SlideShare a Scribd company logo
กระแสเกาหลี (Korean
Wave)
ที่มีผลต่อประเทศไทยและเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต้
ที่มาและความสาคัญ
วิธีการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน
สรุปผลการดาเนินงาน
ปัญหาและอุปสรรคและ
ข้อเสนอแนะ
บทเรียนของสังคมไทย
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีใน
เอเซีย
กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
ขอบเขตโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กระแสเกาหลี (Korean
Wave)
วัฒนธรรม
กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์
ที่มาและความสาคัญ
กระแสวัฒนธรรมของเกาหลี (Korean Wave)ที่กาลังมา
แรงในขณะนี้ได้สร้างทั้งความตื่นเต้นและตกใจแก่คนไทยโดยทั่วไป
วัฒนธรรมเกาหลี ไม่ว่าจะเป็น ละครเกาหลี ดารายอดนิยมเกาหลี นักร้อง
เกาหลี การเเต่งตัวสไตล์เกาหลี การใช้สิ่งของต่างๆ ที่ผลิตจากประเทศเกาหลี
ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่คนไทยให้ความสนใจมากในปัจจุบันนี้ในทุกเพศ
ทุกวัย โดยเฉพาะกลุ่มของ "วัยรุ่น" การที่วัฒนธรรมเกาหลีเข้ามาเผยเเพร่
ในประเทศไทย ความนิยม
Back Next
เกาหลีที่ค่อยๆ คืบคลานมายังภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้นับว่าเป็นปรากฎการณ์ที่เหนือความคาดหมายของนักวิชาการ
หรือบรรดาสื่อมวลชนเพราะเป็นปรากฎการณ์ทาง วัฒนธรรมข้ามชาติที่ข้ามพ้น
อิทธิพลทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมของชาติมหาอานาจ เช่น สหรัฐอเมริกา
ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ในโลกยุคดิจิตัล กระแสนี้ได้ก่อตัวมากว่าสิบปีและ
มีแนว โน้มว่ายังแรงอยู่ และไม่มีทีท่าว่าหยุดลงง่ายๆ ซึ่งจากเนื้อหาข้างต้นจะเห็น
ว่ากระแสเกาหลีนี้นี้มีความน่าสนใจที่จะทาการศึกษาเพื่อทาโครงงานสื่อการ
เรียนรู้เพื่อให้คนที่เข้ามาอ่านโครงงานได้รับความรู้ในเรื่องนี้ไม่มากก็น้อยทั้งนี้
เนื้อหายังมีความเกี่ยวโยงกับสาระวิชาประวัติศาสตร์สังคมศึกษาวัฒนธรรมและ
เศรษฐศาสตร์อีกด้วย
Back
วัตถุประสงค์
- เพื่อศึกษากลไกลของกระแสเกาหลีที่เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- เพื่อนาความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการเรียนและชีวิตประจาวัน
- เพื่อนาไปเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้
Back
ขอบเขตโครงงาน
สิ่งที่ศึกษา กระแสเกาหลีตั้งแต่เริ่มต้นถึงปัจจุบัน
สถานที่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ระยะเวลาที่ทาการศึกษา 29 กันยายน 2558 – 12 ธันวาคม
2558
Back
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ความรู้และเข้าใจในเนื้อหาที่ศึกษาไม่ว่าจะเป็นสังคมสมัยนั้นหรือกลไกลการ
บริหารประเทศของรัฐบาลเกาหลี
- สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
- นาเป็นเป็นข้อมูลประกอบการเรียน
- สื่อการเรียนการสอนจากการศึกษา
Back
กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE)
กระแสเกาหลี (Korean Wave) หรือที่รู้จักกันอีกนามหนึ่งว่า
“Hallyu” เป็นศัพท์ที่ตั้งขึ้นโดย นักหนังสือพิมพ์ชาวจีนในช่วงปลายทศวรรษ
1990 หมายความถึงกระแสความเย็นของความนิยม เกาหลีที่ค่อยๆ คืบคลาน
มายังภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นับว่าเป็นปรากฎ การณ์ที่
เหนือความคาดหมายของนักวิชาการหรือบรรดาสื่อมวลชนเพราะเป็นปรากฎการณ์ทาง
วัฒนธรรมข้ามชาติที่ข้ามพ้นอิทธิพลทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมของชาติ
มหาอานาจ เช่น สหรัฐอเมริกา ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ในโลกยุคดิจิตัล กระแสนี้
ได้ก่อตัวมากว่าสิบปีและมีแนว โน้มว่ายังแรงอยู่
Back Next
กระแสเกาหลีเป็นเรื่องเกี่ยวกับความนิยมชมชอบทางวัฒนธรรมร่วมสมัยของ
เกาหลี (Korean Pop Culture) ที่มาจากภาพยนตร์ทางโทรทัศน์ภาพยนตร์
โรงภาพยนตร์ เพลงประกอบ และ ดารานักร้องเกาหลีภาพยนตร์เกาหลีเรื่องแรกที่ประสบ
ความสาเร็จในประเทศญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงคโปร์ และไต้หวัน ได้แก่ เรื่องShiri ซึ่งฉายในปี
ค.ศ.1999 เป็นภาพยนตร์แนวแอ็คชั่นเกี่ยวกับสายลับชาวเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ที่ทา
รายได้มหาศาลและมียอดรายได้เหนือกว่าภาพยนตร์Titanic เมื่อครั้ง ฉายในเกาหลีและ
นับได้ว่าเป็นก้าวแรกที่เกาหลีเริ่มมีอิทธิพลในวงการบันเทิงของเอเชียและสร้าง กระแสเกาหลี
หลังจากนั้นเกาหลียังผลิตภาพยนตร์ที่ได้รับความนิยมไม่แพ้กัน อาทิJSA, Friend,
Silmido และ Taegukgi
กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE)
Back Next
กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE)
อย่างไรก็ตาม ภาพยนตร์ทางโทรทัศน์หรือที่คนไทยคุ้นเคยกับคาว่า ซีรีส์เกาหลีน่าจะมีอิทธิ
พลต่อความชื่นชมในเนื้อเรื่อง วิวทิวทัศน์และตัวพระเอกนางเอกที่เป็นคนเกาหลีมากกว่าสื่ออื่นๆ
ภาพยนตร์เรื่อง Winter Sonata เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความรักแท้ของหนุ่มสาว จัดทาโดย
สถานีโทรทัศน์KBS ของเกาหลีได้ฉายในสถานีโทรทัศน์NHK ของญี่ปุ่นใน ปีค.ศ. 2004
ได้รับความนิยมสูงสุดในกลุ่มของแม่บ้านญี่ปุ่น ช่วงอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป และทาให้ดารานาแสดง
ฝ่ายชาย Bae Young Joon มีชื่อเสียงอย่างมากในตลาดญี่ปุ่นจนทาให้มีการจัด นาเที่ยว
ตามรอยภาพยนตร์Winter Sonata ภาพยนตร์อีกเรื่องที่ สร้างกระแสเกาหลีได้มากคือเรื่อง
Daejunggum ออกฉายครัง้แรก ในเกาหลีในเดือน กันยายน ค.ศ. 2003 เป็นเรื่องราว
ตามเกร็ด ประวัติศาสตร์เกาหลีเกี่ยวกับความสาเร็จของสตรีในยุคโชซอน ประมาณ 500 ปีก่อน ซึ่ง
ผู้ชายเป็นใหญ่ เธอสามารถเป็นหมอ หลวงที่เป็นผู้หญิงคนแรกในวังหลวงได้ผู้ชมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับอาหารเกาหลีและยาสมุนไพรไปด้วย นับว่า เรื่องนี้เป็นหน้าต่างทางวัฒนธรรม
เกาหลีที่ชาวเอเชียได้รู้จักมาก ยิ่งขึ้น
Back Next
กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE)
ดารานาแสดงฝ่ายหญิง Lee Young – Ae ได้รับความชื่น ชมไป
ทั่วทั้งเอเชีย จนหลายคนอยากจะเดินทางมาท่องเที่ยว เกาหลีเพื่อจะได้มาดูฉาก
พระราชวังในภาพยนตร์ดังกล่าว สาหรับเรื่องเพลงนั้น วงดนตรีเกาหลีเริ่มเป็นที่นิยมใน
กลุ่มวัยรุ่นในจีนและไต้หวันนับตั้งแต่ ปลายทศวรรษที่ 1990 สถานีโทรทัศน์
ท้องถิ่นจานวนมากไม่สามารถผลิตรายการดนตรีที่มีคุณภาพ หรือมากพอเพื่อรับกับ
ความต้องการของคนรุ่นใหม่ได้มิวสิควีดีโอของวงดนตรีเกาหลีจึงเข้ามาใน ตลาดเอเชีย
เนื่องจากมีราคาถูกที่สุด วงดนตรีเกาหลีเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่ง นอกเหนือจาก วงดน
ตรีป๊ อปแบบตะวันตก หรือ ป๊ อบแบบญี่ปุ่น วงบอยแบนด์เกาหลีH.O.T. ได้ติด
อันดับอัลบั้มขายดีใน เอเชีย ต่อจากนั้นยังมีวงดนตรีอีกหลายวงซึ่งเป็นวงดนตรีป๊ อบสา
วนใหญ่เป็นเด็กวัยรุ่น เช่น NRG SES และ Baby Vox ล่าสุดคือวงดนตรี
Don Bang Shin Ki
Back Next
กล่าวกันว่าความสาเร็จของวงบอยแบนด์หรือ เกิร์ลแบนด์เกาหลีมาจากรูปรบาง
หน้าตาที่ดูสดใสและน่ารัก ดูเป็นเด็กดีสามารถเต้นราได้เก่ง เสียงดี อาจเป็นเรื่อง
รอง บางคนอาจคิดว่ากระแสเกาหลีเกิดมาโดยความบังเอิญ ที่จริงแล้วเป็นการ
ดาเนินงานโดย ภาครัฐเป็นผู้กาหนดแนวนโยบายและสนับสนุนเงินทุนใน
เบื้องต้น ขับเคลื่อนได้โดยภาคเอกชน
กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE)
Back
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมเกาหลีเป็นวัฒนธรรมกลุ่มสายเลือดเดียวกัน
(Homogeneous Culture) หรือ ที่คน เกาหลีเรียกว่า “Han
Minjok” ประสานกับหลักของขงจื้อเป็นแบบแผนในการดารงชีวิตได้แก่ การ
ดารงตนเป็นคนดีขยันหมั่นเพียร ประหยัด มีความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม กตัญญู
และใฝ่รู้ในวิชา การ สังคมเกาหลีเป็นสังคมมาก่อน ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา วัฒนธรรม
เกาหลีไม่สามารถเติบโต ได้อย่างต่อเนื่องและต้องหยุดชะงักลงไป 2 ช่วงได้แก่ ช่วง
ญี่ปุ่นปกครองเกาหลี (ค.ศ. 1910 – 1945) และ ช่วงสงครามเกาหลี
(ค.ศ. 1950 – 1953) หลังจากนั้นวัฒนธรรมตะวันตกได้หลั่งไหล เข้ามา
ในเกาหลีอย่าง
Back Next
ในปัจจุบันนี้ประเทศเกาหลีมี2 วัฒนธรรม ได้แก่วัฒนธรรมดั้งเดิม
และ วัฒนธรรมร่วมสมัยรัฐบาลเกาหลีได้วางแนวนโยบายทางด้านวัฒนธรรม
ในช่วงปีค.ศ. 1945 – 1980 เป็น การสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาอีกครั้ง
และปกป้ องตนเองจากวัฒนธรรมอเมริกัน โดยให้ความสาคัญกับ การค้นหา
ตัวตนหรือเอกลักษณ์ของชาติและมรดกทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมให้คุณค่าทาง
สังคม เพียงด้านเดียว รัฐบาลเป็นผู้ควบคุมและออกกฎระเบียบ ได้วางรากฐาน
ทางด้านกฎหมาย กองทุน สถาบันการศึกษา ในช่วงปีค.ศ. 1981 –
1992
วัฒนธรรม
Back Next
รัฐบาลได้เพิ่มการส่งเสริมทางด้านศิลปะทั้งแบบ ดั้งเดิมและร่วมสมัย ได้วาง
แนวนโยบายแผนหลักทางวัฒนธรรม 10 ปีโดยเน้นวัฒนธรรมเพื่อปวง ชนทั้งมวล เมื่อเข้าสู่
ปีค.ศ. 1993 รัฐบาลเปลี่ยนบทบาทใหม่เป็นการส่งเสริมมากกว่าการควบคุม และ เห็น
ว่าวัฒนธรรมมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ เร่งพัฒนาวัฒนธรรมในส่วนท้องถิ่นและภูมิภาค เสริม
สร้างสวัสดิการเพื่อทานุบารุงวัฒนธรรม วัฒนธรรมคือสินค้าทางการท้องเที่ยว นับตั้งแต่ปี
ค.ศ. 1998 รัฐบาลเกาหลีได้ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้นโดยรวมเรียกว่า
อุตสาหกรรมวัฒน ธรรม ประกอบด้วยอุตสาหกรรมย่อย อาทิภาพยนตร์เพลง วีดีโอ สิ่งพิมพ์
การกระจายเสียง การ ออกแบบ ตัวการ์ตูน ความบันเทิงที่ให้ความรู้
(Edutainment) และวางวิสัยทัศน์ทางวัฒนธรรมเข้าสู้ สังคมดิจิตัล (Vision
21 for Cultural Industries in a Digital Societies)
Back Next
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมในบริบทนี้จึงเป็น วัฒนธรรมที่หลากหลายและเป็นวัฒนธรรมในเชิง
โลกาภิวัฒน์รัฐบาลจะส่งเสริมให้วัฒนธรรมเกาหลี สามารถแข่งขันได้ในกระแสโลกาภิวัฒน์
โดยเชื่อว่าวัฒนธรรมเกาหลีที่มีเอกลักษณ์เป็นองค์ประกอบทื่ สาคัญในส่วนนี้ในปีค.ศ.
1999 รัฐบาลได้ออก พ.ร.บ.การส่งเสริมอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ทาให้เกิดมีองคกร
มหาชนเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้เช่น สถาบันส่งเสริมและพัฒนาเกมส์ เกาหลี
เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีศูนย์วิจัยทางวัฒนธรรม สถาบันการศึกษาเทคโนโลยีทางวัฒนธรรม
ความสาเร็จของอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ขึ้นอยู่กับการเสริมสร้างผลิตภาพของห่วงโซ มูลค่า
ทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
Back Next
1. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้แก่ นวัตกรรม และความคิดใหม่
2. องค์ประกอบทางวัฒนธรรม ได้แก่ ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม เรื่องราว ข้อความ
ประสบการณ์และการดาเนินชีวิต
3. เทคโนโลยีทางวัฒนธรรม
4. โครงสร้างพื้นฐาน ได้แก้ การวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เงินทุน ข้อมูล กฎหมาย
และนโยบายรัฐ โครงขยายทั่วโลก
5. เนื้อหา ได้แก่ การผลิต การจาหน่าย และ การบริโภครัฐบาลเกาหลีได้กาหนดให้เนื้อหา
ทางด้านวัฒนธรรม (Culture Content) เป็น 1 ใน 7 สาขา ที่มีศักยภาพใน
การเติบโตในอีกสิบปีข้างหน้าโดยอยู่ในวิสัยทัศน์อุตสาหกรรมเกาหลีปีค.ศ. 2020 และ
ประมาณว่าในปีค.ศ. 2030 ประเทศเกาหลีจะสามารถส่งออกสินค้าทางวัฒนธรรมเป็น
มูลค่า กว่า 13,761 ล้านเหรียญสหรัฐ และเกิดการจ้างงานประมาณ
1,604,888 คน
Back Next
วัฒนธรรม
กรณีศึกษา – อุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลี
ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1980 – 1990 สหรัฐอเมริกาสามารถผลิตและขาย
ภาพยนตร์เข้าสู่ ตลาดเกาหลีได้โดยตรง อุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลีเกือบต้องปัดตัวลงเพราะ
ไม่สามารถแข่งขัน กับบริษัทยักษ์ใหญ่ของสหรัฐอเมริกาได้อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้แก่ไข
กฎระเบียบเพื่อส่งเสริมภาพยนตร์เกาหลีโดยยกเลิกกฎระเบียบที่รัฐจะเซ็นเซอร์ภาพยนตร์2 ครั้ง
คือก่อนผลิตและก่อนเข้าฉาย ในโรงภาพยนตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สร้างภาพยนตร์มีเสรีใน
ความคิดสร้างสรรค์ผู้นาเข้าภาพยนตร์ ต่างประเทศจะต้องวางเงินประกัน 800,000
เหรียญสหรัฐ และต้องให้เงินสนับสนุนอุตสาหกรรม ภาพยนตร์ในประเทศเป็นจานวน
170,000 เหรียญสหรัฐต่อภาพยนตร์ต่างประเทศหนึ่งเรื่องที่นา เข้ามา รัฐบาลกาหนดให้
โรงภาพยนตร์ในประเทศต้องฉายภาพยนตร์เกาหลีประมาณร้อยละ 30 ถึง ร้อยละ 40 ของ
การฉายทั้งหมดและยังมีมาตรการลดหย่อนทางภาษีให้กับบริษัทสร้างภาพยนตร์ เกาหลีด้วย
นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติที่เมืองปูซานเป็นศูนย์กลางธุรกิจ ภาพยนตร์
ของเอเชีย
Back Next
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม
วิกฤตเศรษฐกิจในเอเชียเมื่อ ปีค.ศ. 1997 ได้สร้างโอกาสให้แก่
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ เกาหลีกล่าวคือ เงินวอนอ่อนค่าลงไปมากทาให้ต้องใช้
เงินมากกว่าเดิมเพื่อนาเข้าภาพยนตร์ต่าง ประเทศ IMFได้กาหนดให้ชาว
เกาหลีทางานสัปดาหืละ 5 วันทาให้มีเวลาว่างมากขึ้น โรงภาพยนตร์
Multiplex ขยายไปทั่วประเทศ บริหารงานโดยบริษัทที่มีเงินทุนสูง อาทิ
Orion Group, CJ, Lotte ต้องหา ภาพยนตร์เข้ามาฉายเพิ่มขึ้น
ความสาเร็จของ ภาพยนตร์เรื่อง Shiri ซึ่งเป็นการลงทุน่วมของบริษัท ข้าม
ชาติเกาหลี (Chaebol) คือ Samsung
Entertainment Group ใช้งบลงทุนสร้างไปเป็นจานวน 8.5
ล้าน เหรียญสหรัฐ ได้รับกาไรจากภาพยนตร์ดังกล่าวเป็นจานวนมาก
Back Next
วัฒนธรรม
ภาพยนตร์โทรทัศน์เกาหลีได้เข้ามาในช่วงที่เอเชียเปิดเสรีทางด้านสื่อต่างๆ เมื่อสิบ
ปีที่แล้ว ยังผลให้สถานีโทรทัศน์เปิดกิจการขึ้นมาเป็นจานวนมากและต้องการภาพยนตร์ที่มี
ราคาไม่แพง ใน ช่วงนั้น ภาพยนตร์โทรทัศน์เกาหลีมีราคาถูกที่สุด แต่มีคุณภาพการถ่ายทาสูง
และมีวัฒนธรรมใกล้ เคียงกับคนเอเชีย ความสาเร็จของการเข้าสู่ตลาดคนดูชาวเอเชียมาจาก
หลายองค์ประกอบด้วยกัน เนื้อเรื่องถูกใจคนดูชาวเอเชียเพราะเน้นความผูกพันในครอบครัว
มิตรภาพ ความซื่อสัตย์คุณธรรม และรักแท้การดาเนินเรื่องใช้ตัวละครเป็นผู้นาเรื่อง นักแสดง
แสดงได้เก่งและหน้าตาดีติดตามเรื่องได้ ง่าย
Back
วัฒนธรรม
Next
การเขียนบททาได้ดีเป็นการเล่าเรื่อง คุณภาพการถ่ายทาภาพยนตร์สูง
มุมกล้องดีสถานที่ถ่าย ทาสวยงาม ชุดนักแสดงสวย ความยาวของเรื่องไม่ยืดเยื้อ
เมื่อถึงตอนกลางเรื่องผู้ชมอยากดูต่อจน จบ ที่สาคัญคือเพลงประกอบภาพยนตร์
คล้อยตามอารมณ์ของผู้แสดง ซีรีส์เกาหลีเปิดประเทศเกาหลี เข้าสู่ใจคนดูทั่ว
เอเชีย ได้สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ประเทศ สร้างความฝันและนาความบันเทิง
มาสู่ผู้ชม จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าการท่องเที่ยวเกาหลีได้รับอานิสงค์จาก
ความสาเร็จของอุตสาหกรรม ภาพยนตร์
วัฒนธรรม
Back Next
ส่งผลให้บริษัทข้ามชาติเกาหลีอื่นๆ เช่น Hyundai,
Daewoo ตั้งหน่วยงานที่ดูแลด้านการสื่อสารโดยเฉพาะ ซึ่งเป็นการผนึก
กาลังด้านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์กับความบันเทิง เป็นการดาเนินตามรอยของบริษัท
Sony ของญี่ปุ่นที่รวบกิจการของ บริษัทถ่ายทาภาพยนตร์ Columbia
ของสหรัฐอเมริกา ภาพยนตร์เกาหลีที่ฉายในโรงภาพยนตร์ ประสบความสาเร็จ
ได้เพราะมีเงินทุนสูงและมีความเชี่ยวชาญในการสร้างภาพยนตร์สามารถเติบโต
ได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 ต่อปีมีผู้ชมกว่า 100 ล้านคน
วัฒนธรรม
Back
กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยวในปีค.ศ. 2003 การท่องเที่ยวทั่วเอเชียประสบภาวะวิกฤต เนื่องจากการ
ระบาดของโรค ซารส์นักท่องเที่ยวลดลงไปเป็นจานวนมาก องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว
เกาหลี (KNTO) จึงได้ ประกาศให้ปีค.ศ. 2004 เป็นปีแห่งกระแสเกาหลี“The
Year of Korean Wave” เพื่อเร่งเพิ่มจานวนนัก ท่องเที่ยวเข้าประเทศ โดย
เจาะกลุ่มตลาดจีน ญี่ปุ่น และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผนการตลาดจะเน้น ทางสื่อบันเทิง
ต่างๆ ทั้งทางภาพยนตร์และดนตรีนาภาพวีดีโอคลิปบางฉากของภาพยนตร์มาใช้เป็น สื่อ
โฆษณา แต่งตั้งดาราเป็นทูตทางการท่องเที่ยว เช่น Kim Hee-Sun, Choi Ji-
woo ลงโฆษณาในสื่อ สิ่งพิมพ์และโทรทัศน์กว่า 4,000 ครั้ง รวมทั้งสื่อออนไลน์จัดทา
รายการนาเที่ยวสถานที่ถ่ายทาภาพ ยนตร์จัดงานคอนเสิร์ต และ สนับสนุนแฟนคลับดารา
นักร้องเกาหลีใช้งบประมาณกว่า 100 ล้าน เหรียญสหรัฐ ได้รับนักท่องเที่ยวในปีค.ศ.
2004 จานวน 5,818,138 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.4 ในเว็บไซต์ขององค์การ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาหลีจะเสนอรายการนาเที่ยวด้วยตัวเองไป ยังสถานที่ถ่ายทา
ภาพยนตร์กว่า 20 เรื่อง
Back Next
อาทิเรื่อง Daejunggum ใช้ฉากพระราชวัง
Changdeokgung ในกรุงโซล ซึ่งเป็นมรดกโลกขององค์การ UNESCO
และ เกาะเจจูยังมีรายการอาหารเกาหลีแบบ Daejunggum ให้ลิ้มลอง ไปตัดเสื้อที่
ร้านตัดเสื้อแบบฮันบก เรื่อง Winter Sonata ฉากส่วนใหญ่จะอยู่ที่เกาะ
Namiseom ไม่ไกลจากกรุงโซล และยังแนะนาให้ไปร้านกาแฟ Winter
Sonata Café ที่ขายของที่ ระลึกของภาพยนตร์เรื่องนี้โดยเฉพาะองค์การส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวหลายประเทศที่ตั้งอยู่ในประเทศเกาหลีได้ใช้ดาราหรือนัก ร้องของประเทศตนมา
สร้างกระแสให้คนเกาหลีมาเที่ยว เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน บางประเทศลงทุนจานวน หลายล้านบาท
เพื่อสนับสนุนให้บริษัทภาพยนตร์เกาหลีมาถ่ายทาในประเทศตนเช่น ฟิลิปปินส์ภาพ ยนตร์
เกาหลีหลายเรื่องได้รับการสนับสนุนจากสานักงานททท.ประจากรุงโซล ในงบประมาณที่ไม่
มาก นักใช้ฉากหลายฉากใน ประเทศไทย อาทิFull House – ใช้ฉากภูเก็ต,
Princess Hours Time – ใช้ฉากชะ อา เพชรบุรีสมุทรสงคราม กรุงเทพฯลฯ,
Between Dog and Wolf –ใช้ฉากกรุงเทพฯ เป็น
Back
กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว
Next
กระแสต้านเกาหลีเริ่มมีให้เห็นบ้างแล้ว รัฐบาลจีนและรัฐบาลญี่ปุ่นจากัด
จานวนนาเข้าภาพยนตร์เกาหลีขณะนี้กระแสเกาหลีเริ่มแผ่วลงในสองประเทศ แต่ยังมา
แรงในแถบเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้กระแสเกาหลีน่าจะเหมือนกระแสน้าขึ้น และน้าลง
หลายท่านคงจาได้ว่าเมื่อประมาณสามสิบปีก่อน กระแสญี่ปุ่นเคยเข้ามาในประเทศ
ไทยแล้วก็เคลื่อนหายไป ในอนาคตกระแสเกาหลีอาจจะต้องเปลี่ยน เป็นกระแสลูกผสม
เพื่อให้ได้รับการยอมรับมากขึ้นในเอเชีย เช่น กระแสเกาหลี-ญี่ปุ่น-ไทย ทีมงาน ถ่าย
ทาภาพยนตร์เป็นเกาหลีแต่ดารานักแสดงเป็นญี่ปุ่น ฉากภาพยนตร์ในประเทศไทย คง
ไม่นานเกิน รอ
กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว
Back
กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
เรื่องของอานาจมีความสาคัญในการเมืองระหว่างประเทศอย่างไรนั้น ดูได้จากการที่
ข่าวความเคลื่อนไหวของประเทศมหาอานาจมักได้รับความสนใจมากที่สุด เรามักจะสนใจ
นโยบายของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ จีน รัสเซีย เป็นต้น คาแถลงการณ์ของบุคคลสาคัญ
ในประเทศมหาอานาจ นโยบายของรัฐบาล การซ้อมรบ เหล่านี้
อานาจที่รู้จักหรือคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี คือ อานาจกระด้าง (Hard
power) หมายถึง การใช้กาลังทางทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ในการบังคับข่มขู่ หรือกดดัน
ผู้อื่นให้ปฏิบัติตามความต้องการของตน แต่เมื่อโลกเปลี่ยนไป ผู้คนมีการศึกษามากขึ้น
สามารถสื่อสารกันมากขึ้น อานาจกระด้างแบบนี้นับวันจะไม่ได้รับการยอมรับและหมด
ความชอบธรรมลงเรื่อยๆ ผู้คนมีแนวโน้มที่ต้องการผู้นาที่ใช้ อานาจละมุน (soft
power) มากขึ้น ซึ่งหมายถึงความสามารถที่จะได้มาในสิ่งที่ต้องการ โดยการชักจูงโน้ม
น้าว และดึงดูดใจให้คนอื่นคล้อยตามความต้องการของเรา
Back Next
การที่ประเทศสหรัฐอเมริกาสามารถคงไว้ซึ่งการเป็นประเทศมหาอานาจได้มีการ
ปรับใช้นโยบายการสร้างสมดุลแห่งอานาจ โดยการใช้อานาจสองประเภทที่แตกต่างกัน คือ
อานาจกระด้าง เช่น การใช้กาลังทางทหาร อาวุธ ยุทโธปกรณ์ในการยึดบ่อน้ามันจากอิรัก และ
การปราบปรามประเทศมุสลิม นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในอานาจ
ละมุน (soft power) คือ การโน้มน้าว จูงใจ และดึงดูดใจให้เกิดความร่วมมือหรือ
กระทาตามอย่างยินยอมพร้อมใน ไม่ว่าจะเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และในบริบท
ทางด้านวัฒนธรรม เช่น สื่อบันเทิงอย่างภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด บริโภคนิยม การดาเนินวิถีชีวิต
แบบชาวอเมริกัน เป็นต้น
Back Next
กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่เปิดเสรีทางด้านความคิด ประชาชนจึงมี
สิทธิรับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้เต็มที่ ด้วยเหตุผลที่ประชากรของประเทศมีระดับ
การศึกษาที่สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจได้อย่างเสรี รัฐจึงสร้างแบบแผนและ
ค่านิยมการบริโภคสินค้าโดยใช้ผ่านยุทธศาสตร์ด้านข่าวสาร สื่อสารมวลชน
หนังสือ นิตยสาร ภาพยนตร์ ทีวีซีรีส์ แฟชั่น การให้ทุนการศึกษา เป็นต้น
กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
Back Next
หลายประเทศจึงหันมาให้ความสาคัญกับอานาจละมุน (soft power)
มากขึ้น โดยเฉพาะในบริบททางด้านวัฒนธรรม การติดต่อสื่อสาร บันเทิง บริโภคนิยม การ
ดาเนินวิถีชีวิตช่วงทศวรรษที่ 19 ญี่ปุ่นเริ่มเข้ามามีบทบาทการเป็นมหาอานาจของภูมิภาค
เอเชียตะวันออก มีความทันสมัยทัดเทียมประเทศตะวันตก เช่น การเป็นมหาอานาจทาง
เศรษฐกิจ แม้แต่ประเทศจีนนอกจากจะมุ่งเน้นการขยายศักยภาพทางเศรษฐกิจ การค้า การ
ต่างประเทศ และการทหารแล้ว ล่าสุดจีนยังเริ่มหันมาให้ความสาคัญกับอานาจละมุน โดยการ
เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิก การตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ภาคภาษาอังกฤษ "Global
Times" เพื่อเป็นสื่อกลางสาคัญในการเปิดโอกาสให้ผู้อ่านนานาชาติได้เข้าใจประเทศจีน
มากขึ้น และเป็นการเผยแพร่ความคิดเห็นของชาวจีนต่อประชาคมโลกด้วย นานาประเทศที่
เป็นผู้นาต่างก็ใช้อานาจละมุนในแต่ละรูปแบบที่แตกต่างกัน
Back Next
กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
เกาหลีใต้ซึ่งกาลังไล่ตามประเทศพัฒนาแล้วอย่างญี่ปุ่น และจีน จึงไม่เพียงแต่
พยายามพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ให้แข็งแกร่งเท่านั้น แต่ยังหันมาเร่งฟื้นฟูและพัฒนา
โครงสร้างและสถาบันทางวัฒนธรรมให้แข็งแกร่งด้วย โดยจุดเปลี่ยนที่สาคัญเกิดขึ้นหลังวิกฤต
เศรษฐกิจในปี ค.ศ. 1997 ซึ่งหลายประเทศในเอเชียที่ประสบปัญหาดังกล่าวล้วนต้อง
ปรับตัวรับกับทุนโลกาภิวัตน์ที่ถาโถมเข้ามา และการใช้ทุนวัฒนธรรมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของ
รัฐบาลเกาหลีใต้ที่เกิดขึ้นเพื่อรับมือกับวิกฤตดังกล่าว การเล็งเห็นประโยชน์ในการพัฒนาให้
วัฒนธรรมเกาหลีกลายเป็น สินค้าชนิดหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับประเทศ โดยนาเนื้อหาสาระความ
เป็นเกาหลี (korea content) สอดแทรกลงไปในสื่อบันเทิงต่างๆ ทั้งภาพยนตร์
เกม ศิลปะ ดนตรี สิ่งเหล่านี้เป็นการแสดงถึงความพยายามของรัฐบาลเกาหลีทาให้วัฒนธรรม
เกาหลีหลายประเภท อาทิ ภาพยนตร์ วัฒนธรรมการแต่งกาย การกิน ได้รับการยอมรับในสังคม
ต่างประเทศ กลายเป็นตัวเลือกใหม่ของการบริโภควัฒนธรรมภายนอกผ่านกลยุทธ์การสื่อสาร
Back Next
กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
นอกจากรายได้จากการส่งออกสินค้าวัฒนธรรมเกาหลี (k-pop) แล้ว ตอนนี้
กระแสวัฒนธรรมเกาหลีได้รับความนิยมไปทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกทั้งในจีน ญี่ปุ่น
ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย รวมถึงไทย โดยมีทีวีซีรีส์ ภาพยนตร์ และ
เพลงเป็นสื่อทางการตลาดในการเผยแพร่วัฒนธรรม มีนักร้องและนักแสดงเป็นทูตทาง
วัฒนธรรมคนสาคัญ เหล่านี้ล้วนแต่มีส่วนช่วยเปิดประตูทางการค้าในประเทศต่างๆ ที่กระแส
วัฒนธรรมเกาหลี (k-pop) ได้เข้าไปนาทางไว้ก่อนแล้ว จากนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าสินค้าใดของ
เกาหลีที่จะใช้โอกาสนี้ให้เกิดประโยชน์
Back
กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
กระแสเกาหลี (Korean Wave) หรือที่รู้จักกันอีกนามหนึ่งว่า
“Hallyu” (ฮัลริล) เป็นศัพท์ที่ตั้งขึ้นโดยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีนในช่วงปลายทศวรรษ
1990 หมายความถึงกระแสความนิยมในวัฒนธรรมเกาหลีที่ได้รับความแพร่หลายไปทั่ว
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับว่าเป็นปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม
ข้ามชาติที่ข้ามพ้นอิทธิพลทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของชาติมหาอานาจ เช่น
สหรัฐอเมริกา ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ในโลกยุคดิจิตัล กระแสนี้ก่อตัวมากว่าสิบปีและมี
แนวโน้มว่ายังแรงอยู่จุดเริ่มต้นของกระแสความนิยมในวัฒนธรรมเกาหลี เกิดขึ้นจากการเปิด
เสรีทางด้านสื่อ (media) ขยายกว้างครอบคลุมทั่วทั้งเอเชียในปี ค.ศ. 1997เมื่อ
สถานีโทรทัศน์แห่งชาติจีน (CCTV) ออกอากาศละครโทรทัศน์ แนวดราม่าในชื่อเรื่อง
What is love all about ?
Back Next
ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้ชมเป็นอย่างดี และเพื่อสนองความต้องการของผู้ติดตาม
ชม ได้จัดฉายออกอากาศซ้าในปี ค.ศ. 1998 จนได้รับการบันทึกว่าเป็นรายการที่ได้รับ
ความนิยมอย่างยิ่งทั้งในจีนและไต้หวัน นับจากนั้นเป็นต้นมาละครโทรทัศน์เกาหลีได้ยึดครอง
ช่วงเวลาแพร่ภาพตามช่องสถานีโทรทัศน์ในประเทศต่างๆ ไปทั่วเอเชีย เช่น ฮ่องกง ไต้หวัน
สิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย อีกทั้งการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในเอเชียเมื่อปี ค.ศ.
1997 นาไปสู่สภาวะที่ผู้ซื้อรายการโทรทัศน์ในเอเชียสมัครใจซื้อรายการโทรทัศน์จาก
เกาหลีที่ราคาถูกกว่ารายการโทรทัศน์จากญี่ปุ่น และจากฮ่องกง
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
NextBack
ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990 สถานีโทรทัศน์ดนตรีในภูมิภาคแชแนลวี
(Channel V) นาเสนอดนตรีแนวป๊ อบของเกาหลี ส่งผลให้เกิดกลุ่มแฟนเพลงผู้นิยม
K-Pop ในเอเชียโดยเฉพาะกลุ่มนักร้องชายภายใต้ชื่อ H.O.T. ได้รับความนิยมในจีน
และไต้หวัน ส่งผลให้ยอดขายอัลบั้มพุ่งสูงตามไปด้วย หลังจากกลุ่ม H.O.T. ประสบ
ความสาเร็จอย่างล้นหลามก็มีศิลปินคนอื่นๆ ตามมา ในปี ค.ศ. 2002 เพลงของศิลปิน
หญิงโบอา (BoA) สามารถขึ้นถึงอันดับ 1 ใน ชาร์ตเพลงของญี่ปุ่น
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
สิ่งนี้สามารถปูทางเปิดตลาดดนตรีในญี่ปุ่นได้อย่างแข็งแกร่ง ปัจจุบันดารานักร้อง
เกาหลีมักจะไปแสดงคอนเสิร์ตที่ปักกิ่ง ฮ่องกง และโตเกียว และมีการอัดเพลงในอัลบั้มเป็น
ภาษาท้องถิ่นก่อนที่จะเปิดตัวอัลบั้มในประเทศนั้นๆภาพยนตร์เกาหลีเรื่องแรกที่ประสบ
ความสาเร็จในประเทศญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงคโปร์ และไต้หวัน ได้แก่ เรื่อง Shiri (ชิริ เด็ดหัวใจ
ยอดจารชน) ซึ่งเปิดฉายในปี ค.ศ. 1999 เป็นภาพยนตร์แนวแอ็คชั่นเกี่ยวกับสายลับ
ชาวเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ที่ทารายได้สูง นับได้ว่าเป็นก้าวแรกที่เกาหลีเริ่มมีอิทธิพลใน
วงการบันเทิงของเอเชียและสร้างกระแสเกาหลี หลังจากนั้นภาพยนตร์เกาหลีจึงได้รับความ
นิยมอย่างต่อเนื่องไปทั่วเอเชีย
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
Back Next
ท่ามกลางสภาพดังกล่าว ดารานักร้องเกาหลีได้กลายมาเป็นทูตทางวัฒนธรรม
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ กรณีของ อาน แจ อุค (Ahn Jae Wook) ที่ได้รับความ
นิมอย่างล้นหลามในจีน หลักฐานที่เป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงการได้รับความนิยมคือ ได้รับการ
โหวตให้นักร้องยอดนิยมที่ชื่นชอบในอันดับต้นๆ เมื่อปี ค.ศ. 2001 และยังได้รับความ
นิยมแซงหน้าดาราดังฮอลลีวู้ด ดารานักร้องเกาหลีนับว่ามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมการบริโภค
อื่นๆ ซึ่งรวมไปถึงอาหาร แฟชั่น การแต่งหน้า จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะเห็นวันรุ่นเอเชียต่างพากัน
แต่งตัว หรือแต่งหน้าทาผมเลียนแบบดารานักร้องที่ตนชื่นชอบ หรือแม้แต่การทาศัลยกรรม
นักแสดงหญิงจากเกาหลี เช่น ลี ยอง เอ (Lee Young Ae), ซอง เฮ เคียว
(Song Hye Kyo), คิม แต ฮี (Kim Tae Hee) ได้รับความนิยม
ชมชอบถึงขนาดมีรายงานว่าในไต้หวันและจีนยึดเอาเค้ารูปหน้าตาของดาราเหล่านี้เป็น
ต้นแบบในการผ่าตัดแต่งหน้าเพื่อความงามของตนเอง
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
กระแสของวัฒนธรรมเกาหลีที่แพร่หลายไปทั่วเอเชียนั้น ต้องย้อนไปในสมัยที่
เกาหลีประสบวิกฤตเศรษฐกิจในปี ค.ศ.1997 อันส่งผลให้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
เกาหลีต้องมาร่วมกันพิจารณาหาอัตลักษณ์ของตน เพื่อปรับยุทธศาสตร์การทาการค้า และ
การเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าของตน อันจะส่งผลในการสร้างศักยภาพทางการแข่งขันกับ
นานาชาติต่อไป ทั้งนี้ด้วยความง่อนแง่นของนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม ที่พยายามส่งออก
สินค้าหนักอย่างรถยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้ า จากบริษัทผูกขาดขนาดใหญ่ของเกาหลี ที่เรียกว่า
"แชโบ" (Cheabol) ในช่วงก่อนวิกฤติเศรษฐกิจนั้น ทาให้เกาหลีต้องหันมาใช้ทุนทาง
วัฒนธรรม เพื่อประกอบสร้างอานาจที่ไม่แข็งกร้าว หรือ อานาจละมุน (soft power)
ของตนในเวทีการค้าโลก เพื่อผลิตสินค้าทางวัฒนธรรม ในการกล่อมเกลาให้ผู้บริโภคคล้อย
ตาม และนิยมชมชอบกับการบริโภคสินค้าจากเกาหลี จนทาให้กระแสเกาหลีมาแรงอย่างยาก
ที่จะปฏิเสธได้
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ประเทศเกาหลีมีนโยบายในการสร้างความก้าวหน้าของประเทศตนโดย ใช้วิธีการส่งออก
วัฒนธรรม ผ่านทีวีซีรีส์ ภาพยนตร์และเพลงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างกลยุทธ์คู่ขนาน คือ เพื่อหวัง
ผลด้านยอดขายสินค้า และได้รับการซึมซับวัฒนธรรมของเกาหลีเข้าไปด้วยและจากกลยุทธ์การส่งออก
วัฒนธรรมนี้ทาให้หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยได้เกิดความรู้สึกคุ้นเคยต่อสื่อของเกาหลี วัฒนธรรม
ดาราเกาหลี เป็นอย่างดี ซึ่งนับว่าเป็นความตั้งใจของรัฐบาลเกาหลีที่จะใช้วัฒนธรรม โดยเฉพาะ
วัฒนธรรมสมัยใหม่ที่เรียกว่า Pop culture เข้ามาใช้โดยทาให้ผู้รับชมสื่อเหล่านี้จนเกิดการซึม
ซับผ่านเนื้อหาของสื่อ จึงไม่เป็นเรื่องที่น่าสงสัยเลยว่าเหตุใด เรื่องราวเกี่ยวกับเกาหลีได้กลายเป็นที่
สนใจมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
นอกจากนั้นการสร้างกระแสวัฒนธรรมเกาหลีก็เพื่อทาให้เกาหลีเป็นที่สนใจอย่างต่อเนื่อง
ในระดับโลก ตลอดจนการกลายเป็นที่ยอมรับ ทั้งนี้เพื่อให้เกาหลีกลายเป็นประเทศชั้นนาและเป็น
ศูนย์กลางของโลกประเทศหนึ่ง และเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ปัจจัยภายในประการที่หนึ่ง: นโยบายผลักดันของรัฐบาล
รัฐบาลเป็นผู้วางนโยบาย สนับสนุน และส่งเสริมเงินทุนในกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมมาโดย
ตลอด ภายใต้กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว กล่าวคือ
ในช่วงปี ค.ศ. 1945-1980 รัฐบาลเกาหลีให้ความสาคัญกับการค้นหา
ตัวตนหรืออัตลักษณ์ของชาติและมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นการสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาอีก
ครั้งและปกป้ องตนเองจากวัฒนธรรมอเมริกัน โดยมีรัฐบาลเป็นผู้ควบคุมและออกกฎระเบียบ
การวางรากฐานทางด้านกฎหมาย กองทุน สถาบันการศึกษา
ในช่วงปี ค.ศ. 1981-1992 รัฐบาลได้เพิ่มการส่งเสริมทางด้านศิลปะทั้ง
แบบดั้งเดิมและร่วมสมัย ได้วางแนวนโยบายแผนหลักทางวัฒนธรรม 10 ปี โดยเน้น
วัฒนธรรมเพื่อปวงชนทั้งมวล
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ในช่วงปี ค.ศ. 1993 รัฐบาลได้เปลี่ยนบทบาทใหม่เป็นการส่งเสริมมากกว่า
การควบคุม และเห็นว่าวัฒนธรรมมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ เร่งพัฒนาวัฒนธรรมท้องถิ่น
เสริมสร้างสวัสดิการเพื่อทานุบารุงวัฒนธรรม และส่งเสริมแนวคิดวัฒนธรรมคือสินค้าทางการ
ท่องเที่ยว
ในช่วงปี ค.ศ. 1994 มีการนาเสนอรายงานต่อประธานาธิบดี แนะนาให้
รัฐบาลส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตสื่อชนิดต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ ดนตรี
และอื่นๆ ให้เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของประเทศ ทั้งนี้ได้อ้างถึงรายได้จากการฉายภาพยนตร์ฮอล
ลีวู้ด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือภาพยนตร์เรื่อง Jurassic Park ที่มีมูลค่าสูง
จากการจาหน่ายในตลาดต่างประเทศเทียบได้กับการขายรถยนต์ ฮุนได (Hundai) ถึง
1.5 ล้านคัน การเปิดเผยครั้งนี้ก่อให้เกิดความตื่นตัวกับแนวคิดในการมองวัฒนธรรมเป็น
อุตสาหกรรมชนิดหนึ่ง ภายหลังจากรายงานดังกล่าว รัฐบาลเกาหลีได้จัดตั้งสานักงาน
อุตสาหกรรมวัฒนธรรมขึ้นภายใต้กระทรวงวัฒนธรรมและกีฬา
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ในช่วงปี ค.ศ. 1995 มีการออกกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมภาพยนตร์ เป็น
การพยายามสร้างอุตสาหกรรมวัฒนธรรมตามแบบระบบสื่ออเมริกัน ภายใต้แนวทาง “เรียนรู้
จากฮอลลีวู้ด” ในช่วงปี ค.ศ. 1997 กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวได้กาหนด
ทิศทางสาหรับนโยบายทางวัฒนธรรม ในรายงานที่เรียกว่า วิสัยทัศน์ทางวัฒนธรรม 2000
(Cultural Vision 2000) ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจใน
เอเชีย โดยกาหนดหลักเกณฑ์ด้านวัฒนธรรม ดังนี้
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
1. สนับสนุนการศึกษา เพื่อผลิตเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปวัฒนธรรม
2. ขยายการสนับสนุนงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ช่วยส่งเสริมความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
3. อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม
4. ส่งเสริมอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม
5. พัฒนาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติที่จะไปสู่การรวมชาติ
6. สร้างความแข็งแกร่งให้กับการทูตเชิงวัฒนธรรม
รัฐบาลเกาหลีใต้ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ในการพัฒนาให้วัฒนธรรมเกาหลีกลายเป็น
สินค้าชนิดหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับประเทศ จึงมีแนวคิดในการจัดตั้งองค์การวัฒนธรรมและเนื้อหาสื่อ
แห่งเกาหลี (Korea Culture and Content Agency–KOCCA)
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ในช่วงปี ค.ศ. 1998 รัฐบาลเกาหลีได้ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้น
โดยรวมเรียกว่าอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ประกอบด้วยอุตสาหกรรมย่อย อาทิ ภาพยนตร์ ละคร
โทรทัศน์ เพลง เกม การออกแบบตัวการ์ตูน กระทรวงวัฒนธรรมได้วางนโยบายและจัดทา
แผนปฏิบัติการ 5 ปี และแผน 10 ปี แผนนี้เรียกว่า “Korea 2010:
Culture, Creativity and Content” เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับ
อุตสาหกรรมวัฒนธรรมของเกาหลี โดยการส่งเสริมให้ภาครัฐและภาคเอกชน ลงทุนด้านการ
จัดการศึกษาอุตสาหกรรมวัฒนธรรม
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ในช่วงปี ค.ศ. 1999 รัฐบาลเกาหลีได้ออก พ.ร.บ. การส่งเสริม
อุตสาหกรรมวัฒนธรรม ทาให้เกิดองค์กรมหาชนเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เช่น
สถาบันส่งเสริมและพัฒนาเกม นอกจากนี้ยังมีศูนย์วิจัยทางวัฒนธรรม สถาบันการศึกษา
เทคโนโลยีทางวัฒนธรรม
ต่อมา ในช่วงปี ค.ศ. 2001 กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวจึง
จัดตั้ง องค์การวัฒนธรรมและเนื้อหาสื่อแห่งเกาหลี (Korea Culture and
Content Agency--KOCCA) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การถ่ายทอดเนื้อหาสาระ
ความเป็นเกาหลี (Korea Content) ให้เผยแพร่ไปยังประเทศต่างๆ มากขึ้น
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ปัจจัยภายในประการที่สอง: บุคลิกและนิสัยของคนเกาหลี
นิสัยการทางานของคนเกาหลีเน้นการทางานหนัก เอาจริงเอาจังและอดออมเพื่ออนาคตที่
สดใส จากปรัชญานี้เองทาให้คนเกาหลีส่วนใหญ่นิยมส่งเสริมการทางานหนัก หนักเอาเบาสู้
ไม่ว่ากิจการใดที่ยากเย็นแสนเข็ญ หากคนเกาหลีได้ลงมือทาแล้วจะได้รับความสาเร็จเสมอ
และบ่อยครั้งเป็นความสาเร็จที่ทาได้เกินเป้ าหมายที่ตั้งไว้แต่แรกเสียอีก จึงมีการเรียกจริยธรรม
ในการทางานแบบนี้ว่า “จิตวิญญาณเราทาได้” (Can-do spirit) ซึ่งนักวิชาการ
เกาหลีต่างอ้างว่า ปัจจัยด้านจริยธรรมในการทางานหนักนี้เองที่เป็นผลให้ประเทศเกาหลีได้รับ
ความสาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจภายในระยะเวลาอันสั้น
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
การสานต่อนโยบายของรัฐบาล การทาให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้า นโยบายและ
กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะพึ่งแต่การทางานของภาครัฐแต่เพียงฝ่ายเดียวไม่พอ จิตใต้สานึกที่มี
ความเป็นนักสู้ ความขยัน ความมีวินัยในการทางาน และความต้องการในความก้าวหน้าของ
ประชาชนก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยผลักดันให้นโยบายของรัฐประสบความสาเร็จ
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
Back Next
ปัจจัยภายในประการที่สาม: เนื้อหาของสื่อ
เนื้อหาของสื่อเป็นตัวสร้างความเป็นเอกลักษณ์ให้แก่ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ และดนตรีของเกาหลี
ซึ่งทาให้กลุ่มผู้บริโภคหันมาสนใจในแนวที่แตกต่างไปจากเดิม ภาพยนตร์หรือละครเกาหลีสมัยใหม่จะ
เน้นเรื่องราวของชีวิต การต่อสู่เพื่อความถูกต้องและจริยธรรม มีการถ่ายทอดความความสัมพันธ์อันดีที่
เหมาะสมระหว่างผู้คนซึ่งเป็นแนวคิดตะวันออกที่ได้รับอิทธิพลมาจากขงจื๊อ เช่น เรื่องสะดุดรักที่พักใจ
(Full House) หรือ รักนี้ชั่วนิรันดร์ (Autumn in my Heart) เป็นต้น บาง
เรื่องก็ทาให้เกิดความรู้สึกร่วมในทางสร้างสรรค์ การรักชาติ (Nationalism) และต้องการให้
เกิดการรวมชาติ เช่น เรื่อง คนแรกของหัวใจ คนสุดท้ายของชีวิต (The classic) เลือดเนื้อเพื่อ
ฝันวันสิ้นสงคราม (TAEGUKGI) และ รักต่างมิติ (Ditto) ที่เต็มไปด้วยฉากของสงคราม
ความเสียสละ หรือบางเรื่องมีความโรแมนติกที่เน้นความสวยงามของธรรมชาติ และส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวอย่าง เช่น เพลงรักในสายลมหนาว (Winter Love Song) รักหนึ่งยังลืมไม่ลง
(One Find Spring Day) ห่มรักเธอด้วยใจฉัน (Christmas in
August) เป็นต้น
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ดนตรีเกาหลีมีการปรับตัวให้มีหน้าตาเป็น “เอเชีย” มากขึ้นแทนที่จะเป็นเกาหลี
อย่างที่เคยเป็น เพื่อให้สอดคล้องกับรสนิยมของตลาดเอเชีย นัยหนึ่งต้องรู้ใจวัยรุ่นเอเชียและ
เข้าถึงตลาดด้วยการใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการขายแบบเอเชียด้วย เช่น การให้ศิลปินนักร้อง
เดินสายโปรโมทสินค้าบ่อยๆ และสร้างความใกล้ชิดกับผู้ฟังให้มากที่สุด
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ปัจจัยภายนอกประการที่หนึ่ง: ความเป็นเอเชียด้วยกัน
การถ่ายทอดวัฒนธรรมเกาหลีสู่ประเทศในแถบเอเชียเริ่มมีอิทธิพลต่อผู้บริโภคในแถบเอเชียที่
มีพฤติกรรมการบริโภควัฒนธรรมที่ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มคนเมือง
ความสาเร็จส่วนหนึ่งมาจากความเป็นเอเชียด้วยกัน ทั้งในแง่ของมุมมอง การดาเนินชีวิต
ทัศนคติ และวัฒนธรรมประเพณี ทาให้ผู้บริโภคสามารถเข้าใจและสามารถนามาเป็น
แบบอย่างได้ ทาให้ง่ายต่อการซึมซับวัฒนธรรมใหม่ๆ ภายในภูมิภาคกันเอง
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ปัจจัยภายนอกประการที่สอง: คุณธรรมในเอเชีย
ประเทศเกาหลีได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื้อ ซึ่งเป็นรากวัฒนธรรมของจีนและญี่ปุ่น
ภาพยนตร์หรือละครเกาหลีสมัยใหม่จะเน้นเรื่องราวของชีวิต การต่อสู่เพื่อความถูกต้องและ
จริยธรรม มีการถ่ายทอดความความสัมพันธ์อันดีที่เหมาะสมระหว่างผู้คนซึ่งเป็นแนวคิด
ตะวันออกที่ได้รับอิทธิพลมาจากขงจื๊อ เช่น เรื่องสะดุดรักที่พักใจ (Full House) หรือ
รักนี้ชั่วนิรันดร์ (Autumn in my Heart) เป็นต้น ความรู้สึกเหล่านี้มาเติมเต็ม
ความรู้สึกว่างของคนในยุควัตถุนิยม
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ปัจจัยภายนอกประการที่สาม: ราคาต่าและมีคุณภาพสูง
ซีรีส์เกาหลีมีราคาต่ากว่าเมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายของซีรีส์ญี่ปุ่น หรือซีรีส์จากประเทศอื่นๆ
ซีรีส์เกาหลีเป็นทางเลือกที่ดีสาหรับสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นต้นทุนจะอยู่ระหว่าง 1000-
2000 USD ต่อ 1 ตอน ขึ้นอยู่กับประเทศที่นาเข้า ในหลายประเทศละครเกาหลีมี
ราคาต่ากว่าต้นทุนของรายการโทรทัศน์ท้องถิ่น และยังสามารถรับประกันได้ว่าละครโทรทัศน์ที่
จะนาเข้าไปจะได้รับความนิยมจากผู้ชมในประเทศของตน
นอกจากนี้ซีรีส์เกาหลียังมีคุณภาพสูงเพราะมีการใช้เทคโนโลยีที่มีความทันสมัย ในช่วงปลาย
ของศตวรรษ 1980 และช่วงต้นศตวรรษ 1990 อุตสาหกรรมภาพยนตร์และละคร
โทรทัศน์เกาหลีมีการลงทุนทางด้านงบประมาณที่ค่อนข้างสูงและเพียบพร้อม ทาให้การผลิต
ละครโทรทัศน์เกาลีมีคุณภาพ และนาไปสู่ความได้เปรียบทางการแข่งขันในตลาดโลกด้วย
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ปัจจัยภายนอกประการที่สี่: ความสัมพันธ์ทางการเมือง
ญี่ปุ่นประเทศผู้นาในการผลิตสินค้าวัฒนธรรมป๊ อปในเอเชียและในโลก เมื่อความสัมพันธ์
ทางการเมืองระหว่างจีนและญี่ปุ่นเริ่มลดลงในช่วงปี 1990 จีนเริ่มปฏิเสธและไม่ยอมรับ
วัฒนธรรมของญี่ปุ่น นอกจากนี้วัฒนธรรมของญี่ปุ่นมีความเป็นตะวันตกมากเกินไป ทาให้
ผู้ชมชาวจีนเริ่มไม่มีความรู้สึกผูกพัน และมีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อสินค้าวัฒนธรรมของญี่ปุ่น ทาให้
วัฒนธรรมเกาหลีเริ่มเข้ามาแทนที่วัฒนธรรมของญี่ปุ่น ซึ่งเข้ามาในสถานที่ที่เหมาะสมและ
ช่วงเวลาที่เหมาะสม และถูกใจผู้ชมชาวจีนมากกว่าวัฒนธรรมของญี่ปุ่น
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
การเข้ามาของวัฒนธรรมเกาหลีในประเทศไทยเริ่มมาจากการแพร่ภาพของซีรีส์เรื่องลิขิต
แห่งรัก ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ในปี ค.ศ. 2000 ซึ่งไม่ค่อยประสบความสาเร็จเท่าใดนัก แต่ก็
สร้างกลุ่มผู้ชมที่เป็นแฟนละครได้ระดับหนึ่ง หลังจากนั้นไม่นานก็ตามมาด้วยเรื่อง รักนี้ชั่วนิรันดร์
(Autumn in My Heart) ถือว่าเป็นละครเกาหลีที่เป็นจุดเริ่มต้นของกระแสความนิยม
เกาหลี ซึ่งสร้างความประทับใจให้กับผู้ชมละครเป็นอย่างมาก โดยนามาออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์
ไอทีวี ในช่วงปี ค.ศ. 2001 และนามาออกอากาศอีกครั้งในปี ค.ศ. 2003 ด้วย
องค์ประกอบของละครหลายอย่างที่ลงตัว จนทาให้ละครเรื่องนี้มีเรตติ้งสูง จนทีวีคู่แข่งต้องนาเอาซีรีส์
เรื่องอื่นๆ มาออกอากาศ และเพื่อยืนยันถึงกระแสละครโทรทัศน์เกาหลีที่ออกอากาศในประเทศไทย
อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ในช่วงปี ค.ศ. 2006 ซีรีส์ที่ได้รับกระแสตอบรับอย่างมากในทุกเพศ
ทุกวัย เรื่องแดจังกึม จอมนางแห่งวังหลวง (Daejanggum) ที่ออกอากาศทาง
สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 ได้สร้างชื่อเสียงให้แก่ดารานา และสร้างกระแสการรับประทานอาหารเกาหลีขึ้น
ในสังคมไทย
Back
Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ทางด้านดนตรีแม้ว่าบริษัทโซนี่และวอร์เนอร์นาเพลงเกาหลีเข้ามาจาหน่าย แต่ก็ไม่
แพร่หลายมากนัก จนกระทั่งบริษัทเพลงยักษ์ใหญ่อย่างแกรมมี่เริ่มนาผลงานของวงนักร้อง
หญิง Baby V.O.X มาจาหน่ายเมื่อปี ค.ศ. 2002 ยอดจาหน่ายซีดีสามหมื่น
แผ่นทาให้รู้ว่าแนวเพลงป็อปแดนซ์ใสๆ ของ Baby V.O.X. นั้นถูกใจวัยรุ่นไทยที่
ขณะนั้นยังไม่มีวงนักร้องหญิงวัยรุ่นในตลาด ปี ค.ศ. 2004 นับว่าเป็นปีที่เพลงเกาหลี
หรือ K-pop เริ่มเข้ามามีชื่อเสียงในประเทศไทย จากที่บริษัทอาร์เอสนาเอาผลงานของ
เซเว่น (Se7en) เข้ามา และบริษัทแกรมมี่นาเอาผลงานของเรน (Rain) เข้ามา
แข่งขัน แกรมมี่ถือเป็นค่ายเพลงในเมืองไทยรายแรกที่สนใจเปิดตลาดเพลงเกาหลีในไทยอย่าง
จริงจัง โดยเริ่มจากการนาผลงานเพลงจากศิลปินเกาหลีอย่าง Baby V.O.X. และเรน
(Rain) เข้ามาสู่เมืองไทย จนถึงวันนี้แกรมมี่ถือเป็นผู้บริหารสิทธิ์ศิลปินเกาหลีรายใหญ่ ที่
มีศิลปินในสังกัดทั้ง Wonder Girl, T.V.X.Q, Super Junior,
Girl Generation, BIGBANG ฯลฯ
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ศิลปินเกาหลีเป็นที่รู้จักในประเทศไทยมากมาย เช่น Super Junior,
Wonder Girl, T.V.X.Q, 2PM, Girl Generation เป็นต้น การ
สร้างความสาเร็จของศิลปินเกาหลีในเมืองไทย นอกจากผลงานเพลงที่มีคุณภาพแล้ว ในด้าน
การสนับสนุนที่จะสร้างให้ศิลปินเป็นที่รู้จักมากขึ้นก็เป็นสิ่งสาคัญ เช่น การมีผลงานภาพยนตร์
หรือละคร การได้รับความร่วมมือจากศิลปินเดินทางเข้ามาจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ การ
แสดงคอนเสิร์ต หรือการเป็นพรีเซ็นเตอร์ ก็จะทาให้ศิลปินได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
การท่องเที่ยวนับว่าเป็นผลพลอยได้จากละครโทรทัศน์หรือซีรีส์เกาหลีไม่มากก็น้อย
เนื่องจากการนาเสนอภาพสวยๆ ในละคร ที่กระตุ้นจินตนาการให้กับผู้ชมชาวไทย ในการสร้าง
มายาคติแบบเกาหลี (Korean dream) โดยมีบริษัททัวร์คอยนาเสนอโปรแกรม
การท่องเที่ยวให้บรรดาแฟนละครด้วยการจัดทัวร์พาชมสถานที่ถ่ายทา ที่เรียกว่า ทัวร์ตามรอย
ละครหรือ Drama Tour เปรียบเสมือนการสร้างประสบการณ์ผ่านสื่อ ด้วยกลยุทธ์
ของการส่งออกทุนทางวัฒนธรรม เพื่อกระตุ้นต่อมความอยาก ให้ผู้ชมและคนเหล่านั้นได้ลอง
มาสัมผัสประสบการณ์จริงๆ ในประเทศเกาหลี
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
ฉากและเนื้อเรื่องถือเป็นจุดเด่นของหนังและละครเกาหลีหลายๆ เรื่อง โดยทิวทัศน์
อันงดงามที่ปรากฏในฉากหนังและละครเกาหลีเกือบทุกเรื่องทาให้นักท่องเที่ยวอยากเดินทาง
เพื่อสัมผัสบรรยากาศ และเมื่อได้เนื้อเรื่องโรแมนติกผูกเข้าไปกับสถานที่เหล่านั้น จึงทาให้ผู้ชม
หลายคนมุ่งมั่นจะไปเยือนให้ได้ ไม่ว่าจะเป็นเกาะนามิ ฉากรักของพระเอกนางเอกเรื่อง เพลง
รักในสายลมหนาว (Winter Love Song) หรือจะเป็นบ้านบนเกาะเจจู ในเรื่อง
สะดุดรักที่พักใจ (Full House) นักท่องเที่ยวหลายคนยอมข้ามน้าข้ามทะเลและค่า
เข้าชมเพื่อไปดูฉากภายในบ้านของคู่พระนางเรื่องนี้และ "แดจังกึม ธีมปาร์ค" โรงถ่ายละคร
เรื่องดังเรื่องแดจังกึมที่ทาให้กิมจิกับชุดฮันบกกลายเป็นที่ได้รับความนิยมขึ้นมาอย่างมาก
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
การยอมรับในวัฒนธรรมเกาหลีของคนไทย
ประเทศไทย รัฐบาลไทยไม่ควบคุมการนาเข้าสื่อจากต่างชาติ ทาให้สื่อบันเทิงต่างชาติหลั่งไหล
เข้ามาในประเทศ และนิสัยของคนไทยค่อนข้างเปิดกว้างต่อการรับวัฒนธรรมใหม่ๆ จึงง่ายต่อ
การยอมรับกระแสวัฒนธรรมที่เข้ามาใหม่ๆ นอกจากนี้ความเป็นเอเชียด้วยกัน ทาให้ง่ายต่อ
การซึมซับวัฒนธรรมใหม่ๆ ภายในภูมิภาคกันเอง
Back Next
อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2
กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
jinjuthabam
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
friend209
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
Phudittt
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
pop Jaturong
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
Ritthiporn Lekdee
 
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2thnaporn999
 

What's hot (20)

ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
ความรู้เกี่ยวกับรัฐ2
 

Viewers also liked

การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลีการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
amonjung
 
05FF-K-pop
05FF-K-pop05FF-K-pop
05FF-K-pop
Rachel Law
 
Se7.Pptการดำเนินการจัดสัมมนา
Se7.PptการดำเนินการจัดสัมมนาSe7.Pptการดำเนินการจัดสัมมนา
Se7.Pptการดำเนินการจัดสัมมนาsopida
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาAom Sinlapawiwat
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
prapapan20
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Viewers also liked (7)

การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลีการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
 
05FF-K-pop
05FF-K-pop05FF-K-pop
05FF-K-pop
 
Se7.Pptการดำเนินการจัดสัมมนา
Se7.PptการดำเนินการจัดสัมมนาSe7.Pptการดำเนินการจัดสัมมนา
Se7.Pptการดำเนินการจัดสัมมนา
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 

Similar to กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2

สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ053282357
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญjennysutthida
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 10866589628
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 10866589628
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญInthuon Innowon
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญMim Papatchaya
 
เกาหลี
เกาหลีเกาหลี
เกาหลีpanisra
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน0869481400
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านTopTen Suppakit
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 

Similar to กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2 (20)

สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
 
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
กระแสวัฒนธรรมเกาหลี 1
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
สรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญสรุปสาระสำคัญ
สรุปสาระสำคัญ
 
เกาหลี
เกาหลีเกาหลี
เกาหลี
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 

กระแสเกาหลี Korean-wave-แก้2

  • 2. ที่มาและความสาคัญ วิธีการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะ บทเรียนของสังคมไทย อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีใน เอเซีย กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี ขอบเขตโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ กระแสเกาหลี (Korean Wave) วัฒนธรรม กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว วัตถุประสงค์
  • 3. ที่มาและความสาคัญ กระแสวัฒนธรรมของเกาหลี (Korean Wave)ที่กาลังมา แรงในขณะนี้ได้สร้างทั้งความตื่นเต้นและตกใจแก่คนไทยโดยทั่วไป วัฒนธรรมเกาหลี ไม่ว่าจะเป็น ละครเกาหลี ดารายอดนิยมเกาหลี นักร้อง เกาหลี การเเต่งตัวสไตล์เกาหลี การใช้สิ่งของต่างๆ ที่ผลิตจากประเทศเกาหลี ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่คนไทยให้ความสนใจมากในปัจจุบันนี้ในทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพาะกลุ่มของ "วัยรุ่น" การที่วัฒนธรรมเกาหลีเข้ามาเผยเเพร่ ในประเทศไทย ความนิยม Back Next
  • 4. เกาหลีที่ค่อยๆ คืบคลานมายังภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้นับว่าเป็นปรากฎการณ์ที่เหนือความคาดหมายของนักวิชาการ หรือบรรดาสื่อมวลชนเพราะเป็นปรากฎการณ์ทาง วัฒนธรรมข้ามชาติที่ข้ามพ้น อิทธิพลทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมของชาติมหาอานาจ เช่น สหรัฐอเมริกา ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ในโลกยุคดิจิตัล กระแสนี้ได้ก่อตัวมากว่าสิบปีและ มีแนว โน้มว่ายังแรงอยู่ และไม่มีทีท่าว่าหยุดลงง่ายๆ ซึ่งจากเนื้อหาข้างต้นจะเห็น ว่ากระแสเกาหลีนี้นี้มีความน่าสนใจที่จะทาการศึกษาเพื่อทาโครงงานสื่อการ เรียนรู้เพื่อให้คนที่เข้ามาอ่านโครงงานได้รับความรู้ในเรื่องนี้ไม่มากก็น้อยทั้งนี้ เนื้อหายังมีความเกี่ยวโยงกับสาระวิชาประวัติศาสตร์สังคมศึกษาวัฒนธรรมและ เศรษฐศาสตร์อีกด้วย Back
  • 6. ขอบเขตโครงงาน สิ่งที่ศึกษา กระแสเกาหลีตั้งแต่เริ่มต้นถึงปัจจุบัน สถานที่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะเวลาที่ทาการศึกษา 29 กันยายน 2558 – 12 ธันวาคม 2558 Back
  • 8. กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE) กระแสเกาหลี (Korean Wave) หรือที่รู้จักกันอีกนามหนึ่งว่า “Hallyu” เป็นศัพท์ที่ตั้งขึ้นโดย นักหนังสือพิมพ์ชาวจีนในช่วงปลายทศวรรษ 1990 หมายความถึงกระแสความเย็นของความนิยม เกาหลีที่ค่อยๆ คืบคลาน มายังภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นับว่าเป็นปรากฎ การณ์ที่ เหนือความคาดหมายของนักวิชาการหรือบรรดาสื่อมวลชนเพราะเป็นปรากฎการณ์ทาง วัฒนธรรมข้ามชาติที่ข้ามพ้นอิทธิพลทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมของชาติ มหาอานาจ เช่น สหรัฐอเมริกา ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ในโลกยุคดิจิตัล กระแสนี้ ได้ก่อตัวมากว่าสิบปีและมีแนว โน้มว่ายังแรงอยู่ Back Next
  • 9. กระแสเกาหลีเป็นเรื่องเกี่ยวกับความนิยมชมชอบทางวัฒนธรรมร่วมสมัยของ เกาหลี (Korean Pop Culture) ที่มาจากภาพยนตร์ทางโทรทัศน์ภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ เพลงประกอบ และ ดารานักร้องเกาหลีภาพยนตร์เกาหลีเรื่องแรกที่ประสบ ความสาเร็จในประเทศญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงคโปร์ และไต้หวัน ได้แก่ เรื่องShiri ซึ่งฉายในปี ค.ศ.1999 เป็นภาพยนตร์แนวแอ็คชั่นเกี่ยวกับสายลับชาวเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ที่ทา รายได้มหาศาลและมียอดรายได้เหนือกว่าภาพยนตร์Titanic เมื่อครั้ง ฉายในเกาหลีและ นับได้ว่าเป็นก้าวแรกที่เกาหลีเริ่มมีอิทธิพลในวงการบันเทิงของเอเชียและสร้าง กระแสเกาหลี หลังจากนั้นเกาหลียังผลิตภาพยนตร์ที่ได้รับความนิยมไม่แพ้กัน อาทิJSA, Friend, Silmido และ Taegukgi กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE) Back Next
  • 10. กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE) อย่างไรก็ตาม ภาพยนตร์ทางโทรทัศน์หรือที่คนไทยคุ้นเคยกับคาว่า ซีรีส์เกาหลีน่าจะมีอิทธิ พลต่อความชื่นชมในเนื้อเรื่อง วิวทิวทัศน์และตัวพระเอกนางเอกที่เป็นคนเกาหลีมากกว่าสื่ออื่นๆ ภาพยนตร์เรื่อง Winter Sonata เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับความรักแท้ของหนุ่มสาว จัดทาโดย สถานีโทรทัศน์KBS ของเกาหลีได้ฉายในสถานีโทรทัศน์NHK ของญี่ปุ่นใน ปีค.ศ. 2004 ได้รับความนิยมสูงสุดในกลุ่มของแม่บ้านญี่ปุ่น ช่วงอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป และทาให้ดารานาแสดง ฝ่ายชาย Bae Young Joon มีชื่อเสียงอย่างมากในตลาดญี่ปุ่นจนทาให้มีการจัด นาเที่ยว ตามรอยภาพยนตร์Winter Sonata ภาพยนตร์อีกเรื่องที่ สร้างกระแสเกาหลีได้มากคือเรื่อง Daejunggum ออกฉายครัง้แรก ในเกาหลีในเดือน กันยายน ค.ศ. 2003 เป็นเรื่องราว ตามเกร็ด ประวัติศาสตร์เกาหลีเกี่ยวกับความสาเร็จของสตรีในยุคโชซอน ประมาณ 500 ปีก่อน ซึ่ง ผู้ชายเป็นใหญ่ เธอสามารถเป็นหมอ หลวงที่เป็นผู้หญิงคนแรกในวังหลวงได้ผู้ชมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ วัฒนธรรมเกี่ยวกับอาหารเกาหลีและยาสมุนไพรไปด้วย นับว่า เรื่องนี้เป็นหน้าต่างทางวัฒนธรรม เกาหลีที่ชาวเอเชียได้รู้จักมาก ยิ่งขึ้น Back Next
  • 11. กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE) ดารานาแสดงฝ่ายหญิง Lee Young – Ae ได้รับความชื่น ชมไป ทั่วทั้งเอเชีย จนหลายคนอยากจะเดินทางมาท่องเที่ยว เกาหลีเพื่อจะได้มาดูฉาก พระราชวังในภาพยนตร์ดังกล่าว สาหรับเรื่องเพลงนั้น วงดนตรีเกาหลีเริ่มเป็นที่นิยมใน กลุ่มวัยรุ่นในจีนและไต้หวันนับตั้งแต่ ปลายทศวรรษที่ 1990 สถานีโทรทัศน์ ท้องถิ่นจานวนมากไม่สามารถผลิตรายการดนตรีที่มีคุณภาพ หรือมากพอเพื่อรับกับ ความต้องการของคนรุ่นใหม่ได้มิวสิควีดีโอของวงดนตรีเกาหลีจึงเข้ามาใน ตลาดเอเชีย เนื่องจากมีราคาถูกที่สุด วงดนตรีเกาหลีเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่ง นอกเหนือจาก วงดน ตรีป๊ อปแบบตะวันตก หรือ ป๊ อบแบบญี่ปุ่น วงบอยแบนด์เกาหลีH.O.T. ได้ติด อันดับอัลบั้มขายดีใน เอเชีย ต่อจากนั้นยังมีวงดนตรีอีกหลายวงซึ่งเป็นวงดนตรีป๊ อบสา วนใหญ่เป็นเด็กวัยรุ่น เช่น NRG SES และ Baby Vox ล่าสุดคือวงดนตรี Don Bang Shin Ki Back Next
  • 12. กล่าวกันว่าความสาเร็จของวงบอยแบนด์หรือ เกิร์ลแบนด์เกาหลีมาจากรูปรบาง หน้าตาที่ดูสดใสและน่ารัก ดูเป็นเด็กดีสามารถเต้นราได้เก่ง เสียงดี อาจเป็นเรื่อง รอง บางคนอาจคิดว่ากระแสเกาหลีเกิดมาโดยความบังเอิญ ที่จริงแล้วเป็นการ ดาเนินงานโดย ภาครัฐเป็นผู้กาหนดแนวนโยบายและสนับสนุนเงินทุนใน เบื้องต้น ขับเคลื่อนได้โดยภาคเอกชน กระแสเกาหลี (KOREAN WAVE) Back
  • 13. วัฒนธรรม วัฒนธรรมเกาหลีเป็นวัฒนธรรมกลุ่มสายเลือดเดียวกัน (Homogeneous Culture) หรือ ที่คน เกาหลีเรียกว่า “Han Minjok” ประสานกับหลักของขงจื้อเป็นแบบแผนในการดารงชีวิตได้แก่ การ ดารงตนเป็นคนดีขยันหมั่นเพียร ประหยัด มีความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม กตัญญู และใฝ่รู้ในวิชา การ สังคมเกาหลีเป็นสังคมมาก่อน ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา วัฒนธรรม เกาหลีไม่สามารถเติบโต ได้อย่างต่อเนื่องและต้องหยุดชะงักลงไป 2 ช่วงได้แก่ ช่วง ญี่ปุ่นปกครองเกาหลี (ค.ศ. 1910 – 1945) และ ช่วงสงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950 – 1953) หลังจากนั้นวัฒนธรรมตะวันตกได้หลั่งไหล เข้ามา ในเกาหลีอย่าง Back Next
  • 14. ในปัจจุบันนี้ประเทศเกาหลีมี2 วัฒนธรรม ได้แก่วัฒนธรรมดั้งเดิม และ วัฒนธรรมร่วมสมัยรัฐบาลเกาหลีได้วางแนวนโยบายทางด้านวัฒนธรรม ในช่วงปีค.ศ. 1945 – 1980 เป็น การสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาอีกครั้ง และปกป้ องตนเองจากวัฒนธรรมอเมริกัน โดยให้ความสาคัญกับ การค้นหา ตัวตนหรือเอกลักษณ์ของชาติและมรดกทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมให้คุณค่าทาง สังคม เพียงด้านเดียว รัฐบาลเป็นผู้ควบคุมและออกกฎระเบียบ ได้วางรากฐาน ทางด้านกฎหมาย กองทุน สถาบันการศึกษา ในช่วงปีค.ศ. 1981 – 1992 วัฒนธรรม Back Next
  • 15. รัฐบาลได้เพิ่มการส่งเสริมทางด้านศิลปะทั้งแบบ ดั้งเดิมและร่วมสมัย ได้วาง แนวนโยบายแผนหลักทางวัฒนธรรม 10 ปีโดยเน้นวัฒนธรรมเพื่อปวง ชนทั้งมวล เมื่อเข้าสู่ ปีค.ศ. 1993 รัฐบาลเปลี่ยนบทบาทใหม่เป็นการส่งเสริมมากกว่าการควบคุม และ เห็น ว่าวัฒนธรรมมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ เร่งพัฒนาวัฒนธรรมในส่วนท้องถิ่นและภูมิภาค เสริม สร้างสวัสดิการเพื่อทานุบารุงวัฒนธรรม วัฒนธรรมคือสินค้าทางการท้องเที่ยว นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 รัฐบาลเกาหลีได้ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้นโดยรวมเรียกว่า อุตสาหกรรมวัฒน ธรรม ประกอบด้วยอุตสาหกรรมย่อย อาทิภาพยนตร์เพลง วีดีโอ สิ่งพิมพ์ การกระจายเสียง การ ออกแบบ ตัวการ์ตูน ความบันเทิงที่ให้ความรู้ (Edutainment) และวางวิสัยทัศน์ทางวัฒนธรรมเข้าสู้ สังคมดิจิตัล (Vision 21 for Cultural Industries in a Digital Societies) Back Next วัฒนธรรม
  • 16. วัฒนธรรมในบริบทนี้จึงเป็น วัฒนธรรมที่หลากหลายและเป็นวัฒนธรรมในเชิง โลกาภิวัฒน์รัฐบาลจะส่งเสริมให้วัฒนธรรมเกาหลี สามารถแข่งขันได้ในกระแสโลกาภิวัฒน์ โดยเชื่อว่าวัฒนธรรมเกาหลีที่มีเอกลักษณ์เป็นองค์ประกอบทื่ สาคัญในส่วนนี้ในปีค.ศ. 1999 รัฐบาลได้ออก พ.ร.บ.การส่งเสริมอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ทาให้เกิดมีองคกร มหาชนเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้เช่น สถาบันส่งเสริมและพัฒนาเกมส์ เกาหลี เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีศูนย์วิจัยทางวัฒนธรรม สถาบันการศึกษาเทคโนโลยีทางวัฒนธรรม ความสาเร็จของอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ขึ้นอยู่กับการเสริมสร้างผลิตภาพของห่วงโซ มูลค่า ทางวัฒนธรรม วัฒนธรรม Back Next
  • 17. 1. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้แก่ นวัตกรรม และความคิดใหม่ 2. องค์ประกอบทางวัฒนธรรม ได้แก่ ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม เรื่องราว ข้อความ ประสบการณ์และการดาเนินชีวิต 3. เทคโนโลยีทางวัฒนธรรม 4. โครงสร้างพื้นฐาน ได้แก้ การวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เงินทุน ข้อมูล กฎหมาย และนโยบายรัฐ โครงขยายทั่วโลก 5. เนื้อหา ได้แก่ การผลิต การจาหน่าย และ การบริโภครัฐบาลเกาหลีได้กาหนดให้เนื้อหา ทางด้านวัฒนธรรม (Culture Content) เป็น 1 ใน 7 สาขา ที่มีศักยภาพใน การเติบโตในอีกสิบปีข้างหน้าโดยอยู่ในวิสัยทัศน์อุตสาหกรรมเกาหลีปีค.ศ. 2020 และ ประมาณว่าในปีค.ศ. 2030 ประเทศเกาหลีจะสามารถส่งออกสินค้าทางวัฒนธรรมเป็น มูลค่า กว่า 13,761 ล้านเหรียญสหรัฐ และเกิดการจ้างงานประมาณ 1,604,888 คน Back Next วัฒนธรรม
  • 18. กรณีศึกษา – อุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลี ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1980 – 1990 สหรัฐอเมริกาสามารถผลิตและขาย ภาพยนตร์เข้าสู่ ตลาดเกาหลีได้โดยตรง อุตสาหกรรมภาพยนตร์เกาหลีเกือบต้องปัดตัวลงเพราะ ไม่สามารถแข่งขัน กับบริษัทยักษ์ใหญ่ของสหรัฐอเมริกาได้อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้แก่ไข กฎระเบียบเพื่อส่งเสริมภาพยนตร์เกาหลีโดยยกเลิกกฎระเบียบที่รัฐจะเซ็นเซอร์ภาพยนตร์2 ครั้ง คือก่อนผลิตและก่อนเข้าฉาย ในโรงภาพยนตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สร้างภาพยนตร์มีเสรีใน ความคิดสร้างสรรค์ผู้นาเข้าภาพยนตร์ ต่างประเทศจะต้องวางเงินประกัน 800,000 เหรียญสหรัฐ และต้องให้เงินสนับสนุนอุตสาหกรรม ภาพยนตร์ในประเทศเป็นจานวน 170,000 เหรียญสหรัฐต่อภาพยนตร์ต่างประเทศหนึ่งเรื่องที่นา เข้ามา รัฐบาลกาหนดให้ โรงภาพยนตร์ในประเทศต้องฉายภาพยนตร์เกาหลีประมาณร้อยละ 30 ถึง ร้อยละ 40 ของ การฉายทั้งหมดและยังมีมาตรการลดหย่อนทางภาษีให้กับบริษัทสร้างภาพยนตร์ เกาหลีด้วย นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติที่เมืองปูซานเป็นศูนย์กลางธุรกิจ ภาพยนตร์ ของเอเชีย Back Next วัฒนธรรม
  • 19. วัฒนธรรม วิกฤตเศรษฐกิจในเอเชียเมื่อ ปีค.ศ. 1997 ได้สร้างโอกาสให้แก่ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ เกาหลีกล่าวคือ เงินวอนอ่อนค่าลงไปมากทาให้ต้องใช้ เงินมากกว่าเดิมเพื่อนาเข้าภาพยนตร์ต่าง ประเทศ IMFได้กาหนดให้ชาว เกาหลีทางานสัปดาหืละ 5 วันทาให้มีเวลาว่างมากขึ้น โรงภาพยนตร์ Multiplex ขยายไปทั่วประเทศ บริหารงานโดยบริษัทที่มีเงินทุนสูง อาทิ Orion Group, CJ, Lotte ต้องหา ภาพยนตร์เข้ามาฉายเพิ่มขึ้น ความสาเร็จของ ภาพยนตร์เรื่อง Shiri ซึ่งเป็นการลงทุน่วมของบริษัท ข้าม ชาติเกาหลี (Chaebol) คือ Samsung Entertainment Group ใช้งบลงทุนสร้างไปเป็นจานวน 8.5 ล้าน เหรียญสหรัฐ ได้รับกาไรจากภาพยนตร์ดังกล่าวเป็นจานวนมาก Back Next วัฒนธรรม
  • 20. ภาพยนตร์โทรทัศน์เกาหลีได้เข้ามาในช่วงที่เอเชียเปิดเสรีทางด้านสื่อต่างๆ เมื่อสิบ ปีที่แล้ว ยังผลให้สถานีโทรทัศน์เปิดกิจการขึ้นมาเป็นจานวนมากและต้องการภาพยนตร์ที่มี ราคาไม่แพง ใน ช่วงนั้น ภาพยนตร์โทรทัศน์เกาหลีมีราคาถูกที่สุด แต่มีคุณภาพการถ่ายทาสูง และมีวัฒนธรรมใกล้ เคียงกับคนเอเชีย ความสาเร็จของการเข้าสู่ตลาดคนดูชาวเอเชียมาจาก หลายองค์ประกอบด้วยกัน เนื้อเรื่องถูกใจคนดูชาวเอเชียเพราะเน้นความผูกพันในครอบครัว มิตรภาพ ความซื่อสัตย์คุณธรรม และรักแท้การดาเนินเรื่องใช้ตัวละครเป็นผู้นาเรื่อง นักแสดง แสดงได้เก่งและหน้าตาดีติดตามเรื่องได้ ง่าย Back วัฒนธรรม Next
  • 21. การเขียนบททาได้ดีเป็นการเล่าเรื่อง คุณภาพการถ่ายทาภาพยนตร์สูง มุมกล้องดีสถานที่ถ่าย ทาสวยงาม ชุดนักแสดงสวย ความยาวของเรื่องไม่ยืดเยื้อ เมื่อถึงตอนกลางเรื่องผู้ชมอยากดูต่อจน จบ ที่สาคัญคือเพลงประกอบภาพยนตร์ คล้อยตามอารมณ์ของผู้แสดง ซีรีส์เกาหลีเปิดประเทศเกาหลี เข้าสู่ใจคนดูทั่ว เอเชีย ได้สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ประเทศ สร้างความฝันและนาความบันเทิง มาสู่ผู้ชม จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าการท่องเที่ยวเกาหลีได้รับอานิสงค์จาก ความสาเร็จของอุตสาหกรรม ภาพยนตร์ วัฒนธรรม Back Next
  • 22. ส่งผลให้บริษัทข้ามชาติเกาหลีอื่นๆ เช่น Hyundai, Daewoo ตั้งหน่วยงานที่ดูแลด้านการสื่อสารโดยเฉพาะ ซึ่งเป็นการผนึก กาลังด้านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์กับความบันเทิง เป็นการดาเนินตามรอยของบริษัท Sony ของญี่ปุ่นที่รวบกิจการของ บริษัทถ่ายทาภาพยนตร์ Columbia ของสหรัฐอเมริกา ภาพยนตร์เกาหลีที่ฉายในโรงภาพยนตร์ ประสบความสาเร็จ ได้เพราะมีเงินทุนสูงและมีความเชี่ยวชาญในการสร้างภาพยนตร์สามารถเติบโต ได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 ต่อปีมีผู้ชมกว่า 100 ล้านคน วัฒนธรรม Back
  • 23. กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยวในปีค.ศ. 2003 การท่องเที่ยวทั่วเอเชียประสบภาวะวิกฤต เนื่องจากการ ระบาดของโรค ซารส์นักท่องเที่ยวลดลงไปเป็นจานวนมาก องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว เกาหลี (KNTO) จึงได้ ประกาศให้ปีค.ศ. 2004 เป็นปีแห่งกระแสเกาหลี“The Year of Korean Wave” เพื่อเร่งเพิ่มจานวนนัก ท่องเที่ยวเข้าประเทศ โดย เจาะกลุ่มตลาดจีน ญี่ปุ่น และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผนการตลาดจะเน้น ทางสื่อบันเทิง ต่างๆ ทั้งทางภาพยนตร์และดนตรีนาภาพวีดีโอคลิปบางฉากของภาพยนตร์มาใช้เป็น สื่อ โฆษณา แต่งตั้งดาราเป็นทูตทางการท่องเที่ยว เช่น Kim Hee-Sun, Choi Ji- woo ลงโฆษณาในสื่อ สิ่งพิมพ์และโทรทัศน์กว่า 4,000 ครั้ง รวมทั้งสื่อออนไลน์จัดทา รายการนาเที่ยวสถานที่ถ่ายทาภาพ ยนตร์จัดงานคอนเสิร์ต และ สนับสนุนแฟนคลับดารา นักร้องเกาหลีใช้งบประมาณกว่า 100 ล้าน เหรียญสหรัฐ ได้รับนักท่องเที่ยวในปีค.ศ. 2004 จานวน 5,818,138 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.4 ในเว็บไซต์ขององค์การ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเกาหลีจะเสนอรายการนาเที่ยวด้วยตัวเองไป ยังสถานที่ถ่ายทา ภาพยนตร์กว่า 20 เรื่อง Back Next
  • 24. อาทิเรื่อง Daejunggum ใช้ฉากพระราชวัง Changdeokgung ในกรุงโซล ซึ่งเป็นมรดกโลกขององค์การ UNESCO และ เกาะเจจูยังมีรายการอาหารเกาหลีแบบ Daejunggum ให้ลิ้มลอง ไปตัดเสื้อที่ ร้านตัดเสื้อแบบฮันบก เรื่อง Winter Sonata ฉากส่วนใหญ่จะอยู่ที่เกาะ Namiseom ไม่ไกลจากกรุงโซล และยังแนะนาให้ไปร้านกาแฟ Winter Sonata Café ที่ขายของที่ ระลึกของภาพยนตร์เรื่องนี้โดยเฉพาะองค์การส่งเสริมการ ท่องเที่ยวหลายประเทศที่ตั้งอยู่ในประเทศเกาหลีได้ใช้ดาราหรือนัก ร้องของประเทศตนมา สร้างกระแสให้คนเกาหลีมาเที่ยว เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน บางประเทศลงทุนจานวน หลายล้านบาท เพื่อสนับสนุนให้บริษัทภาพยนตร์เกาหลีมาถ่ายทาในประเทศตนเช่น ฟิลิปปินส์ภาพ ยนตร์ เกาหลีหลายเรื่องได้รับการสนับสนุนจากสานักงานททท.ประจากรุงโซล ในงบประมาณที่ไม่ มาก นักใช้ฉากหลายฉากใน ประเทศไทย อาทิFull House – ใช้ฉากภูเก็ต, Princess Hours Time – ใช้ฉากชะ อา เพชรบุรีสมุทรสงคราม กรุงเทพฯลฯ, Between Dog and Wolf –ใช้ฉากกรุงเทพฯ เป็น Back กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว Next
  • 25. กระแสต้านเกาหลีเริ่มมีให้เห็นบ้างแล้ว รัฐบาลจีนและรัฐบาลญี่ปุ่นจากัด จานวนนาเข้าภาพยนตร์เกาหลีขณะนี้กระแสเกาหลีเริ่มแผ่วลงในสองประเทศ แต่ยังมา แรงในแถบเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้กระแสเกาหลีน่าจะเหมือนกระแสน้าขึ้น และน้าลง หลายท่านคงจาได้ว่าเมื่อประมาณสามสิบปีก่อน กระแสญี่ปุ่นเคยเข้ามาในประเทศ ไทยแล้วก็เคลื่อนหายไป ในอนาคตกระแสเกาหลีอาจจะต้องเปลี่ยน เป็นกระแสลูกผสม เพื่อให้ได้รับการยอมรับมากขึ้นในเอเชีย เช่น กระแสเกาหลี-ญี่ปุ่น-ไทย ทีมงาน ถ่าย ทาภาพยนตร์เป็นเกาหลีแต่ดารานักแสดงเป็นญี่ปุ่น ฉากภาพยนตร์ในประเทศไทย คง ไม่นานเกิน รอ กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว Back
  • 26. กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี เรื่องของอานาจมีความสาคัญในการเมืองระหว่างประเทศอย่างไรนั้น ดูได้จากการที่ ข่าวความเคลื่อนไหวของประเทศมหาอานาจมักได้รับความสนใจมากที่สุด เรามักจะสนใจ นโยบายของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ จีน รัสเซีย เป็นต้น คาแถลงการณ์ของบุคคลสาคัญ ในประเทศมหาอานาจ นโยบายของรัฐบาล การซ้อมรบ เหล่านี้ อานาจที่รู้จักหรือคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี คือ อานาจกระด้าง (Hard power) หมายถึง การใช้กาลังทางทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ในการบังคับข่มขู่ หรือกดดัน ผู้อื่นให้ปฏิบัติตามความต้องการของตน แต่เมื่อโลกเปลี่ยนไป ผู้คนมีการศึกษามากขึ้น สามารถสื่อสารกันมากขึ้น อานาจกระด้างแบบนี้นับวันจะไม่ได้รับการยอมรับและหมด ความชอบธรรมลงเรื่อยๆ ผู้คนมีแนวโน้มที่ต้องการผู้นาที่ใช้ อานาจละมุน (soft power) มากขึ้น ซึ่งหมายถึงความสามารถที่จะได้มาในสิ่งที่ต้องการ โดยการชักจูงโน้ม น้าว และดึงดูดใจให้คนอื่นคล้อยตามความต้องการของเรา Back Next
  • 27. การที่ประเทศสหรัฐอเมริกาสามารถคงไว้ซึ่งการเป็นประเทศมหาอานาจได้มีการ ปรับใช้นโยบายการสร้างสมดุลแห่งอานาจ โดยการใช้อานาจสองประเภทที่แตกต่างกัน คือ อานาจกระด้าง เช่น การใช้กาลังทางทหาร อาวุธ ยุทโธปกรณ์ในการยึดบ่อน้ามันจากอิรัก และ การปราบปรามประเทศมุสลิม นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในอานาจ ละมุน (soft power) คือ การโน้มน้าว จูงใจ และดึงดูดใจให้เกิดความร่วมมือหรือ กระทาตามอย่างยินยอมพร้อมใน ไม่ว่าจะเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และในบริบท ทางด้านวัฒนธรรม เช่น สื่อบันเทิงอย่างภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด บริโภคนิยม การดาเนินวิถีชีวิต แบบชาวอเมริกัน เป็นต้น Back Next กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
  • 28. สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่เปิดเสรีทางด้านความคิด ประชาชนจึงมี สิทธิรับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้เต็มที่ ด้วยเหตุผลที่ประชากรของประเทศมีระดับ การศึกษาที่สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจได้อย่างเสรี รัฐจึงสร้างแบบแผนและ ค่านิยมการบริโภคสินค้าโดยใช้ผ่านยุทธศาสตร์ด้านข่าวสาร สื่อสารมวลชน หนังสือ นิตยสาร ภาพยนตร์ ทีวีซีรีส์ แฟชั่น การให้ทุนการศึกษา เป็นต้น กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี Back Next
  • 29. หลายประเทศจึงหันมาให้ความสาคัญกับอานาจละมุน (soft power) มากขึ้น โดยเฉพาะในบริบททางด้านวัฒนธรรม การติดต่อสื่อสาร บันเทิง บริโภคนิยม การ ดาเนินวิถีชีวิตช่วงทศวรรษที่ 19 ญี่ปุ่นเริ่มเข้ามามีบทบาทการเป็นมหาอานาจของภูมิภาค เอเชียตะวันออก มีความทันสมัยทัดเทียมประเทศตะวันตก เช่น การเป็นมหาอานาจทาง เศรษฐกิจ แม้แต่ประเทศจีนนอกจากจะมุ่งเน้นการขยายศักยภาพทางเศรษฐกิจ การค้า การ ต่างประเทศ และการทหารแล้ว ล่าสุดจีนยังเริ่มหันมาให้ความสาคัญกับอานาจละมุน โดยการ เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิก การตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ภาคภาษาอังกฤษ "Global Times" เพื่อเป็นสื่อกลางสาคัญในการเปิดโอกาสให้ผู้อ่านนานาชาติได้เข้าใจประเทศจีน มากขึ้น และเป็นการเผยแพร่ความคิดเห็นของชาวจีนต่อประชาคมโลกด้วย นานาประเทศที่ เป็นผู้นาต่างก็ใช้อานาจละมุนในแต่ละรูปแบบที่แตกต่างกัน Back Next กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
  • 30. เกาหลีใต้ซึ่งกาลังไล่ตามประเทศพัฒนาแล้วอย่างญี่ปุ่น และจีน จึงไม่เพียงแต่ พยายามพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ให้แข็งแกร่งเท่านั้น แต่ยังหันมาเร่งฟื้นฟูและพัฒนา โครงสร้างและสถาบันทางวัฒนธรรมให้แข็งแกร่งด้วย โดยจุดเปลี่ยนที่สาคัญเกิดขึ้นหลังวิกฤต เศรษฐกิจในปี ค.ศ. 1997 ซึ่งหลายประเทศในเอเชียที่ประสบปัญหาดังกล่าวล้วนต้อง ปรับตัวรับกับทุนโลกาภิวัตน์ที่ถาโถมเข้ามา และการใช้ทุนวัฒนธรรมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของ รัฐบาลเกาหลีใต้ที่เกิดขึ้นเพื่อรับมือกับวิกฤตดังกล่าว การเล็งเห็นประโยชน์ในการพัฒนาให้ วัฒนธรรมเกาหลีกลายเป็น สินค้าชนิดหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับประเทศ โดยนาเนื้อหาสาระความ เป็นเกาหลี (korea content) สอดแทรกลงไปในสื่อบันเทิงต่างๆ ทั้งภาพยนตร์ เกม ศิลปะ ดนตรี สิ่งเหล่านี้เป็นการแสดงถึงความพยายามของรัฐบาลเกาหลีทาให้วัฒนธรรม เกาหลีหลายประเภท อาทิ ภาพยนตร์ วัฒนธรรมการแต่งกาย การกิน ได้รับการยอมรับในสังคม ต่างประเทศ กลายเป็นตัวเลือกใหม่ของการบริโภควัฒนธรรมภายนอกผ่านกลยุทธ์การสื่อสาร Back Next กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
  • 31. นอกจากรายได้จากการส่งออกสินค้าวัฒนธรรมเกาหลี (k-pop) แล้ว ตอนนี้ กระแสวัฒนธรรมเกาหลีได้รับความนิยมไปทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกทั้งในจีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย รวมถึงไทย โดยมีทีวีซีรีส์ ภาพยนตร์ และ เพลงเป็นสื่อทางการตลาดในการเผยแพร่วัฒนธรรม มีนักร้องและนักแสดงเป็นทูตทาง วัฒนธรรมคนสาคัญ เหล่านี้ล้วนแต่มีส่วนช่วยเปิดประตูทางการค้าในประเทศต่างๆ ที่กระแส วัฒนธรรมเกาหลี (k-pop) ได้เข้าไปนาทางไว้ก่อนแล้ว จากนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าสินค้าใดของ เกาหลีที่จะใช้โอกาสนี้ให้เกิดประโยชน์ Back กรณีศึกษาการส่งออกวัฒนธรรมเกาหลี
  • 32. อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย กระแสเกาหลี (Korean Wave) หรือที่รู้จักกันอีกนามหนึ่งว่า “Hallyu” (ฮัลริล) เป็นศัพท์ที่ตั้งขึ้นโดยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีนในช่วงปลายทศวรรษ 1990 หมายความถึงกระแสความนิยมในวัฒนธรรมเกาหลีที่ได้รับความแพร่หลายไปทั่ว ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับว่าเป็นปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม ข้ามชาติที่ข้ามพ้นอิทธิพลทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของชาติมหาอานาจ เช่น สหรัฐอเมริกา ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ในโลกยุคดิจิตัล กระแสนี้ก่อตัวมากว่าสิบปีและมี แนวโน้มว่ายังแรงอยู่จุดเริ่มต้นของกระแสความนิยมในวัฒนธรรมเกาหลี เกิดขึ้นจากการเปิด เสรีทางด้านสื่อ (media) ขยายกว้างครอบคลุมทั่วทั้งเอเชียในปี ค.ศ. 1997เมื่อ สถานีโทรทัศน์แห่งชาติจีน (CCTV) ออกอากาศละครโทรทัศน์ แนวดราม่าในชื่อเรื่อง What is love all about ? Back Next
  • 33. ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้ชมเป็นอย่างดี และเพื่อสนองความต้องการของผู้ติดตาม ชม ได้จัดฉายออกอากาศซ้าในปี ค.ศ. 1998 จนได้รับการบันทึกว่าเป็นรายการที่ได้รับ ความนิยมอย่างยิ่งทั้งในจีนและไต้หวัน นับจากนั้นเป็นต้นมาละครโทรทัศน์เกาหลีได้ยึดครอง ช่วงเวลาแพร่ภาพตามช่องสถานีโทรทัศน์ในประเทศต่างๆ ไปทั่วเอเชีย เช่น ฮ่องกง ไต้หวัน สิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย อีกทั้งการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในเอเชียเมื่อปี ค.ศ. 1997 นาไปสู่สภาวะที่ผู้ซื้อรายการโทรทัศน์ในเอเชียสมัครใจซื้อรายการโทรทัศน์จาก เกาหลีที่ราคาถูกกว่ารายการโทรทัศน์จากญี่ปุ่น และจากฮ่องกง อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย NextBack
  • 34. ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990 สถานีโทรทัศน์ดนตรีในภูมิภาคแชแนลวี (Channel V) นาเสนอดนตรีแนวป๊ อบของเกาหลี ส่งผลให้เกิดกลุ่มแฟนเพลงผู้นิยม K-Pop ในเอเชียโดยเฉพาะกลุ่มนักร้องชายภายใต้ชื่อ H.O.T. ได้รับความนิยมในจีน และไต้หวัน ส่งผลให้ยอดขายอัลบั้มพุ่งสูงตามไปด้วย หลังจากกลุ่ม H.O.T. ประสบ ความสาเร็จอย่างล้นหลามก็มีศิลปินคนอื่นๆ ตามมา ในปี ค.ศ. 2002 เพลงของศิลปิน หญิงโบอา (BoA) สามารถขึ้นถึงอันดับ 1 ใน ชาร์ตเพลงของญี่ปุ่น Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 35. สิ่งนี้สามารถปูทางเปิดตลาดดนตรีในญี่ปุ่นได้อย่างแข็งแกร่ง ปัจจุบันดารานักร้อง เกาหลีมักจะไปแสดงคอนเสิร์ตที่ปักกิ่ง ฮ่องกง และโตเกียว และมีการอัดเพลงในอัลบั้มเป็น ภาษาท้องถิ่นก่อนที่จะเปิดตัวอัลบั้มในประเทศนั้นๆภาพยนตร์เกาหลีเรื่องแรกที่ประสบ ความสาเร็จในประเทศญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงคโปร์ และไต้หวัน ได้แก่ เรื่อง Shiri (ชิริ เด็ดหัวใจ ยอดจารชน) ซึ่งเปิดฉายในปี ค.ศ. 1999 เป็นภาพยนตร์แนวแอ็คชั่นเกี่ยวกับสายลับ ชาวเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ที่ทารายได้สูง นับได้ว่าเป็นก้าวแรกที่เกาหลีเริ่มมีอิทธิพลใน วงการบันเทิงของเอเชียและสร้างกระแสเกาหลี หลังจากนั้นภาพยนตร์เกาหลีจึงได้รับความ นิยมอย่างต่อเนื่องไปทั่วเอเชีย อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย Back Next
  • 36. ท่ามกลางสภาพดังกล่าว ดารานักร้องเกาหลีได้กลายมาเป็นทูตทางวัฒนธรรม ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ กรณีของ อาน แจ อุค (Ahn Jae Wook) ที่ได้รับความ นิมอย่างล้นหลามในจีน หลักฐานที่เป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงการได้รับความนิยมคือ ได้รับการ โหวตให้นักร้องยอดนิยมที่ชื่นชอบในอันดับต้นๆ เมื่อปี ค.ศ. 2001 และยังได้รับความ นิยมแซงหน้าดาราดังฮอลลีวู้ด ดารานักร้องเกาหลีนับว่ามีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมการบริโภค อื่นๆ ซึ่งรวมไปถึงอาหาร แฟชั่น การแต่งหน้า จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะเห็นวันรุ่นเอเชียต่างพากัน แต่งตัว หรือแต่งหน้าทาผมเลียนแบบดารานักร้องที่ตนชื่นชอบ หรือแม้แต่การทาศัลยกรรม นักแสดงหญิงจากเกาหลี เช่น ลี ยอง เอ (Lee Young Ae), ซอง เฮ เคียว (Song Hye Kyo), คิม แต ฮี (Kim Tae Hee) ได้รับความนิยม ชมชอบถึงขนาดมีรายงานว่าในไต้หวันและจีนยึดเอาเค้ารูปหน้าตาของดาราเหล่านี้เป็น ต้นแบบในการผ่าตัดแต่งหน้าเพื่อความงามของตนเอง Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 37. กระแสของวัฒนธรรมเกาหลีที่แพร่หลายไปทั่วเอเชียนั้น ต้องย้อนไปในสมัยที่ เกาหลีประสบวิกฤตเศรษฐกิจในปี ค.ศ.1997 อันส่งผลให้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เกาหลีต้องมาร่วมกันพิจารณาหาอัตลักษณ์ของตน เพื่อปรับยุทธศาสตร์การทาการค้า และ การเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าของตน อันจะส่งผลในการสร้างศักยภาพทางการแข่งขันกับ นานาชาติต่อไป ทั้งนี้ด้วยความง่อนแง่นของนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม ที่พยายามส่งออก สินค้าหนักอย่างรถยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้ า จากบริษัทผูกขาดขนาดใหญ่ของเกาหลี ที่เรียกว่า "แชโบ" (Cheabol) ในช่วงก่อนวิกฤติเศรษฐกิจนั้น ทาให้เกาหลีต้องหันมาใช้ทุนทาง วัฒนธรรม เพื่อประกอบสร้างอานาจที่ไม่แข็งกร้าว หรือ อานาจละมุน (soft power) ของตนในเวทีการค้าโลก เพื่อผลิตสินค้าทางวัฒนธรรม ในการกล่อมเกลาให้ผู้บริโภคคล้อย ตาม และนิยมชมชอบกับการบริโภคสินค้าจากเกาหลี จนทาให้กระแสเกาหลีมาแรงอย่างยาก ที่จะปฏิเสธได้ Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 38. ประเทศเกาหลีมีนโยบายในการสร้างความก้าวหน้าของประเทศตนโดย ใช้วิธีการส่งออก วัฒนธรรม ผ่านทีวีซีรีส์ ภาพยนตร์และเพลงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างกลยุทธ์คู่ขนาน คือ เพื่อหวัง ผลด้านยอดขายสินค้า และได้รับการซึมซับวัฒนธรรมของเกาหลีเข้าไปด้วยและจากกลยุทธ์การส่งออก วัฒนธรรมนี้ทาให้หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยได้เกิดความรู้สึกคุ้นเคยต่อสื่อของเกาหลี วัฒนธรรม ดาราเกาหลี เป็นอย่างดี ซึ่งนับว่าเป็นความตั้งใจของรัฐบาลเกาหลีที่จะใช้วัฒนธรรม โดยเฉพาะ วัฒนธรรมสมัยใหม่ที่เรียกว่า Pop culture เข้ามาใช้โดยทาให้ผู้รับชมสื่อเหล่านี้จนเกิดการซึม ซับผ่านเนื้อหาของสื่อ จึงไม่เป็นเรื่องที่น่าสงสัยเลยว่าเหตุใด เรื่องราวเกี่ยวกับเกาหลีได้กลายเป็นที่ สนใจมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา นอกจากนั้นการสร้างกระแสวัฒนธรรมเกาหลีก็เพื่อทาให้เกาหลีเป็นที่สนใจอย่างต่อเนื่อง ในระดับโลก ตลอดจนการกลายเป็นที่ยอมรับ ทั้งนี้เพื่อให้เกาหลีกลายเป็นประเทศชั้นนาและเป็น ศูนย์กลางของโลกประเทศหนึ่ง และเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 39. ปัจจัยภายในประการที่หนึ่ง: นโยบายผลักดันของรัฐบาล รัฐบาลเป็นผู้วางนโยบาย สนับสนุน และส่งเสริมเงินทุนในกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมมาโดย ตลอด ภายใต้กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว กล่าวคือ ในช่วงปี ค.ศ. 1945-1980 รัฐบาลเกาหลีให้ความสาคัญกับการค้นหา ตัวตนหรืออัตลักษณ์ของชาติและมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นการสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาอีก ครั้งและปกป้ องตนเองจากวัฒนธรรมอเมริกัน โดยมีรัฐบาลเป็นผู้ควบคุมและออกกฎระเบียบ การวางรากฐานทางด้านกฎหมาย กองทุน สถาบันการศึกษา ในช่วงปี ค.ศ. 1981-1992 รัฐบาลได้เพิ่มการส่งเสริมทางด้านศิลปะทั้ง แบบดั้งเดิมและร่วมสมัย ได้วางแนวนโยบายแผนหลักทางวัฒนธรรม 10 ปี โดยเน้น วัฒนธรรมเพื่อปวงชนทั้งมวล Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 40. ในช่วงปี ค.ศ. 1993 รัฐบาลได้เปลี่ยนบทบาทใหม่เป็นการส่งเสริมมากกว่า การควบคุม และเห็นว่าวัฒนธรรมมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ เร่งพัฒนาวัฒนธรรมท้องถิ่น เสริมสร้างสวัสดิการเพื่อทานุบารุงวัฒนธรรม และส่งเสริมแนวคิดวัฒนธรรมคือสินค้าทางการ ท่องเที่ยว ในช่วงปี ค.ศ. 1994 มีการนาเสนอรายงานต่อประธานาธิบดี แนะนาให้ รัฐบาลส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตสื่อชนิดต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ ดนตรี และอื่นๆ ให้เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของประเทศ ทั้งนี้ได้อ้างถึงรายได้จากการฉายภาพยนตร์ฮอล ลีวู้ด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือภาพยนตร์เรื่อง Jurassic Park ที่มีมูลค่าสูง จากการจาหน่ายในตลาดต่างประเทศเทียบได้กับการขายรถยนต์ ฮุนได (Hundai) ถึง 1.5 ล้านคัน การเปิดเผยครั้งนี้ก่อให้เกิดความตื่นตัวกับแนวคิดในการมองวัฒนธรรมเป็น อุตสาหกรรมชนิดหนึ่ง ภายหลังจากรายงานดังกล่าว รัฐบาลเกาหลีได้จัดตั้งสานักงาน อุตสาหกรรมวัฒนธรรมขึ้นภายใต้กระทรวงวัฒนธรรมและกีฬา Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 41. อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย ในช่วงปี ค.ศ. 1995 มีการออกกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมภาพยนตร์ เป็น การพยายามสร้างอุตสาหกรรมวัฒนธรรมตามแบบระบบสื่ออเมริกัน ภายใต้แนวทาง “เรียนรู้ จากฮอลลีวู้ด” ในช่วงปี ค.ศ. 1997 กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวได้กาหนด ทิศทางสาหรับนโยบายทางวัฒนธรรม ในรายงานที่เรียกว่า วิสัยทัศน์ทางวัฒนธรรม 2000 (Cultural Vision 2000) ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจใน เอเชีย โดยกาหนดหลักเกณฑ์ด้านวัฒนธรรม ดังนี้ Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 42. 1. สนับสนุนการศึกษา เพื่อผลิตเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปวัฒนธรรม 2. ขยายการสนับสนุนงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ช่วยส่งเสริมความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ 3. อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม 4. ส่งเสริมอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม 5. พัฒนาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติที่จะไปสู่การรวมชาติ 6. สร้างความแข็งแกร่งให้กับการทูตเชิงวัฒนธรรม รัฐบาลเกาหลีใต้ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ในการพัฒนาให้วัฒนธรรมเกาหลีกลายเป็น สินค้าชนิดหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับประเทศ จึงมีแนวคิดในการจัดตั้งองค์การวัฒนธรรมและเนื้อหาสื่อ แห่งเกาหลี (Korea Culture and Content Agency–KOCCA) Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 43. ในช่วงปี ค.ศ. 1998 รัฐบาลเกาหลีได้ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้น โดยรวมเรียกว่าอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ประกอบด้วยอุตสาหกรรมย่อย อาทิ ภาพยนตร์ ละคร โทรทัศน์ เพลง เกม การออกแบบตัวการ์ตูน กระทรวงวัฒนธรรมได้วางนโยบายและจัดทา แผนปฏิบัติการ 5 ปี และแผน 10 ปี แผนนี้เรียกว่า “Korea 2010: Culture, Creativity and Content” เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับ อุตสาหกรรมวัฒนธรรมของเกาหลี โดยการส่งเสริมให้ภาครัฐและภาคเอกชน ลงทุนด้านการ จัดการศึกษาอุตสาหกรรมวัฒนธรรม Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 44. ในช่วงปี ค.ศ. 1999 รัฐบาลเกาหลีได้ออก พ.ร.บ. การส่งเสริม อุตสาหกรรมวัฒนธรรม ทาให้เกิดองค์กรมหาชนเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เช่น สถาบันส่งเสริมและพัฒนาเกม นอกจากนี้ยังมีศูนย์วิจัยทางวัฒนธรรม สถาบันการศึกษา เทคโนโลยีทางวัฒนธรรม ต่อมา ในช่วงปี ค.ศ. 2001 กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวจึง จัดตั้ง องค์การวัฒนธรรมและเนื้อหาสื่อแห่งเกาหลี (Korea Culture and Content Agency--KOCCA) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การถ่ายทอดเนื้อหาสาระ ความเป็นเกาหลี (Korea Content) ให้เผยแพร่ไปยังประเทศต่างๆ มากขึ้น Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 45. ปัจจัยภายในประการที่สอง: บุคลิกและนิสัยของคนเกาหลี นิสัยการทางานของคนเกาหลีเน้นการทางานหนัก เอาจริงเอาจังและอดออมเพื่ออนาคตที่ สดใส จากปรัชญานี้เองทาให้คนเกาหลีส่วนใหญ่นิยมส่งเสริมการทางานหนัก หนักเอาเบาสู้ ไม่ว่ากิจการใดที่ยากเย็นแสนเข็ญ หากคนเกาหลีได้ลงมือทาแล้วจะได้รับความสาเร็จเสมอ และบ่อยครั้งเป็นความสาเร็จที่ทาได้เกินเป้ าหมายที่ตั้งไว้แต่แรกเสียอีก จึงมีการเรียกจริยธรรม ในการทางานแบบนี้ว่า “จิตวิญญาณเราทาได้” (Can-do spirit) ซึ่งนักวิชาการ เกาหลีต่างอ้างว่า ปัจจัยด้านจริยธรรมในการทางานหนักนี้เองที่เป็นผลให้ประเทศเกาหลีได้รับ ความสาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจภายในระยะเวลาอันสั้น Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 46. การสานต่อนโยบายของรัฐบาล การทาให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้า นโยบายและ กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะพึ่งแต่การทางานของภาครัฐแต่เพียงฝ่ายเดียวไม่พอ จิตใต้สานึกที่มี ความเป็นนักสู้ ความขยัน ความมีวินัยในการทางาน และความต้องการในความก้าวหน้าของ ประชาชนก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยผลักดันให้นโยบายของรัฐประสบความสาเร็จ อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย Back Next
  • 47. ปัจจัยภายในประการที่สาม: เนื้อหาของสื่อ เนื้อหาของสื่อเป็นตัวสร้างความเป็นเอกลักษณ์ให้แก่ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ และดนตรีของเกาหลี ซึ่งทาให้กลุ่มผู้บริโภคหันมาสนใจในแนวที่แตกต่างไปจากเดิม ภาพยนตร์หรือละครเกาหลีสมัยใหม่จะ เน้นเรื่องราวของชีวิต การต่อสู่เพื่อความถูกต้องและจริยธรรม มีการถ่ายทอดความความสัมพันธ์อันดีที่ เหมาะสมระหว่างผู้คนซึ่งเป็นแนวคิดตะวันออกที่ได้รับอิทธิพลมาจากขงจื๊อ เช่น เรื่องสะดุดรักที่พักใจ (Full House) หรือ รักนี้ชั่วนิรันดร์ (Autumn in my Heart) เป็นต้น บาง เรื่องก็ทาให้เกิดความรู้สึกร่วมในทางสร้างสรรค์ การรักชาติ (Nationalism) และต้องการให้ เกิดการรวมชาติ เช่น เรื่อง คนแรกของหัวใจ คนสุดท้ายของชีวิต (The classic) เลือดเนื้อเพื่อ ฝันวันสิ้นสงคราม (TAEGUKGI) และ รักต่างมิติ (Ditto) ที่เต็มไปด้วยฉากของสงคราม ความเสียสละ หรือบางเรื่องมีความโรแมนติกที่เน้นความสวยงามของธรรมชาติ และส่งเสริมการ ท่องเที่ยวอย่าง เช่น เพลงรักในสายลมหนาว (Winter Love Song) รักหนึ่งยังลืมไม่ลง (One Find Spring Day) ห่มรักเธอด้วยใจฉัน (Christmas in August) เป็นต้น Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 48. ดนตรีเกาหลีมีการปรับตัวให้มีหน้าตาเป็น “เอเชีย” มากขึ้นแทนที่จะเป็นเกาหลี อย่างที่เคยเป็น เพื่อให้สอดคล้องกับรสนิยมของตลาดเอเชีย นัยหนึ่งต้องรู้ใจวัยรุ่นเอเชียและ เข้าถึงตลาดด้วยการใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการขายแบบเอเชียด้วย เช่น การให้ศิลปินนักร้อง เดินสายโปรโมทสินค้าบ่อยๆ และสร้างความใกล้ชิดกับผู้ฟังให้มากที่สุด Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 49. ปัจจัยภายนอกประการที่หนึ่ง: ความเป็นเอเชียด้วยกัน การถ่ายทอดวัฒนธรรมเกาหลีสู่ประเทศในแถบเอเชียเริ่มมีอิทธิพลต่อผู้บริโภคในแถบเอเชียที่ มีพฤติกรรมการบริโภควัฒนธรรมที่ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มคนเมือง ความสาเร็จส่วนหนึ่งมาจากความเป็นเอเชียด้วยกัน ทั้งในแง่ของมุมมอง การดาเนินชีวิต ทัศนคติ และวัฒนธรรมประเพณี ทาให้ผู้บริโภคสามารถเข้าใจและสามารถนามาเป็น แบบอย่างได้ ทาให้ง่ายต่อการซึมซับวัฒนธรรมใหม่ๆ ภายในภูมิภาคกันเอง Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 50. ปัจจัยภายนอกประการที่สอง: คุณธรรมในเอเชีย ประเทศเกาหลีได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิขงจื้อ ซึ่งเป็นรากวัฒนธรรมของจีนและญี่ปุ่น ภาพยนตร์หรือละครเกาหลีสมัยใหม่จะเน้นเรื่องราวของชีวิต การต่อสู่เพื่อความถูกต้องและ จริยธรรม มีการถ่ายทอดความความสัมพันธ์อันดีที่เหมาะสมระหว่างผู้คนซึ่งเป็นแนวคิด ตะวันออกที่ได้รับอิทธิพลมาจากขงจื๊อ เช่น เรื่องสะดุดรักที่พักใจ (Full House) หรือ รักนี้ชั่วนิรันดร์ (Autumn in my Heart) เป็นต้น ความรู้สึกเหล่านี้มาเติมเต็ม ความรู้สึกว่างของคนในยุควัตถุนิยม Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 51. ปัจจัยภายนอกประการที่สาม: ราคาต่าและมีคุณภาพสูง ซีรีส์เกาหลีมีราคาต่ากว่าเมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายของซีรีส์ญี่ปุ่น หรือซีรีส์จากประเทศอื่นๆ ซีรีส์เกาหลีเป็นทางเลือกที่ดีสาหรับสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นต้นทุนจะอยู่ระหว่าง 1000- 2000 USD ต่อ 1 ตอน ขึ้นอยู่กับประเทศที่นาเข้า ในหลายประเทศละครเกาหลีมี ราคาต่ากว่าต้นทุนของรายการโทรทัศน์ท้องถิ่น และยังสามารถรับประกันได้ว่าละครโทรทัศน์ที่ จะนาเข้าไปจะได้รับความนิยมจากผู้ชมในประเทศของตน นอกจากนี้ซีรีส์เกาหลียังมีคุณภาพสูงเพราะมีการใช้เทคโนโลยีที่มีความทันสมัย ในช่วงปลาย ของศตวรรษ 1980 และช่วงต้นศตวรรษ 1990 อุตสาหกรรมภาพยนตร์และละคร โทรทัศน์เกาหลีมีการลงทุนทางด้านงบประมาณที่ค่อนข้างสูงและเพียบพร้อม ทาให้การผลิต ละครโทรทัศน์เกาลีมีคุณภาพ และนาไปสู่ความได้เปรียบทางการแข่งขันในตลาดโลกด้วย Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 52. ปัจจัยภายนอกประการที่สี่: ความสัมพันธ์ทางการเมือง ญี่ปุ่นประเทศผู้นาในการผลิตสินค้าวัฒนธรรมป๊ อปในเอเชียและในโลก เมื่อความสัมพันธ์ ทางการเมืองระหว่างจีนและญี่ปุ่นเริ่มลดลงในช่วงปี 1990 จีนเริ่มปฏิเสธและไม่ยอมรับ วัฒนธรรมของญี่ปุ่น นอกจากนี้วัฒนธรรมของญี่ปุ่นมีความเป็นตะวันตกมากเกินไป ทาให้ ผู้ชมชาวจีนเริ่มไม่มีความรู้สึกผูกพัน และมีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อสินค้าวัฒนธรรมของญี่ปุ่น ทาให้ วัฒนธรรมเกาหลีเริ่มเข้ามาแทนที่วัฒนธรรมของญี่ปุ่น ซึ่งเข้ามาในสถานที่ที่เหมาะสมและ ช่วงเวลาที่เหมาะสม และถูกใจผู้ชมชาวจีนมากกว่าวัฒนธรรมของญี่ปุ่น Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 53. การเข้ามาของวัฒนธรรมเกาหลีในประเทศไทยเริ่มมาจากการแพร่ภาพของซีรีส์เรื่องลิขิต แห่งรัก ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ในปี ค.ศ. 2000 ซึ่งไม่ค่อยประสบความสาเร็จเท่าใดนัก แต่ก็ สร้างกลุ่มผู้ชมที่เป็นแฟนละครได้ระดับหนึ่ง หลังจากนั้นไม่นานก็ตามมาด้วยเรื่อง รักนี้ชั่วนิรันดร์ (Autumn in My Heart) ถือว่าเป็นละครเกาหลีที่เป็นจุดเริ่มต้นของกระแสความนิยม เกาหลี ซึ่งสร้างความประทับใจให้กับผู้ชมละครเป็นอย่างมาก โดยนามาออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ ไอทีวี ในช่วงปี ค.ศ. 2001 และนามาออกอากาศอีกครั้งในปี ค.ศ. 2003 ด้วย องค์ประกอบของละครหลายอย่างที่ลงตัว จนทาให้ละครเรื่องนี้มีเรตติ้งสูง จนทีวีคู่แข่งต้องนาเอาซีรีส์ เรื่องอื่นๆ มาออกอากาศ และเพื่อยืนยันถึงกระแสละครโทรทัศน์เกาหลีที่ออกอากาศในประเทศไทย อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ในช่วงปี ค.ศ. 2006 ซีรีส์ที่ได้รับกระแสตอบรับอย่างมากในทุกเพศ ทุกวัย เรื่องแดจังกึม จอมนางแห่งวังหลวง (Daejanggum) ที่ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 ได้สร้างชื่อเสียงให้แก่ดารานา และสร้างกระแสการรับประทานอาหารเกาหลีขึ้น ในสังคมไทย Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 54. ทางด้านดนตรีแม้ว่าบริษัทโซนี่และวอร์เนอร์นาเพลงเกาหลีเข้ามาจาหน่าย แต่ก็ไม่ แพร่หลายมากนัก จนกระทั่งบริษัทเพลงยักษ์ใหญ่อย่างแกรมมี่เริ่มนาผลงานของวงนักร้อง หญิง Baby V.O.X มาจาหน่ายเมื่อปี ค.ศ. 2002 ยอดจาหน่ายซีดีสามหมื่น แผ่นทาให้รู้ว่าแนวเพลงป็อปแดนซ์ใสๆ ของ Baby V.O.X. นั้นถูกใจวัยรุ่นไทยที่ ขณะนั้นยังไม่มีวงนักร้องหญิงวัยรุ่นในตลาด ปี ค.ศ. 2004 นับว่าเป็นปีที่เพลงเกาหลี หรือ K-pop เริ่มเข้ามามีชื่อเสียงในประเทศไทย จากที่บริษัทอาร์เอสนาเอาผลงานของ เซเว่น (Se7en) เข้ามา และบริษัทแกรมมี่นาเอาผลงานของเรน (Rain) เข้ามา แข่งขัน แกรมมี่ถือเป็นค่ายเพลงในเมืองไทยรายแรกที่สนใจเปิดตลาดเพลงเกาหลีในไทยอย่าง จริงจัง โดยเริ่มจากการนาผลงานเพลงจากศิลปินเกาหลีอย่าง Baby V.O.X. และเรน (Rain) เข้ามาสู่เมืองไทย จนถึงวันนี้แกรมมี่ถือเป็นผู้บริหารสิทธิ์ศิลปินเกาหลีรายใหญ่ ที่ มีศิลปินในสังกัดทั้ง Wonder Girl, T.V.X.Q, Super Junior, Girl Generation, BIGBANG ฯลฯ Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 55. ศิลปินเกาหลีเป็นที่รู้จักในประเทศไทยมากมาย เช่น Super Junior, Wonder Girl, T.V.X.Q, 2PM, Girl Generation เป็นต้น การ สร้างความสาเร็จของศิลปินเกาหลีในเมืองไทย นอกจากผลงานเพลงที่มีคุณภาพแล้ว ในด้าน การสนับสนุนที่จะสร้างให้ศิลปินเป็นที่รู้จักมากขึ้นก็เป็นสิ่งสาคัญ เช่น การมีผลงานภาพยนตร์ หรือละคร การได้รับความร่วมมือจากศิลปินเดินทางเข้ามาจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ การ แสดงคอนเสิร์ต หรือการเป็นพรีเซ็นเตอร์ ก็จะทาให้ศิลปินได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 56. การท่องเที่ยวนับว่าเป็นผลพลอยได้จากละครโทรทัศน์หรือซีรีส์เกาหลีไม่มากก็น้อย เนื่องจากการนาเสนอภาพสวยๆ ในละคร ที่กระตุ้นจินตนาการให้กับผู้ชมชาวไทย ในการสร้าง มายาคติแบบเกาหลี (Korean dream) โดยมีบริษัททัวร์คอยนาเสนอโปรแกรม การท่องเที่ยวให้บรรดาแฟนละครด้วยการจัดทัวร์พาชมสถานที่ถ่ายทา ที่เรียกว่า ทัวร์ตามรอย ละครหรือ Drama Tour เปรียบเสมือนการสร้างประสบการณ์ผ่านสื่อ ด้วยกลยุทธ์ ของการส่งออกทุนทางวัฒนธรรม เพื่อกระตุ้นต่อมความอยาก ให้ผู้ชมและคนเหล่านั้นได้ลอง มาสัมผัสประสบการณ์จริงๆ ในประเทศเกาหลี Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 57. ฉากและเนื้อเรื่องถือเป็นจุดเด่นของหนังและละครเกาหลีหลายๆ เรื่อง โดยทิวทัศน์ อันงดงามที่ปรากฏในฉากหนังและละครเกาหลีเกือบทุกเรื่องทาให้นักท่องเที่ยวอยากเดินทาง เพื่อสัมผัสบรรยากาศ และเมื่อได้เนื้อเรื่องโรแมนติกผูกเข้าไปกับสถานที่เหล่านั้น จึงทาให้ผู้ชม หลายคนมุ่งมั่นจะไปเยือนให้ได้ ไม่ว่าจะเป็นเกาะนามิ ฉากรักของพระเอกนางเอกเรื่อง เพลง รักในสายลมหนาว (Winter Love Song) หรือจะเป็นบ้านบนเกาะเจจู ในเรื่อง สะดุดรักที่พักใจ (Full House) นักท่องเที่ยวหลายคนยอมข้ามน้าข้ามทะเลและค่า เข้าชมเพื่อไปดูฉากภายในบ้านของคู่พระนางเรื่องนี้และ "แดจังกึม ธีมปาร์ค" โรงถ่ายละคร เรื่องดังเรื่องแดจังกึมที่ทาให้กิมจิกับชุดฮันบกกลายเป็นที่ได้รับความนิยมขึ้นมาอย่างมาก Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย
  • 58. การยอมรับในวัฒนธรรมเกาหลีของคนไทย ประเทศไทย รัฐบาลไทยไม่ควบคุมการนาเข้าสื่อจากต่างชาติ ทาให้สื่อบันเทิงต่างชาติหลั่งไหล เข้ามาในประเทศ และนิสัยของคนไทยค่อนข้างเปิดกว้างต่อการรับวัฒนธรรมใหม่ๆ จึงง่ายต่อ การยอมรับกระแสวัฒนธรรมที่เข้ามาใหม่ๆ นอกจากนี้ความเป็นเอเชียด้วยกัน ทาให้ง่ายต่อ การซึมซับวัฒนธรรมใหม่ๆ ภายในภูมิภาคกันเอง Back Next อิทธิพลของวัฒนธรรมเกาหลีในเอเชีย