SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
Flash MX ตอน แสดงวิดีโอใน Flash MX 2004

สาหรับจุดเด่นอีกจุดหนึ่งที่ถูกเพิ่มคุณสมบัติเข้ามาใน Flash MX 2004 นั่นก็คือความสามารถในการทางานกับ
วิดีโอที่เพิ่มมากขึ้น จากที่เวอร์ชั่นก่อนหน้านี้ทาได้เพียงแค่อิมพอร์ตไฟล์วิดีโอเข้ามาแสดงผลอย่างเดียว มาเวอร์
ชั่นนี้ก็ได้เพิ่มส่วนสาหรับตัดต่อวิดีโอ และคอมโพเนนต์สาหรับการแสดงผลวิดีโอ ที่จะช่วยให้การแสดงวิดีโอใน
Flash สะดวกยิ่งขึ้น

สำหรับจุดเด่นอีกจุดหนึ่งที่ถูกเพิ่มคุณสมบัติเข้ามาใน Flash MX 2004 นั่นก็คือความสามารถในการทางาน
กับวิดีโอที่เพิ่มมากขึ้น จากที่เวอร์ชันก่อนหน้านี้ทาได้เพียงแค่อิมพอร์ตไฟล์วิดีโอเข้ามาแสดงผลอย่างเดียว มา
เวอร์ชันนี้ก็ได้เพิ่มส่วนสาหรับตัดต่อวิดีโอ และคอมโพเนนต์สาหรับการแสดงผลวิดีโอ ที่จะช่วยให้การแสดง
วิดีโอใน Flash สะดวกยิ่งขึ้น

ตัดต่อวิดีโอด้วย Flash MX 2004

ไฟล์วิดีโอที่จะนามาตัดต่อด้วยโปรแกรม Flash MX 2004 นั้นควรจะเป็นไฟล์ประเภท MPG/MPEG หรือ AVI
เพื่อให้สามารถนาไปแก้ไขความยาวของวิดีโอหรือตัดต่อวิดีโอเฉพาะช่วงเวลาที่ต้องการก่อนที่จะอิมพอร์ตเข้า
มาใน Flash MX 2004 ได้ ซึ่งถ้าเตรียมไฟล์วิดีโอไว้เรียบร้อยแล้ว ก็ให้เริ่มต้นทาตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

1. ภายในโปรแกรม Flash MX 2004 ให้สร้างไฟล์เอกสาร Flash ขึ้นมาใหม่ ต่อจากนั้นให้ไปที่เมนู File >
Import > Import to Library จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Import to Library ขึ้นมา ให้เลือกไฟล์วิดีโอที่
ต้องการ แล้วคลิ้กปุ่ม Open




รูปที่ 1 ส่วนต่างๆ ของส่วนตัดต่อวิดีโอ

2. ภายหลังจากกดปุ่ม Open แล้วจะปรากฏหน้าต่าง Video Import Wizard ขึ้นมา จะมีตัวเลือกให้สองตัว
ดังนี้

* Import the entire video เพื่อสั่งให้อิมพอร์ตไฟล์วิดีโอทั้งไฟล์เข้ามาใน Flash ทันที

* Edit the video first เพื่อเข้าสู่ส่วนตัดต่อวิดีโอก่อนจะอิมพอร์ตเข้ามาใน Flash
ให้เลือก Edit the video first แล้วคลิ้กที่ปุ่ม Next ก็จะเข้าสู่ส่วนตัดต่อวิดีโอ ดังรูปที่ 1 ซึ่งภายในส่วนตัดต่อ
วิดีโอนั้น จะมีการแบ่งพื้นที่ภายในหน้าต่างออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนที่ 1 เป็นส่วนที่เก็บรายชื่อคลิปวิดีโอ
ที่เราได้ตัดจากไฟล์วิดีโอ ส่วนที่ 2 จะเป็นส่วนคอลโทรลคลิปวิดีโอ เพื่อใช้ในการตัดคลิปวิดีโอมาเก็บไว้ และ
ส่วนที่ 3 จะเป็นส่วนฟรีวิวคลิปวิดีโอ

3. ขั้นตอนแรกของการตัดวิดีโอมาเป็นคลิปวิดีโอเพื่ออิมพอร์ตเข้ามาในไลบรารี่ของเรานั้น จะเริ่มจากการลาก
เครื่องหมาย In Point ซึ่งเป็นรูป

ที่อยู่ในส่วนคอลโทรลคลิปวิดีโอ ไปยังตาแหน่งเริ่มต้นที่จะตัด ต่อจากนั้นก็ลากเครื่องหมาย Out Point ซึ่งเป็น
รูป




รูปที่ 2 กาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดที่ต้องการ

ไปยังตาแหน่งสิ้นสุดของการตัด ดังรูปที่ 2 และเพื่อให้แน่ใจได้ว่า ช่วงวิดีโอที่เรากาหนดไว้ว่าจะตัดมาเก็บเป็น
คลิปวิดีโอนั้น คือช่วงที่เราต้องการจริงๆ ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Preview clip เพื่อดูตัวอย่างวิดีโอในช่วงที่เรากาหนด
ไว้ก่อนได้

4. เมื่อแน่ใจแล้วว่ากาหนดช่วงวิดีโอถูกต้องแล้วก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Create clip เพื่อตัดช่วงวิดีโอที่เรากาหนดมา
เก็บเป็นคลิปวิดีโอทันที โดยจะปรากฏชื่อคลิปวิดีโอในช่องรายชื่อคลิปวิดีโอทางซ้ายมือด้วย

5. หากยังต้องการตัดวิดีโอในช่วงอื่นๆ มาเก็บไว้เป็นคลิปวิดีโออีก ให้ทาซ้าขั้นตอนที่ 3-4 ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะ
ได้คลิปวิดีโอตามที่เราต้องการ

6. ในการแก้ไขจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของคลิปวิดีโอที่ตัดมาเก็บแล้วนั้น สามารถทาได้โดยคลิ้กที่ชื่อของคลิปที่
ต้องการแก้ไขภายในช่องรายชื่อ แล้ว In Point กับ Out Point ก็จะเลื่อนตาแหน่งมายังจุดเริ่มต้นและ
จุดสิ้นสุดของคลิปนั้น จากนั้นให้กาหนดจุด In Point กับ Out Point ใหม่ เสร็จแล้วก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Update
Clip เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง

7. สาหรับการลบคลิปวิดีโอที่ตัดมาแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ชื่อของคลิปวิดีโอที่ต้องการลบในช่องรายชื่อ แล้วคลิ้กที่ปุ่ม
Delete (ปุ่มรูปถังขยะที่อยู่ด้านบนของช่องรายชื่อ) คลิปวิดีโอนั้นก็จะถูกลบออกจากช่องรายชื่อทันที

8. คลิปวิดีโอทั้งหมดที่อยู่ในช่องรายชื่อนั้นก็คือซิมโบลแต่ละตัวที่จะถูกอิมพอร์ตเพิ่มเข้ามาในไลบรารี่นั่นเอง
แต่ถ้าเราใส่เครื่องหมายถูกที่ตัวเลือก Combine list of clips into a single library item after import ก็
จะทาให้คลิปวิดีโอทั้งหมดนั้นถูกอิมพอร์ตรวมกันเป็นซิมโบลเพียงตัวเดียวในไลบรารี่ ซึ่งจะมีประโยชน์มากใน
การตัดต่อวิดีโอเฉพาะช่วงอย่างเช่น ทาฟรีวิวหนัง หรือฟรีวิวมิวสิกวิดีโอ เป็นต้น

9. เมื่อการตัดต่อคลิปวิดีโอของเราเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Next เพื่อเข้าไปยังส่วนกาหนดค่าการเข้ารหัส
(Encoding) ซึ่งภายในส่วนนี้จะประกอบไปด้วยลิสต์บ็อกซ์อยู่ 2 ตัว นั่นก็คือ Compression Profile และ
Advanced Settings ดังรูปที่ 3




รูปที่ 3 โพรไฟล์ที่มีมาให้อยู่แล้วในโปรแกรม




รูปที่ 4 ในส่วนของ Compression Settings

ในลิสต์บ็อกซ์ Compression Profile จะมีการกาหนดรูปแบบการบีบอัดที่เหมาะสมกับอินเทอร์เน็ตความเร็ว
ต่างๆ มาให้เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเราสามารถเลือกได้ตามต้องการ หรือว่าถ้าหากรูปแบบที่มีอยู่ไม่ถูกใจ เราสามารถ
สร้างรูปแบบการบีบอัดของเราเองได้ โดยเลือก Create new profile ก็จะปรากฏส่วนของ Compression
Settings ดังรูปที่ 4 ซึ่งออฟชันแต่ละตัวจะมีความหมายดังนี้

* Bandwidth สาหรับกาหนดการบีบอัดตามความเร็วของอินเทอร์เน็ตที่กาหนด สามารถกาหนดได้สูงสุดที่
750 kbps

* Quality สาหรับกาหนดการบีบอัดตามคุณภาพที่กาหนด สามารถกาหนดได้สูงสุด 100%

* Keyframes สาหรับกาหนดจานวนคีย์เฟรมที่จะถูกสร้างขึ้นมาสาหรับวิดีโอ ถ้ากาหนดเป็น 0 หมายความว่า
จะไม่มีคีย์เฟรมอื่นๆ นอกเหนือจากคีย์เฟรมแรกของวิดีโอถูกสร้างขึ้นมาเลย

* High quality keyframes สาหรับกาหนดให้สร้างคีย์เฟรมคุณภาพสูง
* Quick compress สาหรับกาหนดให้บีบอัดอย่างเร็ว ซึ่งจะทาให้คุณภาพของภาพในช่วงที่มีการเปลื่ยนแปลง
หรือเคลื่อนไหวมากนั้นลดลง

* Synchonize to Macromedia Flash Document frame rate สาหรับกาหนดให้เฟรมเรตของวิดีโอกับ
เฟรมเรตของ Flash ที่เรากาหนดไว้สอดคล้องกัน ซึ่งโดยปกติเราจะกาหนดไว้ที่ 1:1




รูปที่ 5 ในส่วนของ Advanced Settings

เมื่อเรากาหนดค่าต่างๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Next จะปรากฏกล่องข้อความขึ้นมาเพื่อให้เรากรอก
ชื่อโพรไฟล์ที่ต้องการบันทึก เมื่อกรอกเสร็จแล้วก็คลิ้กที่ปุ่ม Next ก็จะกลับเข้าสู่ส่วนกาหนดค่าการเข้ารหัสอีก
ครั้ง

10.สาหรับในลิสต์บ็อกซ์ Advanced Settings มีไว้สาหรับกาหนดค่าต่างๆ ของวิดีโอ ซึ่งเราจะต้องเลือก
Create new profile เพื่อสร้างรูปแบบของเราเอง เมื่อเลือกแล้ว ก็จะปรากฏส่วนของ Advanced Settings
ดังรูปที่ 5 ซึ่งออฟชันแต่ละตัวก็จะมีความหมายดังนี้

* Hue สาหรับปรับสีของวิดีโอ

* Brightness สาหรับปรับความสว่างของวิดีโอ

* Saturation สาหรับปรับความอิ่มตัวของสีในวิดีโอ

* Contrast สาหรับปรับคอนทราสของภาพในวิดีโอ

* Gamma สาหรับปรับความเจิดจ้าของแสงสว่างในวิดีโอ

* Scale สาหรับปรับขนาดของวิดีโอ มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ โดยเมื่อปรับแล้วจะมีขนาดของวิดีโอที่ได้ปรากฏ
ขึ้นที่ช่อง Width และ Height ซึ่งมีหน่วยเป็นพิกเซล

* Crop สาหรับปรับขอบเขตของวิดีโอให้เข้ามาด้านในตามที่ต้องการ
* Import สาหรับกาหนดตาแหน่งปลายทางที่จะอิมพอร์ตวิดีโอเข้าไป ไม่ว่าจะเก็บไว้ในไทมไลน์ปัจจุบัน
(Current Timeline), เก็บไว้ในมูฟวี่คลิป (Movie clip) หรือเก็บไว้ในซิมโบลกราฟิก (Graphic symbol)

* Audio track สาหรับกาหนดรูปแบบการอิมพอร์ตเสียง ว่าจะให้อิมพอร์ตแบบแยกเสียงแยกภาพ
(Separate), รวมภาพและเสียงเข้าด้วยกัน (Integrated) หรือไม่อิมพอร์ตเสียงเข้ามา (None)

เมื่อเรากาหนดค่าต่างๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Next จะปรากฏกล่องข้อความขึ้นมาเพื่อให้เรากรอก
ชื่อโพรไฟล์ที่ต้องการบันทึก เช่นเดียวกับขั้นตอนที่แล้ว และเมื่อกรอกเสร็จแล้วก็คลิ้กปุ่ม Next ก็จะกลับเข้าสู่
ส่วนกาหนดค่าการเข้ารหัสอีกครั้ง




รูปที่ 6 ระหว่างการอิมพอร์ต

11.หลังจากที่กาหนดค่าต่างเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Finish แล้วรอจนกว่าโปรแกรมจะอิมพอร์ตไฟล์วิดีโอ
นั้นเสร็จเรียบร้อย ดังรูปที่ 6 ก็จะปรากฏซิมโบลวิดีโอขึ้นมาในพาเนลไลบรารี่

More Related Content

Viewers also liked

การทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenการทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenAugusts Programmer
 
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shapeการเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shapeAugusts Programmer
 
7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
7 บทที่  2  เอกสารที่เกี่ยวข้อง7 บทที่  2  เอกสารที่เกี่ยวข้อง
7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องAugusts Programmer
 
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)Augusts Programmer
 
การใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flashการใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flashAugusts Programmer
 

Viewers also liked (7)

การทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screenการทำภาพ Tv screen
การทำภาพ Tv screen
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shapeการเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
การเปลี่ยนรูปทรงโดยใช้ Motion shape
 
7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
7 บทที่  2  เอกสารที่เกี่ยวข้อง7 บทที่  2  เอกสารที่เกี่ยวข้อง
7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)
การ์ตูน Flash อย่างง่ายตอนที่ 3 (การทำ movie เมฆลอยด้านหลัง)
 
การใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flashการใส่ Link ใน flash
การใส่ Link ใน flash
 

Similar to Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004

คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7Vinz Primo
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfPipit Sitthisak
 
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfImv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1Nalin K
 

Similar to Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004 (8)

Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
คู่มือการใช้  Sony vegas 7คู่มือการใช้  Sony vegas 7
คู่มือการใช้ Sony vegas 7
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
 
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfImv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
 
Lesson07
Lesson07Lesson07
Lesson07
 
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
 

More from Augusts Programmer

การสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preloadการสร้างตัว Preload
การสร้างตัว PreloadAugusts Programmer
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุAugusts Programmer
 
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุการเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุAugusts Programmer
 
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมการทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมAugusts Programmer
 
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวการทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวAugusts Programmer
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงการทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงAugusts Programmer
 
การทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blurการทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร BlurAugusts Programmer
 
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปการใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปAugusts Programmer
 
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองการกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองAugusts Programmer
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashการทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashAugusts Programmer
 
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)Augusts Programmer
 
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flashสร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม FlashAugusts Programmer
 
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่Augusts Programmer
 
เทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง Cursorเทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง CursorAugusts Programmer
 
เทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guideเทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guideAugusts Programmer
 
เทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & dropเทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & dropAugusts Programmer
 
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษรเทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษรAugusts Programmer
 
การสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml textการสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml textAugusts Programmer
 

More from Augusts Programmer (20)

การสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preloadการสร้างตัว Preload
การสร้างตัว Preload
 
การวาด Flare
การวาด Flareการวาด Flare
การวาด Flare
 
การเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุการเปลี่ยนสีวัตถุ
การเปลี่ยนสีวัตถุ
 
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุการเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
การเปลี่ยนขนาดเส้นขอบของวัตถุ
 
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยมการทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
การทำเส้นวิ่งเป็นกรอบสี่เหลี่ยม
 
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหวการทำวัตถุเคลื่อนไหว
การทำวัตถุเคลื่อนไหว
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลงการทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
การทำปุ่มควบคุมการเล่นเพลง
 
การทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blurการทำตัวอักษร Blur
การทำตัวอักษร Blur
 
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูปการใช้ปุ่มสำเร็จรูป
การใช้ปุ่มสำเร็จรูป
 
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเองการกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
การกำหนดวัตถุหมุนรอบตัวเอง
 
การ Import file
การ Import fileการ Import file
การ Import file
 
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flashการทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
การทำปุ่มควบคุมการเล่น Movie ของ flash
 
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
เชื่อมต่อ Flash mx กับเท็กซ์ไฟล์ และ xml (ตอนที่ 2)
 
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flashสร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
สร้างลูกศรควบคุมเกม Flash
 
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
เทคนิคการสร้าง Flash แสดงวันที่
 
เทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง Cursorเทคนิคการสร้าง Cursor
เทคนิคการสร้าง Cursor
 
เทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guideเทคนิคการทำ Motion guide
เทคนิคการทำ Motion guide
 
เทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & dropเทคนิคการทำ Drag & drop
เทคนิคการทำ Drag & drop
 
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษรเทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
เทคนิคการใช้ Mask เพื่อการเปลี่ยนสีตัวอักษร
 
การสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml textการสร้างเอกสาร Xml text
การสร้างเอกสาร Xml text
 

Flash mx ตอน แสดงวิดีโอใน flash mx 2004

  • 1. Flash MX ตอน แสดงวิดีโอใน Flash MX 2004 สาหรับจุดเด่นอีกจุดหนึ่งที่ถูกเพิ่มคุณสมบัติเข้ามาใน Flash MX 2004 นั่นก็คือความสามารถในการทางานกับ วิดีโอที่เพิ่มมากขึ้น จากที่เวอร์ชั่นก่อนหน้านี้ทาได้เพียงแค่อิมพอร์ตไฟล์วิดีโอเข้ามาแสดงผลอย่างเดียว มาเวอร์ ชั่นนี้ก็ได้เพิ่มส่วนสาหรับตัดต่อวิดีโอ และคอมโพเนนต์สาหรับการแสดงผลวิดีโอ ที่จะช่วยให้การแสดงวิดีโอใน Flash สะดวกยิ่งขึ้น สำหรับจุดเด่นอีกจุดหนึ่งที่ถูกเพิ่มคุณสมบัติเข้ามาใน Flash MX 2004 นั่นก็คือความสามารถในการทางาน กับวิดีโอที่เพิ่มมากขึ้น จากที่เวอร์ชันก่อนหน้านี้ทาได้เพียงแค่อิมพอร์ตไฟล์วิดีโอเข้ามาแสดงผลอย่างเดียว มา เวอร์ชันนี้ก็ได้เพิ่มส่วนสาหรับตัดต่อวิดีโอ และคอมโพเนนต์สาหรับการแสดงผลวิดีโอ ที่จะช่วยให้การแสดง วิดีโอใน Flash สะดวกยิ่งขึ้น ตัดต่อวิดีโอด้วย Flash MX 2004 ไฟล์วิดีโอที่จะนามาตัดต่อด้วยโปรแกรม Flash MX 2004 นั้นควรจะเป็นไฟล์ประเภท MPG/MPEG หรือ AVI เพื่อให้สามารถนาไปแก้ไขความยาวของวิดีโอหรือตัดต่อวิดีโอเฉพาะช่วงเวลาที่ต้องการก่อนที่จะอิมพอร์ตเข้า มาใน Flash MX 2004 ได้ ซึ่งถ้าเตรียมไฟล์วิดีโอไว้เรียบร้อยแล้ว ก็ให้เริ่มต้นทาตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ภายในโปรแกรม Flash MX 2004 ให้สร้างไฟล์เอกสาร Flash ขึ้นมาใหม่ ต่อจากนั้นให้ไปที่เมนู File > Import > Import to Library จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Import to Library ขึ้นมา ให้เลือกไฟล์วิดีโอที่ ต้องการ แล้วคลิ้กปุ่ม Open รูปที่ 1 ส่วนต่างๆ ของส่วนตัดต่อวิดีโอ 2. ภายหลังจากกดปุ่ม Open แล้วจะปรากฏหน้าต่าง Video Import Wizard ขึ้นมา จะมีตัวเลือกให้สองตัว ดังนี้ * Import the entire video เพื่อสั่งให้อิมพอร์ตไฟล์วิดีโอทั้งไฟล์เข้ามาใน Flash ทันที * Edit the video first เพื่อเข้าสู่ส่วนตัดต่อวิดีโอก่อนจะอิมพอร์ตเข้ามาใน Flash
  • 2. ให้เลือก Edit the video first แล้วคลิ้กที่ปุ่ม Next ก็จะเข้าสู่ส่วนตัดต่อวิดีโอ ดังรูปที่ 1 ซึ่งภายในส่วนตัดต่อ วิดีโอนั้น จะมีการแบ่งพื้นที่ภายในหน้าต่างออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนที่ 1 เป็นส่วนที่เก็บรายชื่อคลิปวิดีโอ ที่เราได้ตัดจากไฟล์วิดีโอ ส่วนที่ 2 จะเป็นส่วนคอลโทรลคลิปวิดีโอ เพื่อใช้ในการตัดคลิปวิดีโอมาเก็บไว้ และ ส่วนที่ 3 จะเป็นส่วนฟรีวิวคลิปวิดีโอ 3. ขั้นตอนแรกของการตัดวิดีโอมาเป็นคลิปวิดีโอเพื่ออิมพอร์ตเข้ามาในไลบรารี่ของเรานั้น จะเริ่มจากการลาก เครื่องหมาย In Point ซึ่งเป็นรูป ที่อยู่ในส่วนคอลโทรลคลิปวิดีโอ ไปยังตาแหน่งเริ่มต้นที่จะตัด ต่อจากนั้นก็ลากเครื่องหมาย Out Point ซึ่งเป็น รูป รูปที่ 2 กาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดที่ต้องการ ไปยังตาแหน่งสิ้นสุดของการตัด ดังรูปที่ 2 และเพื่อให้แน่ใจได้ว่า ช่วงวิดีโอที่เรากาหนดไว้ว่าจะตัดมาเก็บเป็น คลิปวิดีโอนั้น คือช่วงที่เราต้องการจริงๆ ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Preview clip เพื่อดูตัวอย่างวิดีโอในช่วงที่เรากาหนด ไว้ก่อนได้ 4. เมื่อแน่ใจแล้วว่ากาหนดช่วงวิดีโอถูกต้องแล้วก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Create clip เพื่อตัดช่วงวิดีโอที่เรากาหนดมา เก็บเป็นคลิปวิดีโอทันที โดยจะปรากฏชื่อคลิปวิดีโอในช่องรายชื่อคลิปวิดีโอทางซ้ายมือด้วย 5. หากยังต้องการตัดวิดีโอในช่วงอื่นๆ มาเก็บไว้เป็นคลิปวิดีโออีก ให้ทาซ้าขั้นตอนที่ 3-4 ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะ ได้คลิปวิดีโอตามที่เราต้องการ 6. ในการแก้ไขจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของคลิปวิดีโอที่ตัดมาเก็บแล้วนั้น สามารถทาได้โดยคลิ้กที่ชื่อของคลิปที่ ต้องการแก้ไขภายในช่องรายชื่อ แล้ว In Point กับ Out Point ก็จะเลื่อนตาแหน่งมายังจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุดของคลิปนั้น จากนั้นให้กาหนดจุด In Point กับ Out Point ใหม่ เสร็จแล้วก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Update Clip เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง 7. สาหรับการลบคลิปวิดีโอที่ตัดมาแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ชื่อของคลิปวิดีโอที่ต้องการลบในช่องรายชื่อ แล้วคลิ้กที่ปุ่ม Delete (ปุ่มรูปถังขยะที่อยู่ด้านบนของช่องรายชื่อ) คลิปวิดีโอนั้นก็จะถูกลบออกจากช่องรายชื่อทันที 8. คลิปวิดีโอทั้งหมดที่อยู่ในช่องรายชื่อนั้นก็คือซิมโบลแต่ละตัวที่จะถูกอิมพอร์ตเพิ่มเข้ามาในไลบรารี่นั่นเอง แต่ถ้าเราใส่เครื่องหมายถูกที่ตัวเลือก Combine list of clips into a single library item after import ก็
  • 3. จะทาให้คลิปวิดีโอทั้งหมดนั้นถูกอิมพอร์ตรวมกันเป็นซิมโบลเพียงตัวเดียวในไลบรารี่ ซึ่งจะมีประโยชน์มากใน การตัดต่อวิดีโอเฉพาะช่วงอย่างเช่น ทาฟรีวิวหนัง หรือฟรีวิวมิวสิกวิดีโอ เป็นต้น 9. เมื่อการตัดต่อคลิปวิดีโอของเราเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Next เพื่อเข้าไปยังส่วนกาหนดค่าการเข้ารหัส (Encoding) ซึ่งภายในส่วนนี้จะประกอบไปด้วยลิสต์บ็อกซ์อยู่ 2 ตัว นั่นก็คือ Compression Profile และ Advanced Settings ดังรูปที่ 3 รูปที่ 3 โพรไฟล์ที่มีมาให้อยู่แล้วในโปรแกรม รูปที่ 4 ในส่วนของ Compression Settings ในลิสต์บ็อกซ์ Compression Profile จะมีการกาหนดรูปแบบการบีบอัดที่เหมาะสมกับอินเทอร์เน็ตความเร็ว ต่างๆ มาให้เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเราสามารถเลือกได้ตามต้องการ หรือว่าถ้าหากรูปแบบที่มีอยู่ไม่ถูกใจ เราสามารถ สร้างรูปแบบการบีบอัดของเราเองได้ โดยเลือก Create new profile ก็จะปรากฏส่วนของ Compression Settings ดังรูปที่ 4 ซึ่งออฟชันแต่ละตัวจะมีความหมายดังนี้ * Bandwidth สาหรับกาหนดการบีบอัดตามความเร็วของอินเทอร์เน็ตที่กาหนด สามารถกาหนดได้สูงสุดที่ 750 kbps * Quality สาหรับกาหนดการบีบอัดตามคุณภาพที่กาหนด สามารถกาหนดได้สูงสุด 100% * Keyframes สาหรับกาหนดจานวนคีย์เฟรมที่จะถูกสร้างขึ้นมาสาหรับวิดีโอ ถ้ากาหนดเป็น 0 หมายความว่า จะไม่มีคีย์เฟรมอื่นๆ นอกเหนือจากคีย์เฟรมแรกของวิดีโอถูกสร้างขึ้นมาเลย * High quality keyframes สาหรับกาหนดให้สร้างคีย์เฟรมคุณภาพสูง
  • 4. * Quick compress สาหรับกาหนดให้บีบอัดอย่างเร็ว ซึ่งจะทาให้คุณภาพของภาพในช่วงที่มีการเปลื่ยนแปลง หรือเคลื่อนไหวมากนั้นลดลง * Synchonize to Macromedia Flash Document frame rate สาหรับกาหนดให้เฟรมเรตของวิดีโอกับ เฟรมเรตของ Flash ที่เรากาหนดไว้สอดคล้องกัน ซึ่งโดยปกติเราจะกาหนดไว้ที่ 1:1 รูปที่ 5 ในส่วนของ Advanced Settings เมื่อเรากาหนดค่าต่างๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Next จะปรากฏกล่องข้อความขึ้นมาเพื่อให้เรากรอก ชื่อโพรไฟล์ที่ต้องการบันทึก เมื่อกรอกเสร็จแล้วก็คลิ้กที่ปุ่ม Next ก็จะกลับเข้าสู่ส่วนกาหนดค่าการเข้ารหัสอีก ครั้ง 10.สาหรับในลิสต์บ็อกซ์ Advanced Settings มีไว้สาหรับกาหนดค่าต่างๆ ของวิดีโอ ซึ่งเราจะต้องเลือก Create new profile เพื่อสร้างรูปแบบของเราเอง เมื่อเลือกแล้ว ก็จะปรากฏส่วนของ Advanced Settings ดังรูปที่ 5 ซึ่งออฟชันแต่ละตัวก็จะมีความหมายดังนี้ * Hue สาหรับปรับสีของวิดีโอ * Brightness สาหรับปรับความสว่างของวิดีโอ * Saturation สาหรับปรับความอิ่มตัวของสีในวิดีโอ * Contrast สาหรับปรับคอนทราสของภาพในวิดีโอ * Gamma สาหรับปรับความเจิดจ้าของแสงสว่างในวิดีโอ * Scale สาหรับปรับขนาดของวิดีโอ มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ โดยเมื่อปรับแล้วจะมีขนาดของวิดีโอที่ได้ปรากฏ ขึ้นที่ช่อง Width และ Height ซึ่งมีหน่วยเป็นพิกเซล * Crop สาหรับปรับขอบเขตของวิดีโอให้เข้ามาด้านในตามที่ต้องการ
  • 5. * Import สาหรับกาหนดตาแหน่งปลายทางที่จะอิมพอร์ตวิดีโอเข้าไป ไม่ว่าจะเก็บไว้ในไทมไลน์ปัจจุบัน (Current Timeline), เก็บไว้ในมูฟวี่คลิป (Movie clip) หรือเก็บไว้ในซิมโบลกราฟิก (Graphic symbol) * Audio track สาหรับกาหนดรูปแบบการอิมพอร์ตเสียง ว่าจะให้อิมพอร์ตแบบแยกเสียงแยกภาพ (Separate), รวมภาพและเสียงเข้าด้วยกัน (Integrated) หรือไม่อิมพอร์ตเสียงเข้ามา (None) เมื่อเรากาหนดค่าต่างๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Next จะปรากฏกล่องข้อความขึ้นมาเพื่อให้เรากรอก ชื่อโพรไฟล์ที่ต้องการบันทึก เช่นเดียวกับขั้นตอนที่แล้ว และเมื่อกรอกเสร็จแล้วก็คลิ้กปุ่ม Next ก็จะกลับเข้าสู่ ส่วนกาหนดค่าการเข้ารหัสอีกครั้ง รูปที่ 6 ระหว่างการอิมพอร์ต 11.หลังจากที่กาหนดค่าต่างเรียบร้อยแล้ว ก็ให้คลิ้กที่ปุ่ม Finish แล้วรอจนกว่าโปรแกรมจะอิมพอร์ตไฟล์วิดีโอ นั้นเสร็จเรียบร้อย ดังรูปที่ 6 ก็จะปรากฏซิมโบลวิดีโอขึ้นมาในพาเนลไลบรารี่