ปิดโฟล์เดอร์ทั้งหมด ให้คลิกขวาแล้วเลือกคาสั่ง Expand All
Folders เพื่อเปิด หรือ Collapse All Folders เพื่อปิด




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7         หน้า 114
1.   คลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมหน้าชื่อโฟล์เดอร์ เพื่อเปิดโฟล์เดอร์
        2.   คลิกที่ชื่อโฟลเดอร์ เพื่อเลือกทั้งโฟลเดอร์
        3.   เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Copy Frames
        4.   เลือกเมนูคาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Layer Folder เพื่อสร้างโฟล์เดอร์เลเยอร์ใหม่
        5.   คลิกที่ชื่อโฟลเดอร์ใหม่ที่ได้ แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste Frames


        1.   เลือกออบเจ็กต์ที่ต้องการจะย้ายหรือคัดลอก
        2.   เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Cut เพื่อย้าย หรือ Edit เลือกคาสั่ง Copy เพื่อคัดลอก
        3.   เลือกเลเยอร์ ซีน หรือไฟล์ที่ต้องการจะนาออบเจ็กต์นั้นไปไว้
        4.   เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste เพื่อนาไปใส่ลงตรงกลางสเตจ หรือ เลือกเมนูคาสั่ง Edit
             เลือกคาสั่ง Paste in Place เพื่อนาไปวางบนสเตจในตาแหน่งเดียวกับที่ออบเจ็กต์นั้นอยู่



     ในการสร้างมูฟวี่ขึ้นสักไฟล์หนึ่งนั้น เราควรที่จะแบ่งเรื่องราวออกเป็นฉากๆ ที่เรียกว่า ซีน เมื่อ
ไฟล์มูฟวี่ที่มีหลายๆ ซีนแสดงผล มันจะแสดงเรียงตามลาดับที่เราจัดไว้ให้ โดยเฟรมในมูฟวี่จะถูกใส่หมายเลข
ลาดับเรียงต่อเนื่องกันไป ตัวอย่างเช่น ถ้ามูฟวี่ของเราประกอบด้วย 2 ซีนๆ ละ 10 เฟรม เฟรมในซีนที่ 2 จะ
เริ่มที่เฟรมที่ 11-20 เป็นต้น

     
     พาเนล Scene จะเป็นส่วนที่ช่วยให้เราจัดการกับซีนได้อย่าง
สะดวกไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มซีน การลบซีน หรือการเรียงลาดับซีน เรา
สามารถเปิดใช้พาเนล Scene ได้ โดยเลือกเมนูคาสั่ง Window เลือก
คาสั่ง Design Panels แล้วเลือกที่ Scene



   เลือกเมนูคาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Scene หรือ คลิกที่ปุ่ม
Add Scene ด้านล่างของ พาเนล Scene



โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7         หน้า 115
ในพาเนล Scene ดับเบิลคลิกที่ชื่อซีน แล้วเพิ่มชื่อใหม่
                        ้


    1. ในพาเนล Scene คลิกที่ซีนที่จะทาซ้า
    2. คลิกที่ปุ่ม Duplicate Scene ด้านล่างของพาเนล Scene


        เลือกเมนูคาสั่ง View เลือกคาสั่ง Go To




        หรือ คลิกที่ปุ่ม       Edit Scene ด้านบนขวาของหน้าต่างชิ้นงาน




        ในพาเนล Scene ลากซีนนั้นไปยังลาดับที่ต้องการ


        คลิกที่ปุ่ม        Delete Scene ด้านล่างของพาเนล Scene


โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7   หน้า 116
ในพาเนล Timeline เราสามารถจัดการกับเฟรมและคีย์เฟรมเพื่อสร้างการเคลื่อนไหวได้ ตาม ที่ เรา
ต้องการ ซึ่งอาจเป็น


        ก่อนที่จะจัดการกับเฟรมต่างๆ ได้นั้น เราจะต้องเลือ กเฟรมที่จะจัดการเสียก่อน ซึ่งเราสามารถ เลือก
เฟรมได้ 2 วิธีด้วยกัน ได้แก่
                  - การเลือกทีละเฟรม
                      โดยการคลิกที่เฟรมที่ต้องการ

                 - การเลือกเป็นช่วง
                         คลิกที่เฟรมแรกที่จะเลือกกดปุ่ม Shift ค้างไว้ แล้วคลิกที่เฟรมสุดท้ายของช่วงที่
                 ต้องการ




                           คลิกที่เฟรมแรก              กด Shift ค้างไว้คลิกที่
                                                           เฟรมสุดท้าย


        กดปุ่ม Alt ค้างไว้ คลิกที่เฟรมที่จะคัดลอก แล้วลากไปยังตาแหน่งที่จะคัดลอกไปหรือเลือก
เฟรมที่จะคัดลอก เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Copy Frames แล้วไปเลือกเฟรมที่จะคัดลอกไปไว้ และ
เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste Frames




    เลือกเฟรม เลือก Edit            คลิกที่เฟรมที่จะ             เลือก Edit > Paste Frames
      > Copy Frames                  คัดลอกไปไว้




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7        หน้า 117
1. เลือกเฟรมหรือคีย์เฟรมที่จะลบ
        2. คลิกขวาแล้วเลือกคาสั่ง Remove Frame




                เลือกเฟรมที่จะลบ                                      เฟรมที่เหลืออยู่




        เลือกคีย์เฟรมนั้น แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Modify เลือกคาสั่ง Timeline แล้วเลือกที่ Clear Keyframe
คีย์เฟรมนั้นรวมทั้งเฟรมก่อนหน้าจะถูกแทนที่ด้วยออบเจ็กต์ในเฟรมก่อนหน้านั้น




        กดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้วลากคีย์เฟรมสุดท้ายออกไป


        ลากคีย์เฟรมนั้นไปยังตาแหน่งใหม่



โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7       หน้า 118
คลิกปุ่ม     ตรงมุมบนขวาของส่วนแสดงเฟรมในพาเนล Timeline




เลือก Tiny, Small, Normal, Medium, หรือ Large เพื่อปรับขนาดช่องเฟรมจากเล็กไปใหญ่

                                                              Tiny




                                                             Small



                                                             Norma
                                                             l



                                                              Medium



                                                             Large




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7   หน้า 119
เลือก Preview เพื่อแสดงรูปออบเจ็กต์ในแต่ละเฟรมด้วย




  เลือก Preview in Content เพื่อแสดงทั้งสเตจในแต่ละเฟรม




    การดูผลการแสดงจากเมนู Control




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7   หน้า 120
ความหมายคาสั่งต่างๆ ในเมนู Control

                   คาสั่ง                                  คาอธิบาย
   Play                                แสดงผลซีนบนสเตจ
   Rewind                              ถอยกลับ
   Go To End                           ไปยังซีนสุดท้าย
   Step Forward One Frame              เลื่อนเดินหน้าทีละเฟรม
   Step Backward One Frame             ถอยหลังทีละเฟรม
   Test Movie                          แสดงผลมูฟวี่ในบราวเซอร์
   Debug Movie                         แก้ไขมูฟวี่
   Test Scene                          แสดงผลซีนในบราวเซอร์
   Loop Playback                       แสดงผลแบบวนรอบ
   Play All Scenes                     แสดงผลทุกซีน
   Enable Simple Frame Actions         ให้ทดลองแอ็คชั่นที่กาหนดไว้ในเฟรมได้
   Enable Simple Buttons               ให้ทดลองกดปุ่มได้
   Mute Sounds                         ปิดเสียงขณะแสดงผล


เปิดใช้แผงควบคุม โดยเลือกเมนูคาสั่ง Window เลือกคาสั่ง Toolbars เลือกคาสั่ง Controller


            Stop                                            Go to last frame

                   Go to first frame   Play
                                                   Step Forward one Frame
                      Step back one frame
เริ่มแสดงผลให้คลิกที่ปุ่ม Play
หยุดการแสดงผล ให้คลิกที่ปุ่ม Step Forward เพื่อเดินหน้า หรือคลิกที่ปุ่ม Step Backward เพื่อถอยหลัง
หรือกดปุ่ม < และ > บนแป้นพิมพ์




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7    หน้า 121
ถึงแม้ว่าเราจะสามารถดูผลการแสดงของมูฟวี่ที่เราสร้างขึ้นได้ทันทีภายในไฟล์ชิ้นงานที่เรากาลังสร้าง
อยู่นั้นก็ตาม แต่จะมีการเคลื่อนไหวบางอย่างรวมทั้งการเคลื่อนไหวที่ต้องมีการโต้ตอบจะไม่สามารถแสดงผลได้
ภายในชิ้นงานจนกว่าเราจะสร้างให้เป็นไฟล์ Flash movie เสียก่อน ดังนั้นในการแสดงผลการเคลื่อนไหว
เหล่านี้ เราจะต้องใช้คาสั่ง Test Movie ซึ่งจะทาหน้าที่ในการสร้างไฟล์ Flash movie จากไฟล์ชิ้นงาน
ขณะนั้นและแสดงผลให้ทันที
           เลือกเมนูคาสั่ง Control เลือกคาสั่ง Test Movie เพื่อแสดงผลทั้งมูฟวี่ หรือ เลือกเมนูคาสั่ง Control
เลือกคาสั่ง Test Scene เพื่อแสดงผลเฉพาะซีนขณะนั้น ไฟล์ .swf ที่ได้จะอยู่ในโฟล์เดอร์เดียวกับไฟล์ .fla



          เราสามารถขอดูผลการแสดงของไฟล์ชิ้นงานขณะนั้นในเว็บบราวเซอร์ได้ทันที โดยเลือกเมนูคาสั่ง File
เลือกคาสั่ง Publish Preview เลือกคาสั่ง HTML
          โปรแกรมจะทาการสร้างไฟล์ Flash movie (.swf) และแสดงผลในเว็บบราวเซอร์ที่มีอยู่ในระบบ
เครื่องมือของเราด้วยโปรแกรม Flash Player ไฟล์ .swf ที่ได้จะอยู่ในโฟล์เดอร์เดียวกับไฟล์ .fla




โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7             หน้า 122

More Related Content

Viewers also liked

การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมการทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมAugusts Programmer
 
Team Professionals VMobile Presentation Updated
Team Professionals VMobile Presentation UpdatedTeam Professionals VMobile Presentation Updated
Team Professionals VMobile Presentation UpdatedDory Mendros
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงการทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงAugusts Programmer
 
การทำ Animation ต่างๆ
การทำ Animation ต่างๆการทำ Animation ต่างๆ
การทำ Animation ต่างๆAugusts Programmer
 
การส่ง Mail จาก flash
การส่ง Mail จาก flashการส่ง Mail จาก flash
การส่ง Mail จาก flashAugusts Programmer
 
การทำ Hover caption ใน flash
การทำ Hover caption ใน flashการทำ Hover caption ใน flash
การทำ Hover caption ใน flashAugusts Programmer
 
การทำสมุดภาพระบายสี
การทำสมุดภาพระบายสีการทำสมุดภาพระบายสี
การทำสมุดภาพระบายสีAugusts Programmer
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashการทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashAugusts Programmer
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุAugusts Programmer
 
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)Augusts Programmer
 

Viewers also liked (16)

การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมการทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
 
Flash cs5124
Flash cs5124Flash cs5124
Flash cs5124
 
Audience
AudienceAudience
Audience
 
Evaluation q2
Evaluation q2Evaluation q2
Evaluation q2
 
Team Professionals VMobile Presentation Updated
Team Professionals VMobile Presentation UpdatedTeam Professionals VMobile Presentation Updated
Team Professionals VMobile Presentation Updated
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงการทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
 
การทำ Animation ต่างๆ
การทำ Animation ต่างๆการทำ Animation ต่างๆ
การทำ Animation ต่างๆ
 
การส่ง Mail จาก flash
การส่ง Mail จาก flashการส่ง Mail จาก flash
การส่ง Mail จาก flash
 
Flash cs5(1)
Flash cs5(1)Flash cs5(1)
Flash cs5(1)
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Flash cs55
Flash cs55Flash cs55
Flash cs55
 
การทำ Hover caption ใน flash
การทำ Hover caption ใน flashการทำ Hover caption ใน flash
การทำ Hover caption ใน flash
 
การทำสมุดภาพระบายสี
การทำสมุดภาพระบายสีการทำสมุดภาพระบายสี
การทำสมุดภาพระบายสี
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashการทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุ
 
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 4 (การทำmovie shortการ์ตูนขยับ)
 

Similar to Lesson6

ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไขใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไขNicharee Piwjan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ LayoutKhon Kaen University
 
คู่มือFlash
คู่มือFlashคู่มือFlash
คู่มือFlashMark Liberty
 
คู่มือFlash CS3
คู่มือFlash CS3คู่มือFlash CS3
คู่มือFlash CS3Paweena Phochan
 
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกLesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกErrorrrrr
 
GIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
GIS : การสร้าง Label และการทำ AnnotationGIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
GIS : การสร้าง Label และการทำ AnnotationBoo' Noypeng
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานกชพร มณีพงษ์
 

Similar to Lesson6 (20)

Flash6
Flash6Flash6
Flash6
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Flash7
Flash7Flash7
Flash7
 
Flash8
Flash8Flash8
Flash8
 
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไขใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
 
copy และ delete layer
copy และ delete layercopy และ delete layer
copy และ delete layer
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
 
คู่มือFlash
คู่มือFlashคู่มือFlash
คู่มือFlash
 
คู่มือFlash
คู่มือFlashคู่มือFlash
คู่มือFlash
 
คู่มือFlash CS3
คู่มือFlash CS3คู่มือFlash CS3
คู่มือFlash CS3
 
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโกLesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
Lesson 3 การทำงานของเต่าโลโก
 
Flash8
Flash8Flash8
Flash8
 
GIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
GIS : การสร้าง Label และการทำ AnnotationGIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
GIS : การสร้าง Label และการทำ Annotation
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
 

More from Augusts Programmer

การสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preloadการสร้างตัว Preload
การสร้างตัว PreloadAugusts Programmer
 
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shapeการเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shapeAugusts Programmer
 
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุการเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุAugusts Programmer
 
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวการทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวAugusts Programmer
 
การทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenการทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenAugusts Programmer
 
การทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blurการทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร BlurAugusts Programmer
 
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปการใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปAugusts Programmer
 
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองการกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองAugusts Programmer
 
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004Augusts Programmer
 
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)Augusts Programmer
 
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flashสร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม FlashAugusts Programmer
 
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่Augusts Programmer
 
เทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง Cursorเทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง CursorAugusts Programmer
 
เทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออก
เทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออกเทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออก
เทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออกAugusts Programmer
 
เทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guideเทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guideAugusts Programmer
 
เทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & dropเทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & dropAugusts Programmer
 
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษรเทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษรAugusts Programmer
 
การใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flashการใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flashAugusts Programmer
 
การสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml textการสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml textAugusts Programmer
 

More from Augusts Programmer (20)

การสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preloadการสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preload
 
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shapeการเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
 
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุการเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
 
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวการทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
 
การทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenการทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screen
 
การทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blurการทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blur
 
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปการใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
 
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองการกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
 
การ Import file
การ Import fileการ Import file
การ Import file
 
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004
 
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
 
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flashสร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
 
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
 
เทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง Cursorเทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง Cursor
 
เทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออก
เทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออกเทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออก
เทคนิคการทำภาพ Zoom เข้า zoom ออก
 
เทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guideเทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guide
 
เทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & dropเทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & drop
 
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษรเทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
 
การใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flashการใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flash
 
การสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml textการสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml text
 

Lesson6

  • 1. การทางานเป็นเลเยอร์ (Layer) เป็นการทางานโดยการแยกส่วนต่างๆ ของภาพออกจากกัน เป็นลาดับ ขั้น ซึ่งในการสร้าง Flash Movie นั้น การใช้ Layer จะช่วยทาให้เกิดการเคลื่อนที่อย่างสมจริงสมจัง ฉะนั้น อาจเรียกได้ว่าการใช้ Layer ในการสร้างภาพเป็นเรื่องที่สาคัญมากในการสร้าง Flash Movie ลักษณะการทางานแบบ Layer เป็นการวางแผ่นใสซ้อนทับกันเป็นลาดับขั้นขึ้นมาเรื่อยๆ โดยแต่ละ แผ่นใสเปรียบเหมือนเป็นแต่ละ Layer บริเวณ Layer ที่ไม่มีรูปจะเห็นทะลุถึง Layer ที่อยู่ข้างล่าง โดย กระบวนการเช่นนี้จะทาให้เกิดเป็นรูป Flash Movie ที่สมบูรณ์ นอกจากนี้แล้ว ในแต่ละ Layer จะแยกการทางานอย่างชัดเจน มีคุณสมบัติต่างๆ เป็นของตัวเอง และ แก้ไขที่เกิดขึ้นในแต่ละ Layer นั้นจะไม่ส่งผลต่อ Layer อื่นๆ รูปภาพแสดงเมื่อสมบูรณ์ รูปแสดงการวาง Layer เข้าด้วยกันจนเกิดเป็นภาพใหม่ โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 108
  • 2. ในการสร้าง Flash Movie ขึ้นมานั้น แม้จะประกอบ ไปด้วย Layer หลาย Layer แต่สามารถทางานได้เพียงทีละ Layer เท่านั้น Layer ที่กาลังทางานอยู่เรียกว่า Action Layer สังเกตได้จะปรากฏเป็นแถบสีดาที่ Layer นั้น และสามารถ กาหนดสถานะต่าง ๆ ของ Layer นั้นได้ เช่น กาหนดให้ แสดงหรือซ่อน Layer, กาหนดให้ Layer นั้นสามารถปรับ แต่งได้หรือไม่ได้ ,กาหนดให้ Layer นั้นแสดงเฉพาะเส้น แสดงสถานะการทางานของ Layer โครงร่าง เป็นต้น คลิกในคอลัมน์ Eye ทางขวาของชื่อเลเยอร์หากเลเยอร์ใดแสดงเครื่องหมาย แสดงว่าถูกซ่อน อยู่ ให้คลิกซ้าเพื่อแสดง เราสามารถคลิกแล้วลากในคอลัมน์ Eye นี้ได้เพื่อแสดงหรือซ่อนทีละหลายๆ เลเยอร์ หากต้องการแสดง / ซ่อนเลเยอร์ทั้งหมด ให้คลิกที่ไอคอน ที่แถบส่วนหัวของเลเยอร์หรือ กดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้ว คลิกในคอลัมน์ Eye แถบส่วนหัว คอลัมน์ Eye คลิกในคอลัมน์ Outline ที่อยู่ทางขวาของชื่อเลเยอร์เพื่อแสดงหรือไม่แสดงโครงร่างเนื้อหาในเล เยอร์นั้น เราสามารถคลิกแล้วลากในคอลัมน์ Outline นี้ได้เพื่อแสดงหรือไม่แสดงที ละหลายๆ เลเยอร์ หากต้องแสดง / ซ่อนเลเยอร์ทั้งหมด ให้คลิกที่ไอคอน ที่แถบส่วนหัวของเลเยอร์ หรือ กดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้วคลิกในคอลัมน์ Outline โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 109
  • 3. คอลัมน์ Outline แสดงโครงร่างของเนื้อหา ในเลเยอร์ทเี่ ลือก 1. ให้เปิด Properties ขึ้นมาซึ่งสามารถที่จะเปิดหน้าต่าง Properties ขึ้นมาได้นั้นมีวิธีการเปิด ด้วยกัน 3 วิธี ดังนี้ * ดับเบิลคลิกที่ไอคอนของเลเยอร์ที่อยู่ด้านซ้ายของชื่อเลเยอร์ ้ * คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วคลิกเลือกคาสั่ง Properties * คลิกที่เลเยอร์นั้น แล้วเลือกคาสั่ง Modify เลือกไปที่ Timeline แล้วเลือกที่ Layer เลือกสี 2. เลือกสีที่ต้องการ 3. เลือก OK โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 110
  • 4. ดับเบิลคลิกที่ไอคอน ้ ที่อยู่ด้านซ้ายของชื่อเลเยอร์ แล้วเลือกขนาดในส่วนของ Layer Height และ เลือก OK คลิกที่ชื่อเลเยอร์ หรือ คลิกที่เฟรมใดๆ ของเลเยอร์นั้น หรือ เลือกออบเจ็กต์บนสเตจที่อยู่ในเลเยอร์ นั้น หากต้องการเลือกหลายเลเยอร์ที่อยู่ติดกัน ให้กดปุ่ม Shift ค้างไว้ แล้วคลิกเลือกหากต้องการเลือกหลายเล เยอร์ที่อยู่ไม่ติดกัน ให้กดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ แล้วคลิกเลือก 1. สร้างโดยเลือกเมนู คาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Timeline แล้วเลือกที่ Layer ดังรูป - คลิกที่ปุ่ม Insert Layer ที่อยู่ด้านล่างพาเนล - คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วเลือกคาสั่ง Insert Layer โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 111
  • 5. 2. Layer ใหม่จะถูกสร้างขึ้นมาเหนือ Layer ที่กาลังทางานอยู่ โดยมีการกาหนดชื่อ Layer โดย อัตโนมัติ  ดับเบิลคลิกที่ชื่อเลเยอร์ แล้วพิมพ์ชื่อใหม่ ้  คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วเลือกคาสั่ง Properties  เลือกเลเยอร์นั้น แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Modify เลือกคาสั่ง Timeline แล้วเลือก Layer พิมพ์ชื่อใหม่ 1. เลือกเลเยอร์ที่จะคัดลอก 2. เลือกมเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Copy Frames 3. คลิกที่ปุ่ม Insert Layer เพื่อสร้างเลเยอร์ใหม่ 4. เลือกเลเยอร์ใหม่นั้น แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste Frames โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 112
  • 6. ลากเลเยอร์ไปยังตาแหน่งใหม่ที่ต้องการ ดรากส์เมาส์ลากไปวางยัง ตาแหน่งที่ต้องการ คลิกในคอลัมน์ Lock ที่อยู่ทางขวาของชื่อเลเยอร์เพื่อล็อคหรือไม่ล็อคเลเยอร์นั้นเรา สามารถคลิก แล้วลากในคอลัมน์ Lock นี้ได้เพื่อล็อคทีละหลายๆ เลเยอร์ หากต้องการล็อก / ไม่ล็อกเลเยอร์ทั้งหมด ให้คลิกที่ไอคอน ที่แถบส่วนหัวของเลเยอร์ หรือ กดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้วคลิกในคอลัมน์ Lock คอลัมน์ Lock 1. เลือกเลเยอร์ที่จะลบ 2. คลิกที่ปุ่ม Delete Layer ด้านล่างของพาเนล หรือ ลากเลเยอร์นั้นไปทิ้งลงในปุ่ม Delete Layer หรือ คลิกขวาที่ชื่อเลเยอร์ แล้วคลิกคาสั่ง Delete Layer Delete Layer โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 113
  • 7. โฟลเดอร์ของเลเยอร์ (Layer Folder) เป็นส่วนที่ช่วยในการจัดเลเยอร์ให้เป็นระเบียบโดยจัดแยก ออกเป็น กลุ่มๆเช่นเดียวกับการจั ดระบบไฟล์ ในเครื่องของเราในโฟลเดอร์นี้จะสามารถบรรจุเลเยอร์ หรือ โฟลเดอร์ย่อยๆ อีกก็ได้  การสร้างโฟลเดอร์ของเลเยอร์ คลิกที่เลเยอร์ใดๆ แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Layer Folder หรือ คลิกขวาที่ชื่อ เลเยอร์ แล้วเลือกคาสั่ง Insert Folder หรือ คลิกปุ่ม Insert Layer Foldr ที่ด้านล่างของพาเนลจะ ปรากฏโฟลเดอร์อยู่เหนือเลเยอร์ที่เราเลือก Insert Layer Folder ดรากส์เมาส์ลากเลเยอร์นั้นไปวางที่ชื่อโฟลเดอร์ที่ต้องการ คลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมหน้าชื่อโฟลเดอร์หากต้องการ เปิด-ปิดโฟล์เดอร์ทั้งหมด ให้คลิกขวาแล้วเลือกคาสั่ง Expand All Folders เพื่อเปิด หรือ Collapse All Folders เพื่อปิด โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 114
  • 8. 1. คลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมหน้าชื่อโฟล์เดอร์ เพื่อเปิดโฟล์เดอร์ 2. คลิกที่ชื่อโฟลเดอร์ เพื่อเลือกทั้งโฟลเดอร์ 3. เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Copy Frames 4. เลือกเมนูคาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Layer Folder เพื่อสร้างโฟล์เดอร์เลเยอร์ใหม่ 5. คลิกที่ชื่อโฟลเดอร์ใหม่ที่ได้ แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste Frames 1. เลือกออบเจ็กต์ที่ต้องการจะย้ายหรือคัดลอก 2. เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Cut เพื่อย้าย หรือ Edit เลือกคาสั่ง Copy เพื่อคัดลอก 3. เลือกเลเยอร์ ซีน หรือไฟล์ที่ต้องการจะนาออบเจ็กต์นั้นไปไว้ 4. เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste เพื่อนาไปใส่ลงตรงกลางสเตจ หรือ เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste in Place เพื่อนาไปวางบนสเตจในตาแหน่งเดียวกับที่ออบเจ็กต์นั้นอยู่ ในการสร้างมูฟวี่ขึ้นสักไฟล์หนึ่งนั้น เราควรที่จะแบ่งเรื่องราวออกเป็นฉากๆ ที่เรียกว่า ซีน เมื่อ ไฟล์มูฟวี่ที่มีหลายๆ ซีนแสดงผล มันจะแสดงเรียงตามลาดับที่เราจัดไว้ให้ โดยเฟรมในมูฟวี่จะถูกใส่หมายเลข ลาดับเรียงต่อเนื่องกันไป ตัวอย่างเช่น ถ้ามูฟวี่ของเราประกอบด้วย 2 ซีนๆ ละ 10 เฟรม เฟรมในซีนที่ 2 จะ เริ่มที่เฟรมที่ 11-20 เป็นต้น  พาเนล Scene จะเป็นส่วนที่ช่วยให้เราจัดการกับซีนได้อย่าง สะดวกไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มซีน การลบซีน หรือการเรียงลาดับซีน เรา สามารถเปิดใช้พาเนล Scene ได้ โดยเลือกเมนูคาสั่ง Window เลือก คาสั่ง Design Panels แล้วเลือกที่ Scene เลือกเมนูคาสั่ง Insert เลือกคาสั่ง Scene หรือ คลิกที่ปุ่ม Add Scene ด้านล่างของ พาเนล Scene โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 115
  • 9. ในพาเนล Scene ดับเบิลคลิกที่ชื่อซีน แล้วเพิ่มชื่อใหม่ ้ 1. ในพาเนล Scene คลิกที่ซีนที่จะทาซ้า 2. คลิกที่ปุ่ม Duplicate Scene ด้านล่างของพาเนล Scene เลือกเมนูคาสั่ง View เลือกคาสั่ง Go To หรือ คลิกที่ปุ่ม Edit Scene ด้านบนขวาของหน้าต่างชิ้นงาน ในพาเนล Scene ลากซีนนั้นไปยังลาดับที่ต้องการ คลิกที่ปุ่ม Delete Scene ด้านล่างของพาเนล Scene โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 116
  • 10. ในพาเนล Timeline เราสามารถจัดการกับเฟรมและคีย์เฟรมเพื่อสร้างการเคลื่อนไหวได้ ตาม ที่ เรา ต้องการ ซึ่งอาจเป็น ก่อนที่จะจัดการกับเฟรมต่างๆ ได้นั้น เราจะต้องเลือ กเฟรมที่จะจัดการเสียก่อน ซึ่งเราสามารถ เลือก เฟรมได้ 2 วิธีด้วยกัน ได้แก่ - การเลือกทีละเฟรม โดยการคลิกที่เฟรมที่ต้องการ - การเลือกเป็นช่วง คลิกที่เฟรมแรกที่จะเลือกกดปุ่ม Shift ค้างไว้ แล้วคลิกที่เฟรมสุดท้ายของช่วงที่ ต้องการ คลิกที่เฟรมแรก กด Shift ค้างไว้คลิกที่ เฟรมสุดท้าย กดปุ่ม Alt ค้างไว้ คลิกที่เฟรมที่จะคัดลอก แล้วลากไปยังตาแหน่งที่จะคัดลอกไปหรือเลือก เฟรมที่จะคัดลอก เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Copy Frames แล้วไปเลือกเฟรมที่จะคัดลอกไปไว้ และ เลือกเมนูคาสั่ง Edit เลือกคาสั่ง Paste Frames เลือกเฟรม เลือก Edit คลิกที่เฟรมที่จะ เลือก Edit > Paste Frames > Copy Frames คัดลอกไปไว้ โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 117
  • 11. 1. เลือกเฟรมหรือคีย์เฟรมที่จะลบ 2. คลิกขวาแล้วเลือกคาสั่ง Remove Frame เลือกเฟรมที่จะลบ เฟรมที่เหลืออยู่ เลือกคีย์เฟรมนั้น แล้วเลือกเมนูคาสั่ง Modify เลือกคาสั่ง Timeline แล้วเลือกที่ Clear Keyframe คีย์เฟรมนั้นรวมทั้งเฟรมก่อนหน้าจะถูกแทนที่ด้วยออบเจ็กต์ในเฟรมก่อนหน้านั้น กดปุ่ม Alt ค้างไว้ แล้วลากคีย์เฟรมสุดท้ายออกไป ลากคีย์เฟรมนั้นไปยังตาแหน่งใหม่ โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 118
  • 12. คลิกปุ่ม ตรงมุมบนขวาของส่วนแสดงเฟรมในพาเนล Timeline เลือก Tiny, Small, Normal, Medium, หรือ Large เพื่อปรับขนาดช่องเฟรมจากเล็กไปใหญ่ Tiny Small Norma l Medium Large โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 119
  • 13. เลือก Preview เพื่อแสดงรูปออบเจ็กต์ในแต่ละเฟรมด้วย เลือก Preview in Content เพื่อแสดงทั้งสเตจในแต่ละเฟรม การดูผลการแสดงจากเมนู Control โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 120
  • 14. ความหมายคาสั่งต่างๆ ในเมนู Control คาสั่ง คาอธิบาย Play แสดงผลซีนบนสเตจ Rewind ถอยกลับ Go To End ไปยังซีนสุดท้าย Step Forward One Frame เลื่อนเดินหน้าทีละเฟรม Step Backward One Frame ถอยหลังทีละเฟรม Test Movie แสดงผลมูฟวี่ในบราวเซอร์ Debug Movie แก้ไขมูฟวี่ Test Scene แสดงผลซีนในบราวเซอร์ Loop Playback แสดงผลแบบวนรอบ Play All Scenes แสดงผลทุกซีน Enable Simple Frame Actions ให้ทดลองแอ็คชั่นที่กาหนดไว้ในเฟรมได้ Enable Simple Buttons ให้ทดลองกดปุ่มได้ Mute Sounds ปิดเสียงขณะแสดงผล เปิดใช้แผงควบคุม โดยเลือกเมนูคาสั่ง Window เลือกคาสั่ง Toolbars เลือกคาสั่ง Controller Stop Go to last frame Go to first frame Play Step Forward one Frame Step back one frame เริ่มแสดงผลให้คลิกที่ปุ่ม Play หยุดการแสดงผล ให้คลิกที่ปุ่ม Step Forward เพื่อเดินหน้า หรือคลิกที่ปุ่ม Step Backward เพื่อถอยหลัง หรือกดปุ่ม < และ > บนแป้นพิมพ์ โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 121
  • 15. ถึงแม้ว่าเราจะสามารถดูผลการแสดงของมูฟวี่ที่เราสร้างขึ้นได้ทันทีภายในไฟล์ชิ้นงานที่เรากาลังสร้าง อยู่นั้นก็ตาม แต่จะมีการเคลื่อนไหวบางอย่างรวมทั้งการเคลื่อนไหวที่ต้องมีการโต้ตอบจะไม่สามารถแสดงผลได้ ภายในชิ้นงานจนกว่าเราจะสร้างให้เป็นไฟล์ Flash movie เสียก่อน ดังนั้นในการแสดงผลการเคลื่อนไหว เหล่านี้ เราจะต้องใช้คาสั่ง Test Movie ซึ่งจะทาหน้าที่ในการสร้างไฟล์ Flash movie จากไฟล์ชิ้นงาน ขณะนั้นและแสดงผลให้ทันที เลือกเมนูคาสั่ง Control เลือกคาสั่ง Test Movie เพื่อแสดงผลทั้งมูฟวี่ หรือ เลือกเมนูคาสั่ง Control เลือกคาสั่ง Test Scene เพื่อแสดงผลเฉพาะซีนขณะนั้น ไฟล์ .swf ที่ได้จะอยู่ในโฟล์เดอร์เดียวกับไฟล์ .fla เราสามารถขอดูผลการแสดงของไฟล์ชิ้นงานขณะนั้นในเว็บบราวเซอร์ได้ทันที โดยเลือกเมนูคาสั่ง File เลือกคาสั่ง Publish Preview เลือกคาสั่ง HTML โปรแกรมจะทาการสร้างไฟล์ Flash movie (.swf) และแสดงผลในเว็บบราวเซอร์ที่มีอยู่ในระบบ เครื่องมือของเราด้วยโปรแกรม Flash Player ไฟล์ .swf ที่ได้จะอยู่ในโฟล์เดอร์เดียวกับไฟล์ .fla โรงเรียนตาพระยา อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 หน้า 122