SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
รายงานโครงงานสารวจ
เรื่อง สารวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี
ในปีการศึกษา 2557
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
จัดทาโดย
1.นางสาวกาญจนา ถึกจรูญ เลขที่ 21
2.นางสาวรุจิรา ตั้งมั่น เลขที่ 24
3.นางสาวจิดาภา บารุงวงศ์ เลขที่ 29
4.นางสาวสิริลักษณ์ วุฒิมงคลกุล เลขที่ 32
5.นางสาวสุธิดา มากมี เลขที่ 33
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
วิชา IS2การสื่อสารและการนาเสนอ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2557
ก
บทคัดย่อ
จากการทาโครงงานสารวจในครั้งนี้ทาให้ได้รู้จานวนการใช้รถของนักเรียน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีประจาปีการศึกษา 2557
และทราบถึงจานวนรถที่มีอยู่ในแต่ละครัวเรือนว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใด
รวมถึงทาให้คนหันมาลดการใช้รถยนต์มากยิ่งขึ้น
โดยกลุ่มของเรานั้นได้ทาการสอบถามนักเรียนประจาปีการศึกษา 2557ในทุกระดับชั้นโดยเลือกทาจานวน
100 คนในเรื่องของจานวนรถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์ในแต่ละบ้านของนักเรียนที่ถูกเลือก
โดยผลจากการศึกษาพบว่าใน 100 คนมีรถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์ทุกคน
ซึ่งทาให้จานวนการใช้รถในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินั้นเพิ่มขึ้น
แต่ด้วยการที่มีนักเรียนบางส่วนใช้การโดยสารมาโรงเรียนโดยใช้รถรับส่งจึงทาให้การจราจรในโรงเรียนติด
ขัดน้อยลง
จึงอยากฝากให้ทุกคนใช้รถใช้ถนนอย่างระมัดระวังและหันมาลดจานวนรถที่เพิ่มขึ้นบนถนนนอกจากจะสา
มารถลดอันตรายแล้วยังทาให้โลกของเราน่าอยู่ขึ้นจากการลดมลพิษที่เกิดจากควันของรถ
ข
คานา
รายงานนี้เป็นรายงานที่ผู้จัดทาได้ช่วยกันคิดค้นหาวิธีแก้ปัญหาด้วยการจัดทาโครงงาน"รถล้มโลก"และได้ลง
มือสืบค้นข้อมูล ข่าวสารต่างๆ
และเมื่อพบปัญหาได้ช่วยกันคิดและแก้ไขปัญหาโดยการจัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา
โครงงานนี้จึงได้รับความรู้จากการปฏิบัติจริง เป็นการฝึกการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองจากข้อมูลที่มีอยู่
คณะผู้จัดทา
ค
กิตติกรรมประกาศ
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณคุณครูที่ปรึกษาคุณครูทรงศักดิ์
โพธิ์เอี่ยมที่กรุณาให้คาแนะนาในการจัดทาโครงงาน
โดยเฉพาะรูปแบบของรายงานโครงงานที่ช่วยจนถูกต้องและขอบคุณคุณแม่ของนางสาว
จิดาภา บารุงวงศ์ ที่เอื้อเฟื่อสถานที่ในการจัดทาสรุปข้อมูลในการทางาน
และเพื่อนร่วมโครงงานนี้ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการช่วยทาโครงงานนี้จนสาเร็จไปได้ด้วยดี
กาญจนา ถึกจรูญ
รุจิรา ตั้งมั่น
จิดาภา บารุงวงศ์
สิริลักษณ์ วุฒิมงคลกุล
สุธิดา มากมี
ง
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
คานา ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 ปรัชญาเศรษกิจพเพียง 1
1.3 จุดประสงค์ 2
1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ 3
1.5 ขอบเขตของการศึกษา 3
1.6 คานิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษาโครงงาน 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4-11
บทที่ 3 สถานที่และระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า 12-13
3.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ
3.2 วิธีการสารวจ
บทที่ 4 ผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุป
อภิปรายผล
จ
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
ข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
1
บทที่1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จ า ก ก า ร ที่ ก ลุ่ ม ข้ า พ เ จ้ า ไ ด้ ศึ ก ษ า ว่ า ณ
ปัจจุบันนี้ จานวนรถยนต์ทั้ งในประเทศไทยและโลกมีการเพิ่มจานวนขึ้ นตลอด
จ น ท า ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า ร ถ ติ ด ต า ม ตั ว เ มื อ ง ใ ห ญ่ ๆ
ห รื อมี อุ บั ติ เห ตุ เกิ ด ขึ้ น อย่าง ก ว้าง ข ว า งจ น เกิ ด เป็ น ปั ญ ห าร ะ ดั บ ช า ติ
ที่เป็นเป็นหาแก้ไม่ตกทั้งในประเทศไทย และ ระดับโลก
จาก การที่ กลุ่ม ของข้ าพเจ้าได้รวบ รวม แ ละ สังเก ต ข้อมูล จึ งพ บ ว่า
ปัญหารถที่มีมากกว่าจานวนประชากร อาจมีสาเหตุมาจาก ระบบขนส่ง ของไทยนั้ น
ยังมีไม่เพียงพอต่อการใช้หรือยังครอบคลุมไม่ทั่วทาให้ประชากรสนใจที่จะซื้อรถยนต์รถมอเตอ
ร์ไซด์มาขับเอง เพื่อความสะดวกสบาย และรถยนต์ ตอนนี้ก็มีการเสนอขายที่น่าสนใจมาก
ทาให้ผู้ตนไปซื้อรถยนต์กันเป็นส่วนใหญ่ซึ่งทาให้เกิดมลพิษ ปัญหาทางการจราจรต่างๆ ตามมา
ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้ามีความเห็นให้ทุกคนตะหนักถึงที่โลกของเรานั้นมีรถมากเกินไป
ทาให้เกิดเป็นปัญหาการเดินทางหรือการขนส่งและมลพิษที่เกิดขึ้นจากรถยนต์ รถมอเตอร์ไซด์
ให้หันมาใช้จักรยาน หรือ รถโดยสารขึ้นขนส่งสาธารณะ ให้มากยิ่งขึ้น
1.2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในโครงงาน
“สารวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา2557”
1.2.1ประกอบด้วย3ห่วง
ห่วงที่1:พอประมาณ หมายถึง ถ้าเราต้องการรถเราต้องไม่ไปกู้ยืมเงินให้เป็นหนี้ใคร
ใช้เงินที่เราสะสมมาให้คุ้ม ไม่อยากได้รถที่แพงจนเกิน 1ครอบครัวมีรถยนต์คันเดียวก็พอ
ห่วงที่2: มีเหตุผล หมายถึง รถยนต์หรือรถมอเตอร์ไซด์ที่เรากาลังคิดว่าจะซื้อ
ว่ามันคุ้มค่ากับเงินจานวนมากที่เราจ่ายไปรึเปล่า
2
ห่วงที่ 3: มีภู มิคุ้ มกัน ที่ ดี ในตั วเอง ห ม ายถึ ง เมื่อเราซื้ อรถม าแล้ วนั้ น
เร า ต้ อ ง เต รี ย ม ตั ว รั บ กั บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ที่ ต้ อ ง ต า ม ม า ทั้ ง ค่ า น้ า มั น
ที่ในประเทศตอนนี้ก็มีระดับที่สูงขึ้นไปเรื่อยๆ และค่าซ่อมบารุงรถ ถ้าเราดูแลรถไม่ดี
เราอาจจะใช้รถไม่คุ้มกับเงินที่ซื้อมา
1.2.2เงื่อนไข
•เงื่อนไขความรู้: (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
- การนาความรู้ในเรื่องของรถต่างๆมาทาเป็นแบบสอบถาม
-
มีความรอบคอบในการทาแบบสอบถามให้คอบคลุมกับเรื่องรถและระมัดระวังในการทาผิดพลาด
•เงื่อนไขคุณธรรม : (ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญาขยันอดทน แบ่งปัน)
- ทาโครงงานด้วยความซื่อสัตย์ไม่ลอกเลียนแบบใคร
ใช้ความรู้และสติปัญญาของคนภายในกลุ่ม
- แบ่งงานกันทาโดยทุกคนต้องมีความขยันและอดทนเพื่อให้งานออกมาสมบูรณ์
1.3 จุดประสงค์การทาโครงงาน
1.3.1.ท าให้ ได้ รู้จาน วน ก ารใช้รถ ข อง นั ก เรี ยน โรงเรี ยน เฉ ลิ ม พ ระ เกี ยร ติ
สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีปีการศึกษา 2557
1.3.2.ท า ใ ห้ ท ร า บ ถึ ง จ า น ว น ร ถ ที่ มี อ ยู่ ใ น แ ต่ ล ะ ค รั ว เ รื อ น
ว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใดจึงทาให้ปริมาณรถนั้นเพิ่มมากขึ้น
3
1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ
1.4.1.ทาให้ได้รู้จานวนการใช้รถของนักเรียน โรงเรียนเฉลิ มพระเกียรติ
สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีปีการศึกษา 2557
1.4.2.ทาให้ทราบถึงจานวนรถที่มีอยู่ในแต่ละครัวเรือน ว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใด
1.4.3.ทาให้คนหันมาลดการใช้รถยนต์มากยิ่งขึ้น
1.5 ขอบเขตของการศึกษา
ก ลุ่ ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า ส า ร ว จ ภ า ย ใ น “ก ลุ่ ม นั ก เ รี ย น
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีปีการศึกษา 2557.”
1.6 คานิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษาโครงงาน
“รถ หมายถึง รถที่วิ่งตามท้องถนน ทั้งรถยนต์ และรถจักรยานยนต์”
4
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. คานิยามศัพท์
รถยนต์ (อังกฤษ: car , automobile)
หมายถึงยานพาหนะทางบกที่ขับเคลื่อนที่ด้วยพลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งและถ่ายทอดลงสู่ล้อเพื่อพาผู้ขับ
ผู้โดยสาร หรือสิ่งของ ไปยังจุดหมายปลายทาง
ปัจจุบันรถยนต์โดยส่วนมากได้รับการออกแบบอย่างซับซ้อนในทางวิศวกรรมและหลากหลายประเภท
ตามความเหมาะสมของการใช้งาน หรือใช้สาหรับงานเฉพาะกิจทั้งนี้เว้นแต่รถไฟ
2. เกี่ยวกับบุคคลที่ให้คานิยาม
นายบัญชา ชุมชัยเวทย์ ได้กล่าวเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของรถยนต์ในประเทศไทยไว้ว่า
“ผมมั่นใจได้ว่าช่วงนี้มีเรื่องราวที่พูดถึงกันบ่อยคือ
ทุกวันนี้วันหยุดรถติดกว่าวันทางานซะอีกผมพูดถึงเรื่องนี้เพราะว่ามีรถยนต์มาเกี่ยวข้องกับชีวิตทุกคนในช่ว
งนี้ทาให้ผมนึกถึงภาพฝูงรถยนต์กว่า 8 แสนคันที่กาลังได้ประโยชน์จากมาตรการรถยนต์คันแรกในชีวิต
จานวนรถยนต์ทั้งหมดกว่า 8 แสนคันก็จะออกมาวิ่งบนถนนครบกันซะที นั่นหมายความว่ารอยต่อของปี
2555 ถึง 2556 กลายเป็นปีที่น่าทึ่ง และก้าวกระโดดของคนในวงการผลิตและขายรถยนต์
ปี2556ที่ผ่านไปนับว่าเป็นอีกปีประวัติศาสตร์สาหรับอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยโดยเป็นปีที่อุตสาหก
รรมรถยนต์ไทยประสบความสาเร็จอย่างยิ่งใหญ่ด้วยตัวเลขทั้งยอดขายในประเทศ
ยอดการส่งออกและยอดการผลิตที่นอกจากจะสูงเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้ทั้งหมดแล้วยังสามารถทาสถิติตัวเล
ขที่สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ด้วยตัวเลขยอดขายในประเทศที่สูงเกินกว่า 1.4 ล้านคัน ยอดการส่งออกสูงกว่า
1 ล้านคัน และยอดการผลิตที่สูงถึงระดับ 2.4
ล้านคันโดยเฉพาะในส่วนของยอดการผลิตที่ทาให้ไทยสามารถขยับตาแหน่งขึ้นเป็นประเทศผู้ผลิตรถยนต์ที่
ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 9 หรืออันดับ 10 ของโลกได้
5
แน่นอนว่าแรงส่งสาคัญนอกจากการฟื้นคืนกาลังการผลิตสู่ระดับปกติได้อย่างรวดเร็วของค่ายรถหลั
งเกิดปัญหาน้าท่วมในปลายปี 2554
และการเปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการตลาดได้ดีแล้วโครงการรถยนต์คันแรก
ทาให้อุตสาหกรรมยานยนต์มีการเติบโตมากโดยเฉพาะครึ่งปีหลังที่เป็นช่วงการขายประกอบกับความพร้อม
ของผู้ผลิตรถยนต์ในตอนนี้กลับมา 100% หากมองเฉพาะยอดขายในประเทศไทยจะมีมากกว่า 1.1 ถึง 1.2
ล้านคันสุดเกินยอดแล้ว
ข ณ ะ ที่ แ น ว โ น้ ม ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์ ใ น ปี 2557
นั้นตามปกติการเติบโตแต่ละปีอย่างน้อยจะอยู่ที่ 10% โดยคาดว่าบริษัทผู้ผลิตรถยนต์จะมีรถรุ่นใหม่ๆ
อ อ ก ม า เ ปิ ด ตั ว อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง น อ ก จ า ก นี้
ก็อาจจะมีบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ใหม่ๆเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นโดยในช่วงที่ผ่านมาผู้ผลิตจากเกาหลีก็
ให้ความสนใจบ้านเราพอสมควรซึ่งหากมีผู้ผลิตเพิ่มขึ้นก็จะส่งผลดีต่อภาพรวมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมย
านยนต์ไทยเนื่องจากผู้บริโภคจะมีทางเลือกเพิ่มมากขึ้น
โดยเฉพาะในส่วนของตลาดส่งออกที่การโยกกาลังการผลิตกลับมาเพื่อส่งออกมากขึ้นน่าจะทาให้ก
ารส่งออกยังคงขยายตัวได้ดี และทาสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ได้ต่อที่ระดับ 1,230,000 ถึง 1,290,000 คัน
ขยายตัวขั้นต่า20% ถึง 26% ซึ่งจะไปช่วยชดเชยตลาดในประเทศที่อาจจะหดตัวลงเล็กน้อยขั้นต่าก็ 2% ถึง
7% ห รื อ คิ ด เ ป็ น ย อ ด ข า ย ป ร ะ ม า ณ 1,340,000 ถึ ง 1,410,000
คันหลังจากที่ผลของโครงการรถยนต์คันแรกทาให้ความต้องการรถยนต์ในอนาคตถูกดึงไปใช้แล้วล่วงหน้า
ตั้งแต่ปี ที่แล้วและส่งผลให้ยอดขายในช่วงครึ่งหลังมีโอกาสหดตัวลงจากช่วงเดียวกันในปี 2555
ซึ่งการส่งออกรถยนต์ที่เข้าไปช่วยช ดเช ยการห ดตัวดังกล่าวทาให้การผลิตรถยน ต์ปี 2556
นี้มีโอกาสทาสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ได้เช่นเดียวกันที่ตัวเลขระหว่าง 2,500,000 ถึง 2,600,000 คัน
หรือขยายตัวตั้งแต่ 5% ไปถึง 9%
สุดท้ายนี้ คนใช้รถบนท้องถนนก็เตรียมเผื่อเวลากันให้มากขึ้นกว่าในช่วง 4–5ปีที่ผ่านมานะครับ
เพ ราะ ไม่ว่าจะ เป็ น ถน น ก็ตัดให ม่ไม่ทัน ไม่ว่าจะเป็ น ส่วน ต่อขยายรถไฟ ฟ้ าทั้งบน ดิน
และใต้ดิน ก็ต้องร้องเพลงรอจนถึงวัน ที่เปิ ดใช้บริการจริงๆ ก็ต้องมีไม่น้อยกว่า 3–4 ปี เห็น มั้ย
เศรษฐกิจไทยโตดีจริงๆ!”
ขณะที่ผศ.ดร.สิ ริแข พงษ์สวัสดิ์ คณบดีและทีมงาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้กล่าวเกี่ยวกับปัญหาทางมลพิษที่ได้จากการมีรถยนต์ที่มากขึ้นว่า
6
“จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในประเทศ 20 ปีที่ผ่านมามีสภาวะดีขึ้นแต่ปัญหาฝุ่ นขนาดเล็ก
และก๊าซโอโซนจากการเผาไหม้ของรถยนต์ยังมีมากขึ้นแทนสารตะกั่ว
ประเด็นปัญหาของฝุ่นเกิดจากการวิ่งของรถในปริมาณมากส่วนก๊าซโอโซนถือเป็นประเด็นที่แก้ไข
ยาก มาก แล ะ พ บ ป ริ ม าณ เกิน ค่าม าตรฐ าน บ่อย ครั้ ง ที่ สุ ด เมื่อ เที ยบ กับ มล พิ ษ อื่ น ๆ
โดยก๊าซโอโซนเกิดจากปฏิกิริยาระหว่างสารอินทรีย์ระเหยง่ายกับออกไซด์ของไนโตรเจนจากไอเสียของรถ
ย น ต์
มีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้ก๊าซโอโซนมีมากในช่วงเที่ยงและบ่ายซึ่งจะถูกกระแสลมพัดพาไปสะสม
ในบริเวณต่าง ๆจะเห็นได้ว่ามีปัจจัยหลายอย่างยากต่อการควบคุมก๊าซนี้ให้อยู่ในระดับมาตรฐาน
ถึ ง ภ า ค รั ฐ จ ะ อ อ ก ม า ต ร ฐ า น ใ ห้ ใ ช้ น้ า มั น ยู โ ร 4
เพื่อลดมลพิษแต่ก็มั่นใจไม่ได้ว่ามลพิษทางอากาศจากรถยนต์จะดีขึ้นเนื่องจากปริมาณรถมีมากเมื่อปล่อยออ
ก ม าม าก ๆ ม า ต ร ก า ร ต่า ง ๆ ที่ ว า ง ไ ว้อ า จ ไ ม่ไ ด้ ช่ ว ย อ ะ ไ ร ซึ่ ง ก๊ า ซ โ อ โ ซ น
มี ผ ล ต่ อ ม นุ ษ ย์ ท า ใ ห้ ร ะ ค า ย เ คื อ ง ต า ผิ ว ห นั ง บ ริ เ ว ณ ค อ
และ อาจมีอาการไอป วดหัวร่วมด้วยน อกจากนี้ ยังทาใ ห้ พืช การเกษตรออกผลผลิตต่า
สะสมอาหารได้น้อยลงติดโรคและแมลงง่าย ตลอดจนทนต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศได้น้อยทั้งนี้
ฝุ่นและก๊าซโอโซนมีผลต่อระบบทางเดินหายใจผิดปกติ โดยเฉพาะในเด็กคนชรา และผู้เป็นโรคภูมิแพ้
ห อ บ หื ด ซึ่ ง มี ป ริ ม า ณ ม า ก ขึ้ น จ า ก ผ ล ก ร ะ ท บ นี้ อี ก ด้ ว ย
จากผลสารวจของกรมควบคุมมลพิษพบว่าในกรุงเทพฯพื้นที่ซึ่งมีการจราจรติดขัดมีผลให้ฝุ่นละอองขนาดเล็
ก แ ล ะ โ อ โ ซ น มี ม า ก คื อ เ ข ต พ ญ า ไ ท วัง ท อ ง ห ล า ง ห้ ว ย ข ว า ง บ า ง ก ะ ปิ
บางนาซึ่งมีปริมาณเบนซินที่เป็นสารก่อมะเร็งเกินมาตรฐานอันเป็นผลร้ายต่อมนุษย์
ย่าน ป ริ มณ ฑ ล ที่ มีค่าอ าก าศ เกิน ม าต ร ฐ าน คื อ ส มุท รป ร าก าร ป ทุ มธ า นี
สมุทรสาครนนทบุรีส่วนในต่างจังหวัดจะมีมากในบริเวณหัวเมืองใหญ่และสถานที่ท่องเที่ยวต่าง
ๆและจากการประเมินมีข้อสังเกตว่าในพื้นที่จังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากเป็นปัจจัยหนึ่งของปริมาณ
มลพิษทางอากาศที่เกินมาตรฐานเพราะบางครั้งของเสียที่เกิดในอากาศส่วนหนึ่งมาจากกระบวนการผลิตของ
โรงงานและผสมรวมกับมลพิษจากรถยนต์ที่มีการขนส่งทาให้ประชากรบริเวณนั้นมีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาเ
กี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
และสิ่งที่ต้องคานึงอย่างมากในคนที่อาศัยอยู่ใกล้การจราจรแออัดและระบายอากาศไม่สะดวกอย่างเ
ช่น พื้น ที่ใต้สถานี รถไฟ ฟ้ าควรติดตั้ง เครื่ อง ระบายอากาศใ น ห้องพัก ฝุ่ น และก๊าซต่าง
7
ๆ มี ข น า ด เ ล็ ก ส า ม า ร ถ ผ่ า น เ ข้ า ไ ป ไ ด้
ไม่ควรปิดห้องมิดชิดโดยไม่มีการระบายอากาศเพราะมีการเปรียบเทียบว่าคนที่อยู่ภายนอกอาจอันตรายน้อย
กว่าคนที่อยู่ในห้องพักโดยไม่มีการระบายอากาศในสถานที่ซึ่งมีมลพิษมากที่สาคัญรัฐควรมีมาตรการให้ควา
มรู้ประชาชนเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศที่เพิ่มจากปัญหารถยนต์ที่มากขึ้นซึ่งประชาชนที่แพ้หรือต้องทางานบ
ริ เ ว ณ ที่ มี ม ล พิ ษ น า น ๆ ค ว ร ใ ส่ ห น้ า ก า ก ป้ อ ง กั น ข น า ด 10 ไ ม ค ร อ น
ตามร้านอุปกรณ์แพทย์เพราะที่ผ่านมาหน้ากากที่ขายตามร้านสะดวกซื้อยังมีขนาดบางทาให้ป้ องกันไม่ได้อย่
างจริงจัง
อนาคตปัญหามลพิษจากรถยนต์ในประเทศคงยังมีอยู่เนื่องจากปริมาณรถที่มากขึ้นและการแก้ปัญห
าที่ มีอ ยู่ก็ยัง ไม่จริ ง จัง ท า ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ส่ วน ใ ห ญ่ ต้อ ง ท น อ ยู่กับ ม ล พิ ษ เดิ ม ๆ
สะสมความเครียดจนทาให้ประชากรมีสภาพร่างกายที่อ่อนแอหากภาครัฐไม่ให้ความรู้และการแก้ไขอย่างเป็
น รู ป ธ ร ร ม
มลพิษอากาศจากรถยนต์อาจยังไม่เห็นปัญหาในเร็ววันแต่สารพิษต่าง ๆค่อย ๆสะสมอยู่ในร่างกาย
ซึ่งใครก็ไม่อยากรอวันนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเปลี่ยนทัศนคติคนไทยให้หันมาใช้ระบบขนส่งมวลชนมาก
ขึ้น และผลักดันให้ภาครัฐทุกภาคส่วนมองเห็นปัญหาที่ตามมาอย่างรอบด้าน”
ภาพที่1 ปัญหารถติด
ที่มา http://www.dailynews.co.th/Content/Article/11241
8
สภาพรถยนต์กับปัญหามลพิษทางอากาศ
ใน สิ งคโปร์ รถที่มีอายุใช้ง าน น าน กว่า 7 ปี ต้องขออนุ ญ าติใช้ง าน บน ท้อง ถน น
แบบปีต่อปีในรูปของ COE(Certificateof Entertainmnet) และมีค่าใช้จ่ายสูงมาก ส่วนมากจะเป็นรถโบราณ
มู ล ค่ า สู ง จึ ง จ ะ เ ข้ า ข่ า ย COE
เพ ระ ยิ่ง รถมีอายุการใช้งาน มากเท่าใ ดประ สิ ท ธิ ภ าพ ใ น การใช้งาน จึง ล ดลง ไป ด้วย
สิงคโปร์เป็นประเทศที่ดูแลสภาพแวดล้อมที่ดีมากจึงทาให้ต้องเก็บค่าบริการแก่รถยนต์ที่มีอายุการใช้งานมา
กกว่า7ปี
ในประเทศไทย ตราบเท่าที่สามารถตรวจสภาพผ่าน ก็สามารถต่อทะเบียน (ป้ ายวงกลม)
และใช้งานบนท้องถนนได้ ดังนั้น เราจึงเห็นรถอายุเกิน 10 ปี วิ่งอยู่บนถนน กัน ส่วนข้อเสียก็คือ
ร ถ ที่ มิ ไ ด้ มี ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก็ จ ะ มี โ อ ก า ส เ สี ย ก ล า ง ถ น น
และกีดขวางการจราจรในชั่วโมงเร่งด่วน โดยเฉพาะในฤดูฝน
อายุเฉลี่ยของยวดยาน
ขึ้นอยู่กับสภาพการใช้งานและการบารุงรักษาแต่ส่วนใหญ่ก็จะอยู่ในระยะ 200,000กม.หรือ5-6 ปี
แต่รถที่บารุงรักษาตามมาตรฐานของผู้ผลิต และใช้งานไม่หนัก ก็จะมีสภาพสมบูรณ์และอาจจะ อยู่ได้เกิน 10
ปี
3. แนวทางแก้ไขที่ประชาชนชาวไทยช่วยกันแก้ปัญหา
3.1 ปลูกต้นไม้ให้มากขึ้นเพื่อช่วยดูดซับมลพิษในอากาศ
โดยเฉพาะไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่สามารถปลูกไว้ในบ้านจะช่วยได้
3.2
ทางเดียวกันควรไปด้วยกันนอกจากจะช่วยลดก๊าซพิษในอากาศแล้วยังช่วยประหยัดพลังงานอีกด้วย
3.3 ดูแลรักษาเครื่องยนต์ให้อยู่สภาพดีเพื่อลดการปล่อยควันพิษ
9
3.4 ส่งเสริมการใช้รถประจาทาง รถไฟ หรือระบบขนส่งมวลชนประเภทต่าง
ๆโดยรัฐต้องเข้ามาจัดความเป็นระเบียบในแง่ การตรงต่อเวลาสะดวกในการเดินทางและบริการ
3.5 ขับรถยนต์ให้น้อยลงเมื่อต้องไปทางานใกล้บ้าน
3.6 รัฐควรมีการเคร่งครัดในการตรวจสอบควันดา และกวดขันอย่างต่อเนื่อง
4. ปัญหาเรื่องมลพิษจากรถยนต์และการแก้ปัญหาสังคมของโลก
4.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ใ น อ ดี ต ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไ ม่ รุ น แ ร ง นั ก
เ พ ร า ะ ป ร ะ ช า ก ร โ ล ก มี น้ อ ย แ ล ะ ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ อ ย่ า ง ง่ า ย ๆ
การ ท าล ายร ะ บ บ นิ เว ศ ก ารท าล าย ระ บ บ ส มดุ ล ข อ ง ธ รร มช าติ จึ ง มีน้ อ ย แ ต่เมื่อ
ประชากรโลกมากขึ้นความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์มีมากขึ้น มนุษย์ได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
เ ช่ น เ ค รื่ อ ง จั ก ร เ ค รื่ อ ง ย น ต์
เพื่อความสะดวกสบายรวมทั้งการผลิตสารบางชนิดเพื่อการเกษตรอุตสาหกรรมการกระทาของมนุษย์ได้ไป
ท า ล า ย ร ะ บ บ นิ เ ว ศ
ทาลายความสมดุลของธรรมชาติโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษได้เพิ่มมากขึ้นทุกทีจนเป็
นอัน ตรายต่อมนุษย์ ปัจจุบันปั ญห าสิ่ งแวดล้อมได้กลายเป็ นปั ญห าร่วมกัน ของมนุ ษยช าติ
ลมฟ้ าอากาศที่กาลังเปลี่ยนแปลงย่อมชี้ให้เห็นผลกระทบจากระบบนิเวศดิน ป่าไม้ทุ่งหญ้าแหล่งน้า ฯลฯ
สิ่งเหล่านี้ล้วนพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทาให้เกิดวงจรต่าง ๆ เช่น วงจรโซ่แห่งอาหาร (Food Chains)
มีค วาม ส มดุ ล ไ ด้สั ด ส่ วน แ ล ะ มีผ ล ต่อ ค วา มเป็ น อ ยู่ข อ ง มนุ ษ ย์ ห าก ร ะ บ บ ต่า ง
ๆถูกทาลายความสมดุลก็จะเสียไปนั่นหมายถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ก็จะต้องเปลี่ยนไปในทางเลวร้ายยิ่งขึ้น
4.1.1 สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
ก า ร ท า ล า ย ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ส า คั ญ คื อ
การตัดไม้ทาลายป่าอันเป็นผลมาจากความต้องการขยายที่ทากินขยายที่อยู่อาศัยและเพื่อการนาไม้ไปใช้ประโ
ย ช น์ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต แ ล ะ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ เ ชิ ง พ า ณิ ช ย์
10
ทาให้เกิดการตัดไม้ทาลายป่ ามากขึ้นทุกทีทั้งที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งไม่น่าเป็ นห่วงมากนัก
แ ต่ที่ อั น ต ร า ย ม า ก คื อ ก า ร ตั ด ไ ม้ ท า ล า ย ป่ า ไ ม่ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลั ก วิ ช า ก า ร
โดยไม่สามารถควบคุมได้ซึ่ งมีมากใน ประ เทศด้อยพัฒน า ดังเช่น ในทวีปเอเชีย แอฟริกา
แ ล ะ ล ะ ติ น อ เ ม ริ ก า ตั ว อ ย่ า ง ที่ เ ห็ น ไ ด้ ชั ด เ จ น คื อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ใ น อ ดี ต เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ป่ า อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ เ ป็ น แ ห ล่ ง ต้ น น้ า ล า ธ า ร
เป็นแหล่งอาหารที่ไม่เพียงเพื่อการบริโภคภายในประเทศเท่านั้นยังเป็นอู่ข้าวอู่น้าส่งออกเลี้ยงประชากรโลกใ
นภูมิภาคอื่นด้วยปัจจุบันป่ าที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่ าสาละวิน ป่ าทุ่งใหญ่นเรศวร ป่ าเขาให ญ่
ป่าดงลานได้ถูกทาลายด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของมนุษย์และทั้งด้วยความเห็นแก่ได้ของขบวนการตัดไม้
ทาลายป่าทาให้แหล่งต้นน้าถูกทาลายแม่น้า ลาธารหลายสายเริ่มตื้นเขินส่งผลให้แหล่งอาหารลดน้อยลง
เ กิ ด ภ า ว ะ แ ห้ ง แ ล้ ง
ฝนฟ้ าเริ่มปรวนแปรการเกษตรเริ่มมีปัญหาทาให้การส่งออกผลิตผลทางการเกษตรไม่ขยายตัวนอกจากนั้นส
ภาพการซึมซับมลพิษทางอากาศก็ลดศักยภาพลงด้วยสภาพปัญหาดังกล่าวได้เกิดขึ้นในหลายประเทศ
น อกจากก ารตัดไม้ท าล ายป่ าแล้วปั ญ ห าการท าลายระ บบ นิ เวศ ก็เกิดขึ้ น ทั่วไป เช่น
ก าร ท า ล าย ส ภ าพ ป่ า ช า ยเล น ก าร ท าล าย ร ะ บ บ นิ เว ศ ใ น ท ะ เล แ ล ะ มห าส มุ ท ร
ตลอดจนการบุกรุกแหล่งน้าธรรมชาติ
4.1.2 การคิดประดิษฐ์และผลิตสิ่งที่ก่อมลพิษ
จากการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการผลิตของสังคมโลกยุคใหม่ทาให้เครื่องจักรเครื่องยนต์เข้ามามีบท
บาทมาก มีการนาสารสังเคราะห์ชนิดต่าง ๆเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตก่อให้เกิดมลพิษทั้งทางอากาศ
ทางน้า และในดินมากขึ้นทุกทีจนกระทั่งเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์และพืช
4.1.3 การขาดจิตสานึกของมนุษย์
ห รื ออาจเรี ยก ว่าเป็ น ความมักง่ายของ มนุ ษ ย์ที่ท าความส กป รกใ ห้ แก่ธรรมช าติ
เช่นทิ้งสิ่งของที่ย่อยสลายได้ยากลงในแม่น้า และพื้นดิน
11
4.2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ
4.2.1 ปัญหามลพิษทางอากาศ
อ า ก า ศ บ ริ สุ ท ธิ์ เ ป็ น สิ่ ง จ า เ ป็ น ข อ ง ม นุ ษ ย์ แ ต่ ใ น ปั จ จุ บั น นี้
ประช ากรห น าแน่น เกิดโรงงานอุตสาห กรรมมากขึ้น มียาน ยน ต์มากขึ้น ควัน ห มอก เขม่า
จึงมากขึ้น ด้วยกลายเป็ น พิษที่ทาลายสุ ขภาพ อน ามัยของประ ช ากรโลก สารพิ ษที่สาคัญ
มีซัลเฟอร์ไดออกไซด์คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ออกไซด์ ของไนโตรเจน
ส าร ไ ฮ โ ด ร ค า ร์ บ อ น ต่า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง อ นุ ภ าค บ า ง ช นิ ด แ ล ะ ไ อ ข อ ง ต ะ กั่ว ซึ่ ง
เป็นสารที่ทาอันตรายต่อมนุษย์สารบางชนิดอาจทาให้ทารกในครรภ์ผิดปกติได้อันตรายจะมากหรือน้อยขึ้นอ
ยู่กั บ ค ว า ม เ ข้ ม ข อ ง ก๊ า ซ ห รื อ ส า ร อั น ต ร า ย นั้ น อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก๊ า ซ พิ ษ
แ ล ะ ส า ร พิ ษ ที่ อ ยู่ ใ น อ า ก า ศ ไ ด้ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด อั น ต ร า ย แ ก่ ม นุ ษ ย์
และสัตว์ก๊าซบางชนิดทาให้ร่างกายอ่อนเพลียสุขภาพเสื่อมโทรมและหากสูดดมในปริมาณมากอาจถึงตายได้
บางชนิดทาลายเยื่อจมูกและหลอดลม ขัดขวางการรับออกซิเจนในเม็ดเลือดทาให้เป็น โรคปอดได้
ก๊ า ซ บ า ง ช นิ ด ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ร ะ ค า ย เ คื อ ง ต า
คันตามผิวหนังหรืออาจทาให้เกิดโรคมะเร็งได้อนุภาคในอากาศของสารหลายชนิดเป็นอันตรายต่อร่างกายม
นุ ษ ย์ เ ช่ น ก ร ด ก า ม ะ ถั น ป ริ ม า ณ เ พี ย ง 1 มิ ล ลิ ก รั ม ต่ อ อ า ก า ศ 1
ลู ก บ า ศ ก์ เม ต ร จ ะ ส า ม า ร ถ ท า ใ ห้ ร ะ บ บ ห า ย ใ จ ผิ ด ป ก ติ ไ ด้ ก ร ด อ า ร์ ซี นิ ก
และสารตะกั่วจากท่อไอเสียรถยนต์ก็ทาอันตรายต่อมนุษย์ ถ้ามนุษย์ได้รับติดต่อกันวันละ 8 ชั่วโมง
สั ป ด า ห์ ล ะ 5
วันจะสามารถทาลายสมองเกิดการเสื่อมสลายของเส้นโลหิตฝอยโรคสมองที่เกิดจากพิษสารตะกั่วทาให้เกิด
การตกเลือดในสมอง ปวดศีรษะจนอาจเป็ นอัมพาตได้ และพบว่ายังมีผลต่อความเสื่ อมของเซลล์
สืบพันธุ์ของมนุษย์ได้นอกจากนั้น สารตะกั่วยังเป็นอันตรายร้ายแรงต่อการเจริญเติบโตของเด็กอีกด้วย (
มนัสธัญญเกษตร และคณะ. 2542 :148 –149 )
สารที่มนุษย์เริ่มตระหนักในพิษภัยอีกชนิดหนึ่ง คือสารคลอโรฟลูโอคาร์บอน (Chlorofluocarbon)
หรือสาร CFCจะลอยขึ้น ไปทาลายก๊าซโอโซนในบรรยากาศทาให้เกิดช่องโหว่ที่แสงอัลตราไวโอเลต
( Ultra Violet) จ า ก ด ว ง อ า ทิ ต ย์ ส า ม า ร ถ ส่ อ ง ต ร ง ม า ยั ง ผิ ว โ ล ก ไ ด้ โ ด ย ต ร ง
ยิ่ ง มี ค วั น จ า ก โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ซึ่ ง มี ก๊ า ซ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์
เป็ น ส่ ว น ผ ส ม ส า คัญ ร่ว ม ด้ ว ย ก็จ ะ ท าใ ห้ ภ า ว ะ เรื อ น ก ร ะ จ ก รุ น แ ร ง ม าก ขึ้ น
จากการสารวจของนักวิจัยแห่งมหาวิทยาลัยอลาสกาพบว่าภูเขาน้าแข็งขนาดใหญ่ที่ชื่อว่า ”กรีนแลนด์ ไอซ์”
12
กาลังละลายอย่างรวดเร็วเกินความคาดหมายความสูงของภูเขาน้าแข็งลดลงเฉลี่ยปีละหนึ่งฟุตครึ่งและเมื่อเป
รี ย บ เ ที ย บ กั บ ข้ อ มู ล ต้ น ท ศ ว ร ร ษ 1990
ทาให้ทีมนักสารวจต้องตะลึงเมื่อพบว่าภูเขาน้าแข็งละลายจนบางลงเป็นสองเท่าเมื่อเปรียบเทียบกับ 40 ปี
ก่อนสาเหตุที่ทาให้ภูเขาน้าแข็งในอลาสกาละลายอย่างรวดเร็วนี้น่าจะเป็นผลมาจากภาวะเรือนกระจกเนื่องจ
า ก ช า ว โ ล ก พ า กั น ป ล่ อ ย ก๊ า ซ พิ ษ ขึ้ น สู่ บ ร ร ย า ก า ศ ท า ใ ห้ โ ล ก ร้ อ น ขึ้ น
นอกจากนี้การนาเอาพลังงานนิวเคลียร์เข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟ้ าก็ทาให้เกิดโศกนาฏกรรม
ครั้งใหญ่มาแล้ว เมื่อมีการรั่วไหลของสารกัมมันตภาพ
5. บุคคลที่เป็นห่วงถึงปัญหารถล้นโลก
นาย บิลฟอร์ดประธานบริหารฟอร์ดมอเตอร์ คัมปะนี ได้แสดงวิสัยทัศน์ โดยการบรรยายพิเศษ
ในห้วข้ออนาคตของการเดินทางในเมืองใหญ่ (Urban Mobility)
น า ย
บิลฟอร์ดได้แสดงวิสัยทัศน์ของแนวโน้มการเดินทางในเมืองใหญ่ซึ่งจะครอบคลุมถึงประเด็นความกังวลเกี่ย
ว กั บ ก า ร ถื อ ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ย า น พ า ห น ะ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั่ ว โ ล ก
และ ความเป็ น ไปได้ขอ งการเกิดความ แออัดของ ยาน พ าห น ะ ทั่วโลก(Global Gridlock)
นายบิลฟอร์ดยังจะกล่าวถึงอนาคตของการเชื่อมต่อของระบบการขนส่ง (Ttransportation Ecosystem)
ซึ่ ง เป็ น ร ะ บ บ ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ อั จ ฉ ริ ย ะ ที่ เ ชื่ อ ม ก า ร เ ดิ น ท า ง รู ป แ บ บ ต่า ง ๆ
รวมถึงระบบสาธารณูปโภคเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อระบบการขนส่งที่ดีขึ้น
น า ย ฟ อ ร์ ด ก ล่ า ว ว่ า
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาอุตสาหกรรมยานยนต์มีพัฒนาการอย่างมากในการจัดการกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อ
มยาน ยน ต์ใน ปั จจุบัน จึง สะ อาดขึ้น กว่าเดิม ประห ยัดน้ ามัน มากขึ้ น สามารถนาวัสดุต่าง ๆ
กลับมาใช้ใหม่ได้และมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนยิ่งกว่าที่เคย
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี เ มื่ อ ม อ ง ถึ ง อ น า ค ต จ ะ เ ห็ น ว่ า
ความท้าทายที่ต้องเผชิญในอนาคตไม่ได้เกิดจากรถแต่ละคันเพียงอย่างเดียวเพราะปัจจุบันเรามีรถอยู่บนท้อง
ถ น น ป ร ะ ม า ณ 1,000
ล้านคันทั่วโลกการที่ประชากรมีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทาให้ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่าภายในปีค.ศ. 2020
ตัวเลขดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว และเมื่อมองไกลออกไปเชื่อว่าจะมีรถวิ่งอยู่บนท้องถนนทั่วโลกมากถึง
4,000 ล้านคันภายในปี 2050
"แ ม้ ว่ า ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม
จะมีรถที่ปล่อยมลภาวะเป็นศูนย์และใช้แหล่งพลังงานทดแทนได้แต่หากสังคมยังใช้ยานพาหนะกันโดยปรา
13
ศจากการไตร่ตรองแล้วจานวนรถที่มากเกินไปก็อาจก่อให้เกิดอุปสรรคร้ายแรงต่อพัฒนาการทั้งด้านเศรษฐกิ
จสังคมและสิ่งแวดล้อมซึ่งปัญหาดังกล่าวจะเกิดขึ้นมากที่สุดในเขตเมืองเพราะในอีกไม่กี่ทศวรรษข้างหน้า
เป็นที่คาดกันว่าประชากรโลก 75% จะย้ายมาอยู่อาศัยกันในเขตเมือง และจะมีเมืองขนาดใหญ่ถึง 50
แห่งที่มีจานวนประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 10ล้านคนจึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเกิดปรากฏการณ์
“การจราจรติดขัดทั่วโลก”ซึ่งหมายถึงสถานการณ์รถติดที่ไม่จบสิ้น ทาให้เสียทั้งเวลาสิ้นเปลืองพลังงาน
และทรัพยากรโลก "
น า ย ฟ อ ร์ ด ก ล่ า ว ว่ า ก รุ ง เ ท พ ฯ เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ที่ เ ด่ น ชั ด
ในเรื่องของความท้าทายที่เกิดจากการเติบโตและความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจเพราะประชากรในกรุงเทพ
ฯ เพิ่มจาน วน ขึ้น สองเท่าตัวใน ช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมาและ เมื่อเดือน กัน ยายน ที่ผ่าน มา
ประเทศไทยมีจานวนผู้เป็นเจ้าของรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลยอดขายรถยนต์ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นสูงก
ว่า 1 ล้าน คัน เป็ นครั้งแรกใน ประวัติศาสตร์ ซึ่งฟ อร์ดเชื่อว่า ใน สิ้น ปี นี้ ไทยจะมีการขายรถ
สูงทาสถิติเป็นประวัติการณ์ที่ 1.4 ล้านคัน"
บทที่3
วิธีดาเนินการ
สถานที่และระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า
โรงงานสารวจเรื่อง รถล้นโลก ได้ทาการสารวจที่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี” ปีการศึกษา 2557เด็กนักเรียนจานวน100คน
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ
1. แบบสอบถาม 100แผ่น 2. ปากกา
วิธีการสารวจ
1.ออกแบบ แบบสอบถามเกี่ยวกับจานวนรถที่แต่ละครอบครัวของนักเรียนจะมี
2.ระบุชนิดรถ คือ รถยนต์และจักรยานยนต์ ซึ่ง1คนอาจมีได้หลายคัน
3.เมื่อออกแบบ แบบสอบถามเสร็จก็เริ่มนาไปสารวจนักเรียนทุกระดับชั้นเป็นจานวน100 คน
4.เก็บรวบรวมแบบสอบถามของนักเรียน
5. สรุปจานวนรถแต่ละชนิดที่ได้ของนักเรียนทุกระดับชั้น
14
6.นาข้อมูลที่ได้แสดงออกมาเป็นตารางแสดงผล
รูปแบบของตารางสารวจ
แบบประเมินจานวนรถยนต์ที่มีในครอบครัวของนักเรียน
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สถานะ □นักเรียน
เพศ □ชาย □หญิง
ชั้นมัธยมศึกษา □ม.1 □ม.2 □ม.3 □ม.4 □ม.5 □ม.6
รถยนต์ จานวน/คัน
ประเภทของรถ 1 2 3 4
รถจักรยาน
รถจักรยานยนต์
15
รถยนต์
รถยนต์มากกว่า4ล้อ
อื่นๆ………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
บทที่4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
16
บทที่5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
17
เอกสารอ้างอิง
18
ภาคผนวก
19

More Related Content

Similar to Is2

แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
Sujinda Kultangwattana
 
Exchange for education
Exchange for educationExchange for education
Exchange for education
supercheque182
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
Kruthai Kidsdee
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
dreamee
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
นวพร คำแสนวงษ์
 

Similar to Is2 (20)

Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
D T A C
D T A CD T A C
D T A C
 
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
 
Exchange for education
Exchange for educationExchange for education
Exchange for education
 
Exchange for education
Exchange for educationExchange for education
Exchange for education
 
งานวิจัยรถยนต์โตโยต้าวีออส
งานวิจัยรถยนต์โตโยต้าวีออสงานวิจัยรถยนต์โตโยต้าวีออส
งานวิจัยรถยนต์โตโยต้าวีออส
 
Nat
NatNat
Nat
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digest
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digest
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Electronoc waste
Electronoc wasteElectronoc waste
Electronoc waste
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

Is2

  • 1. รายงานโครงงานสารวจ เรื่อง สารวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม จัดทาโดย 1.นางสาวกาญจนา ถึกจรูญ เลขที่ 21 2.นางสาวรุจิรา ตั้งมั่น เลขที่ 24 3.นางสาวจิดาภา บารุงวงศ์ เลขที่ 29 4.นางสาวสิริลักษณ์ วุฒิมงคลกุล เลขที่ 32 5.นางสาวสุธิดา มากมี เลขที่ 33 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา วิชา IS2การสื่อสารและการนาเสนอ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2557
  • 2. ก บทคัดย่อ จากการทาโครงงานสารวจในครั้งนี้ทาให้ได้รู้จานวนการใช้รถของนักเรียน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีประจาปีการศึกษา 2557 และทราบถึงจานวนรถที่มีอยู่ในแต่ละครัวเรือนว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใด รวมถึงทาให้คนหันมาลดการใช้รถยนต์มากยิ่งขึ้น โดยกลุ่มของเรานั้นได้ทาการสอบถามนักเรียนประจาปีการศึกษา 2557ในทุกระดับชั้นโดยเลือกทาจานวน 100 คนในเรื่องของจานวนรถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์ในแต่ละบ้านของนักเรียนที่ถูกเลือก โดยผลจากการศึกษาพบว่าใน 100 คนมีรถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์ทุกคน ซึ่งทาให้จานวนการใช้รถในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินั้นเพิ่มขึ้น แต่ด้วยการที่มีนักเรียนบางส่วนใช้การโดยสารมาโรงเรียนโดยใช้รถรับส่งจึงทาให้การจราจรในโรงเรียนติด ขัดน้อยลง จึงอยากฝากให้ทุกคนใช้รถใช้ถนนอย่างระมัดระวังและหันมาลดจานวนรถที่เพิ่มขึ้นบนถนนนอกจากจะสา มารถลดอันตรายแล้วยังทาให้โลกของเราน่าอยู่ขึ้นจากการลดมลพิษที่เกิดจากควันของรถ
  • 3. ข คานา รายงานนี้เป็นรายงานที่ผู้จัดทาได้ช่วยกันคิดค้นหาวิธีแก้ปัญหาด้วยการจัดทาโครงงาน"รถล้มโลก"และได้ลง มือสืบค้นข้อมูล ข่าวสารต่างๆ และเมื่อพบปัญหาได้ช่วยกันคิดและแก้ไขปัญหาโดยการจัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา โครงงานนี้จึงได้รับความรู้จากการปฏิบัติจริง เป็นการฝึกการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองจากข้อมูลที่มีอยู่ คณะผู้จัดทา
  • 4. ค กิตติกรรมประกาศ คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณคุณครูที่ปรึกษาคุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยมที่กรุณาให้คาแนะนาในการจัดทาโครงงาน โดยเฉพาะรูปแบบของรายงานโครงงานที่ช่วยจนถูกต้องและขอบคุณคุณแม่ของนางสาว จิดาภา บารุงวงศ์ ที่เอื้อเฟื่อสถานที่ในการจัดทาสรุปข้อมูลในการทางาน และเพื่อนร่วมโครงงานนี้ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการช่วยทาโครงงานนี้จนสาเร็จไปได้ด้วยดี กาญจนา ถึกจรูญ รุจิรา ตั้งมั่น จิดาภา บารุงวงศ์ สิริลักษณ์ วุฒิมงคลกุล สุธิดา มากมี
  • 5. ง สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก คานา ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1 1.2 ปรัชญาเศรษกิจพเพียง 1 1.3 จุดประสงค์ 2 1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ 3 1.5 ขอบเขตของการศึกษา 3 1.6 คานิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษาโครงงาน 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4-11 บทที่ 3 สถานที่และระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า 12-13 3.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ 3.2 วิธีการสารวจ บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล
  • 7. 1 บทที่1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน จ า ก ก า ร ที่ ก ลุ่ ม ข้ า พ เ จ้ า ไ ด้ ศึ ก ษ า ว่ า ณ ปัจจุบันนี้ จานวนรถยนต์ทั้ งในประเทศไทยและโลกมีการเพิ่มจานวนขึ้ นตลอด จ น ท า ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า ร ถ ติ ด ต า ม ตั ว เ มื อ ง ใ ห ญ่ ๆ ห รื อมี อุ บั ติ เห ตุ เกิ ด ขึ้ น อย่าง ก ว้าง ข ว า งจ น เกิ ด เป็ น ปั ญ ห าร ะ ดั บ ช า ติ ที่เป็นเป็นหาแก้ไม่ตกทั้งในประเทศไทย และ ระดับโลก จาก การที่ กลุ่ม ของข้ าพเจ้าได้รวบ รวม แ ละ สังเก ต ข้อมูล จึ งพ บ ว่า ปัญหารถที่มีมากกว่าจานวนประชากร อาจมีสาเหตุมาจาก ระบบขนส่ง ของไทยนั้ น ยังมีไม่เพียงพอต่อการใช้หรือยังครอบคลุมไม่ทั่วทาให้ประชากรสนใจที่จะซื้อรถยนต์รถมอเตอ ร์ไซด์มาขับเอง เพื่อความสะดวกสบาย และรถยนต์ ตอนนี้ก็มีการเสนอขายที่น่าสนใจมาก ทาให้ผู้ตนไปซื้อรถยนต์กันเป็นส่วนใหญ่ซึ่งทาให้เกิดมลพิษ ปัญหาทางการจราจรต่างๆ ตามมา ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้ามีความเห็นให้ทุกคนตะหนักถึงที่โลกของเรานั้นมีรถมากเกินไป ทาให้เกิดเป็นปัญหาการเดินทางหรือการขนส่งและมลพิษที่เกิดขึ้นจากรถยนต์ รถมอเตอร์ไซด์ ให้หันมาใช้จักรยาน หรือ รถโดยสารขึ้นขนส่งสาธารณะ ให้มากยิ่งขึ้น 1.2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในโครงงาน “สารวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา2557” 1.2.1ประกอบด้วย3ห่วง ห่วงที่1:พอประมาณ หมายถึง ถ้าเราต้องการรถเราต้องไม่ไปกู้ยืมเงินให้เป็นหนี้ใคร ใช้เงินที่เราสะสมมาให้คุ้ม ไม่อยากได้รถที่แพงจนเกิน 1ครอบครัวมีรถยนต์คันเดียวก็พอ ห่วงที่2: มีเหตุผล หมายถึง รถยนต์หรือรถมอเตอร์ไซด์ที่เรากาลังคิดว่าจะซื้อ ว่ามันคุ้มค่ากับเงินจานวนมากที่เราจ่ายไปรึเปล่า
  • 8. 2 ห่วงที่ 3: มีภู มิคุ้ มกัน ที่ ดี ในตั วเอง ห ม ายถึ ง เมื่อเราซื้ อรถม าแล้ วนั้ น เร า ต้ อ ง เต รี ย ม ตั ว รั บ กั บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ที่ ต้ อ ง ต า ม ม า ทั้ ง ค่ า น้ า มั น ที่ในประเทศตอนนี้ก็มีระดับที่สูงขึ้นไปเรื่อยๆ และค่าซ่อมบารุงรถ ถ้าเราดูแลรถไม่ดี เราอาจจะใช้รถไม่คุ้มกับเงินที่ซื้อมา 1.2.2เงื่อนไข •เงื่อนไขความรู้: (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) - การนาความรู้ในเรื่องของรถต่างๆมาทาเป็นแบบสอบถาม - มีความรอบคอบในการทาแบบสอบถามให้คอบคลุมกับเรื่องรถและระมัดระวังในการทาผิดพลาด •เงื่อนไขคุณธรรม : (ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญาขยันอดทน แบ่งปัน) - ทาโครงงานด้วยความซื่อสัตย์ไม่ลอกเลียนแบบใคร ใช้ความรู้และสติปัญญาของคนภายในกลุ่ม - แบ่งงานกันทาโดยทุกคนต้องมีความขยันและอดทนเพื่อให้งานออกมาสมบูรณ์ 1.3 จุดประสงค์การทาโครงงาน 1.3.1.ท าให้ ได้ รู้จาน วน ก ารใช้รถ ข อง นั ก เรี ยน โรงเรี ยน เฉ ลิ ม พ ระ เกี ยร ติ สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีปีการศึกษา 2557 1.3.2.ท า ใ ห้ ท ร า บ ถึ ง จ า น ว น ร ถ ที่ มี อ ยู่ ใ น แ ต่ ล ะ ค รั ว เ รื อ น ว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใดจึงทาให้ปริมาณรถนั้นเพิ่มมากขึ้น
  • 9. 3 1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ 1.4.1.ทาให้ได้รู้จานวนการใช้รถของนักเรียน โรงเรียนเฉลิ มพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีปีการศึกษา 2557 1.4.2.ทาให้ทราบถึงจานวนรถที่มีอยู่ในแต่ละครัวเรือน ว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใด 1.4.3.ทาให้คนหันมาลดการใช้รถยนต์มากยิ่งขึ้น 1.5 ขอบเขตของการศึกษา ก ลุ่ ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า ส า ร ว จ ภ า ย ใ น “ก ลุ่ ม นั ก เ รี ย น โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรีปีการศึกษา 2557.” 1.6 คานิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษาโครงงาน “รถ หมายถึง รถที่วิ่งตามท้องถนน ทั้งรถยนต์ และรถจักรยานยนต์”
  • 10. 4 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. คานิยามศัพท์ รถยนต์ (อังกฤษ: car , automobile) หมายถึงยานพาหนะทางบกที่ขับเคลื่อนที่ด้วยพลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งและถ่ายทอดลงสู่ล้อเพื่อพาผู้ขับ ผู้โดยสาร หรือสิ่งของ ไปยังจุดหมายปลายทาง ปัจจุบันรถยนต์โดยส่วนมากได้รับการออกแบบอย่างซับซ้อนในทางวิศวกรรมและหลากหลายประเภท ตามความเหมาะสมของการใช้งาน หรือใช้สาหรับงานเฉพาะกิจทั้งนี้เว้นแต่รถไฟ 2. เกี่ยวกับบุคคลที่ให้คานิยาม นายบัญชา ชุมชัยเวทย์ ได้กล่าวเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของรถยนต์ในประเทศไทยไว้ว่า “ผมมั่นใจได้ว่าช่วงนี้มีเรื่องราวที่พูดถึงกันบ่อยคือ ทุกวันนี้วันหยุดรถติดกว่าวันทางานซะอีกผมพูดถึงเรื่องนี้เพราะว่ามีรถยนต์มาเกี่ยวข้องกับชีวิตทุกคนในช่ว งนี้ทาให้ผมนึกถึงภาพฝูงรถยนต์กว่า 8 แสนคันที่กาลังได้ประโยชน์จากมาตรการรถยนต์คันแรกในชีวิต จานวนรถยนต์ทั้งหมดกว่า 8 แสนคันก็จะออกมาวิ่งบนถนนครบกันซะที นั่นหมายความว่ารอยต่อของปี 2555 ถึง 2556 กลายเป็นปีที่น่าทึ่ง และก้าวกระโดดของคนในวงการผลิตและขายรถยนต์ ปี2556ที่ผ่านไปนับว่าเป็นอีกปีประวัติศาสตร์สาหรับอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยโดยเป็นปีที่อุตสาหก รรมรถยนต์ไทยประสบความสาเร็จอย่างยิ่งใหญ่ด้วยตัวเลขทั้งยอดขายในประเทศ ยอดการส่งออกและยอดการผลิตที่นอกจากจะสูงเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้ทั้งหมดแล้วยังสามารถทาสถิติตัวเล ขที่สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ด้วยตัวเลขยอดขายในประเทศที่สูงเกินกว่า 1.4 ล้านคัน ยอดการส่งออกสูงกว่า 1 ล้านคัน และยอดการผลิตที่สูงถึงระดับ 2.4 ล้านคันโดยเฉพาะในส่วนของยอดการผลิตที่ทาให้ไทยสามารถขยับตาแหน่งขึ้นเป็นประเทศผู้ผลิตรถยนต์ที่ ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 9 หรืออันดับ 10 ของโลกได้
  • 11. 5 แน่นอนว่าแรงส่งสาคัญนอกจากการฟื้นคืนกาลังการผลิตสู่ระดับปกติได้อย่างรวดเร็วของค่ายรถหลั งเกิดปัญหาน้าท่วมในปลายปี 2554 และการเปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการตลาดได้ดีแล้วโครงการรถยนต์คันแรก ทาให้อุตสาหกรรมยานยนต์มีการเติบโตมากโดยเฉพาะครึ่งปีหลังที่เป็นช่วงการขายประกอบกับความพร้อม ของผู้ผลิตรถยนต์ในตอนนี้กลับมา 100% หากมองเฉพาะยอดขายในประเทศไทยจะมีมากกว่า 1.1 ถึง 1.2 ล้านคันสุดเกินยอดแล้ว ข ณ ะ ที่ แ น ว โ น้ ม ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต์ ใ น ปี 2557 นั้นตามปกติการเติบโตแต่ละปีอย่างน้อยจะอยู่ที่ 10% โดยคาดว่าบริษัทผู้ผลิตรถยนต์จะมีรถรุ่นใหม่ๆ อ อ ก ม า เ ปิ ด ตั ว อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง น อ ก จ า ก นี้ ก็อาจจะมีบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ใหม่ๆเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นโดยในช่วงที่ผ่านมาผู้ผลิตจากเกาหลีก็ ให้ความสนใจบ้านเราพอสมควรซึ่งหากมีผู้ผลิตเพิ่มขึ้นก็จะส่งผลดีต่อภาพรวมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมย านยนต์ไทยเนื่องจากผู้บริโภคจะมีทางเลือกเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในส่วนของตลาดส่งออกที่การโยกกาลังการผลิตกลับมาเพื่อส่งออกมากขึ้นน่าจะทาให้ก ารส่งออกยังคงขยายตัวได้ดี และทาสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ได้ต่อที่ระดับ 1,230,000 ถึง 1,290,000 คัน ขยายตัวขั้นต่า20% ถึง 26% ซึ่งจะไปช่วยชดเชยตลาดในประเทศที่อาจจะหดตัวลงเล็กน้อยขั้นต่าก็ 2% ถึง 7% ห รื อ คิ ด เ ป็ น ย อ ด ข า ย ป ร ะ ม า ณ 1,340,000 ถึ ง 1,410,000 คันหลังจากที่ผลของโครงการรถยนต์คันแรกทาให้ความต้องการรถยนต์ในอนาคตถูกดึงไปใช้แล้วล่วงหน้า ตั้งแต่ปี ที่แล้วและส่งผลให้ยอดขายในช่วงครึ่งหลังมีโอกาสหดตัวลงจากช่วงเดียวกันในปี 2555 ซึ่งการส่งออกรถยนต์ที่เข้าไปช่วยช ดเช ยการห ดตัวดังกล่าวทาให้การผลิตรถยน ต์ปี 2556 นี้มีโอกาสทาสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ได้เช่นเดียวกันที่ตัวเลขระหว่าง 2,500,000 ถึง 2,600,000 คัน หรือขยายตัวตั้งแต่ 5% ไปถึง 9% สุดท้ายนี้ คนใช้รถบนท้องถนนก็เตรียมเผื่อเวลากันให้มากขึ้นกว่าในช่วง 4–5ปีที่ผ่านมานะครับ เพ ราะ ไม่ว่าจะ เป็ น ถน น ก็ตัดให ม่ไม่ทัน ไม่ว่าจะเป็ น ส่วน ต่อขยายรถไฟ ฟ้ าทั้งบน ดิน และใต้ดิน ก็ต้องร้องเพลงรอจนถึงวัน ที่เปิ ดใช้บริการจริงๆ ก็ต้องมีไม่น้อยกว่า 3–4 ปี เห็น มั้ย เศรษฐกิจไทยโตดีจริงๆ!” ขณะที่ผศ.ดร.สิ ริแข พงษ์สวัสดิ์ คณบดีและทีมงาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้กล่าวเกี่ยวกับปัญหาทางมลพิษที่ได้จากการมีรถยนต์ที่มากขึ้นว่า
  • 12. 6 “จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในประเทศ 20 ปีที่ผ่านมามีสภาวะดีขึ้นแต่ปัญหาฝุ่ นขนาดเล็ก และก๊าซโอโซนจากการเผาไหม้ของรถยนต์ยังมีมากขึ้นแทนสารตะกั่ว ประเด็นปัญหาของฝุ่นเกิดจากการวิ่งของรถในปริมาณมากส่วนก๊าซโอโซนถือเป็นประเด็นที่แก้ไข ยาก มาก แล ะ พ บ ป ริ ม าณ เกิน ค่าม าตรฐ าน บ่อย ครั้ ง ที่ สุ ด เมื่อ เที ยบ กับ มล พิ ษ อื่ น ๆ โดยก๊าซโอโซนเกิดจากปฏิกิริยาระหว่างสารอินทรีย์ระเหยง่ายกับออกไซด์ของไนโตรเจนจากไอเสียของรถ ย น ต์ มีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้ก๊าซโอโซนมีมากในช่วงเที่ยงและบ่ายซึ่งจะถูกกระแสลมพัดพาไปสะสม ในบริเวณต่าง ๆจะเห็นได้ว่ามีปัจจัยหลายอย่างยากต่อการควบคุมก๊าซนี้ให้อยู่ในระดับมาตรฐาน ถึ ง ภ า ค รั ฐ จ ะ อ อ ก ม า ต ร ฐ า น ใ ห้ ใ ช้ น้ า มั น ยู โ ร 4 เพื่อลดมลพิษแต่ก็มั่นใจไม่ได้ว่ามลพิษทางอากาศจากรถยนต์จะดีขึ้นเนื่องจากปริมาณรถมีมากเมื่อปล่อยออ ก ม าม าก ๆ ม า ต ร ก า ร ต่า ง ๆ ที่ ว า ง ไ ว้อ า จ ไ ม่ไ ด้ ช่ ว ย อ ะ ไ ร ซึ่ ง ก๊ า ซ โ อ โ ซ น มี ผ ล ต่ อ ม นุ ษ ย์ ท า ใ ห้ ร ะ ค า ย เ คื อ ง ต า ผิ ว ห นั ง บ ริ เ ว ณ ค อ และ อาจมีอาการไอป วดหัวร่วมด้วยน อกจากนี้ ยังทาใ ห้ พืช การเกษตรออกผลผลิตต่า สะสมอาหารได้น้อยลงติดโรคและแมลงง่าย ตลอดจนทนต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศได้น้อยทั้งนี้ ฝุ่นและก๊าซโอโซนมีผลต่อระบบทางเดินหายใจผิดปกติ โดยเฉพาะในเด็กคนชรา และผู้เป็นโรคภูมิแพ้ ห อ บ หื ด ซึ่ ง มี ป ริ ม า ณ ม า ก ขึ้ น จ า ก ผ ล ก ร ะ ท บ นี้ อี ก ด้ ว ย จากผลสารวจของกรมควบคุมมลพิษพบว่าในกรุงเทพฯพื้นที่ซึ่งมีการจราจรติดขัดมีผลให้ฝุ่นละอองขนาดเล็ ก แ ล ะ โ อ โ ซ น มี ม า ก คื อ เ ข ต พ ญ า ไ ท วัง ท อ ง ห ล า ง ห้ ว ย ข ว า ง บ า ง ก ะ ปิ บางนาซึ่งมีปริมาณเบนซินที่เป็นสารก่อมะเร็งเกินมาตรฐานอันเป็นผลร้ายต่อมนุษย์ ย่าน ป ริ มณ ฑ ล ที่ มีค่าอ าก าศ เกิน ม าต ร ฐ าน คื อ ส มุท รป ร าก าร ป ทุ มธ า นี สมุทรสาครนนทบุรีส่วนในต่างจังหวัดจะมีมากในบริเวณหัวเมืองใหญ่และสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆและจากการประเมินมีข้อสังเกตว่าในพื้นที่จังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากเป็นปัจจัยหนึ่งของปริมาณ มลพิษทางอากาศที่เกินมาตรฐานเพราะบางครั้งของเสียที่เกิดในอากาศส่วนหนึ่งมาจากกระบวนการผลิตของ โรงงานและผสมรวมกับมลพิษจากรถยนต์ที่มีการขนส่งทาให้ประชากรบริเวณนั้นมีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาเ กี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ และสิ่งที่ต้องคานึงอย่างมากในคนที่อาศัยอยู่ใกล้การจราจรแออัดและระบายอากาศไม่สะดวกอย่างเ ช่น พื้น ที่ใต้สถานี รถไฟ ฟ้ าควรติดตั้ง เครื่ อง ระบายอากาศใ น ห้องพัก ฝุ่ น และก๊าซต่าง
  • 13. 7 ๆ มี ข น า ด เ ล็ ก ส า ม า ร ถ ผ่ า น เ ข้ า ไ ป ไ ด้ ไม่ควรปิดห้องมิดชิดโดยไม่มีการระบายอากาศเพราะมีการเปรียบเทียบว่าคนที่อยู่ภายนอกอาจอันตรายน้อย กว่าคนที่อยู่ในห้องพักโดยไม่มีการระบายอากาศในสถานที่ซึ่งมีมลพิษมากที่สาคัญรัฐควรมีมาตรการให้ควา มรู้ประชาชนเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศที่เพิ่มจากปัญหารถยนต์ที่มากขึ้นซึ่งประชาชนที่แพ้หรือต้องทางานบ ริ เ ว ณ ที่ มี ม ล พิ ษ น า น ๆ ค ว ร ใ ส่ ห น้ า ก า ก ป้ อ ง กั น ข น า ด 10 ไ ม ค ร อ น ตามร้านอุปกรณ์แพทย์เพราะที่ผ่านมาหน้ากากที่ขายตามร้านสะดวกซื้อยังมีขนาดบางทาให้ป้ องกันไม่ได้อย่ างจริงจัง อนาคตปัญหามลพิษจากรถยนต์ในประเทศคงยังมีอยู่เนื่องจากปริมาณรถที่มากขึ้นและการแก้ปัญห าที่ มีอ ยู่ก็ยัง ไม่จริ ง จัง ท า ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ส่ วน ใ ห ญ่ ต้อ ง ท น อ ยู่กับ ม ล พิ ษ เดิ ม ๆ สะสมความเครียดจนทาให้ประชากรมีสภาพร่างกายที่อ่อนแอหากภาครัฐไม่ให้ความรู้และการแก้ไขอย่างเป็ น รู ป ธ ร ร ม มลพิษอากาศจากรถยนต์อาจยังไม่เห็นปัญหาในเร็ววันแต่สารพิษต่าง ๆค่อย ๆสะสมอยู่ในร่างกาย ซึ่งใครก็ไม่อยากรอวันนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเปลี่ยนทัศนคติคนไทยให้หันมาใช้ระบบขนส่งมวลชนมาก ขึ้น และผลักดันให้ภาครัฐทุกภาคส่วนมองเห็นปัญหาที่ตามมาอย่างรอบด้าน” ภาพที่1 ปัญหารถติด ที่มา http://www.dailynews.co.th/Content/Article/11241
  • 14. 8 สภาพรถยนต์กับปัญหามลพิษทางอากาศ ใน สิ งคโปร์ รถที่มีอายุใช้ง าน น าน กว่า 7 ปี ต้องขออนุ ญ าติใช้ง าน บน ท้อง ถน น แบบปีต่อปีในรูปของ COE(Certificateof Entertainmnet) และมีค่าใช้จ่ายสูงมาก ส่วนมากจะเป็นรถโบราณ มู ล ค่ า สู ง จึ ง จ ะ เ ข้ า ข่ า ย COE เพ ระ ยิ่ง รถมีอายุการใช้งาน มากเท่าใ ดประ สิ ท ธิ ภ าพ ใ น การใช้งาน จึง ล ดลง ไป ด้วย สิงคโปร์เป็นประเทศที่ดูแลสภาพแวดล้อมที่ดีมากจึงทาให้ต้องเก็บค่าบริการแก่รถยนต์ที่มีอายุการใช้งานมา กกว่า7ปี ในประเทศไทย ตราบเท่าที่สามารถตรวจสภาพผ่าน ก็สามารถต่อทะเบียน (ป้ ายวงกลม) และใช้งานบนท้องถนนได้ ดังนั้น เราจึงเห็นรถอายุเกิน 10 ปี วิ่งอยู่บนถนน กัน ส่วนข้อเสียก็คือ ร ถ ที่ มิ ไ ด้ มี ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก็ จ ะ มี โ อ ก า ส เ สี ย ก ล า ง ถ น น และกีดขวางการจราจรในชั่วโมงเร่งด่วน โดยเฉพาะในฤดูฝน อายุเฉลี่ยของยวดยาน ขึ้นอยู่กับสภาพการใช้งานและการบารุงรักษาแต่ส่วนใหญ่ก็จะอยู่ในระยะ 200,000กม.หรือ5-6 ปี แต่รถที่บารุงรักษาตามมาตรฐานของผู้ผลิต และใช้งานไม่หนัก ก็จะมีสภาพสมบูรณ์และอาจจะ อยู่ได้เกิน 10 ปี 3. แนวทางแก้ไขที่ประชาชนชาวไทยช่วยกันแก้ปัญหา 3.1 ปลูกต้นไม้ให้มากขึ้นเพื่อช่วยดูดซับมลพิษในอากาศ โดยเฉพาะไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่สามารถปลูกไว้ในบ้านจะช่วยได้ 3.2 ทางเดียวกันควรไปด้วยกันนอกจากจะช่วยลดก๊าซพิษในอากาศแล้วยังช่วยประหยัดพลังงานอีกด้วย 3.3 ดูแลรักษาเครื่องยนต์ให้อยู่สภาพดีเพื่อลดการปล่อยควันพิษ
  • 15. 9 3.4 ส่งเสริมการใช้รถประจาทาง รถไฟ หรือระบบขนส่งมวลชนประเภทต่าง ๆโดยรัฐต้องเข้ามาจัดความเป็นระเบียบในแง่ การตรงต่อเวลาสะดวกในการเดินทางและบริการ 3.5 ขับรถยนต์ให้น้อยลงเมื่อต้องไปทางานใกล้บ้าน 3.6 รัฐควรมีการเคร่งครัดในการตรวจสอบควันดา และกวดขันอย่างต่อเนื่อง 4. ปัญหาเรื่องมลพิษจากรถยนต์และการแก้ปัญหาสังคมของโลก 4.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อม ใ น อ ดี ต ปั ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไ ม่ รุ น แ ร ง นั ก เ พ ร า ะ ป ร ะ ช า ก ร โ ล ก มี น้ อ ย แ ล ะ ม นุ ษ ย์ มี ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ อ ย่ า ง ง่ า ย ๆ การ ท าล ายร ะ บ บ นิ เว ศ ก ารท าล าย ระ บ บ ส มดุ ล ข อ ง ธ รร มช าติ จึ ง มีน้ อ ย แ ต่เมื่อ ประชากรโลกมากขึ้นความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์มีมากขึ้น มนุษย์ได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ เ ช่ น เ ค รื่ อ ง จั ก ร เ ค รื่ อ ง ย น ต์ เพื่อความสะดวกสบายรวมทั้งการผลิตสารบางชนิดเพื่อการเกษตรอุตสาหกรรมการกระทาของมนุษย์ได้ไป ท า ล า ย ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ทาลายความสมดุลของธรรมชาติโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษได้เพิ่มมากขึ้นทุกทีจนเป็ นอัน ตรายต่อมนุษย์ ปัจจุบันปั ญห าสิ่ งแวดล้อมได้กลายเป็ นปั ญห าร่วมกัน ของมนุ ษยช าติ ลมฟ้ าอากาศที่กาลังเปลี่ยนแปลงย่อมชี้ให้เห็นผลกระทบจากระบบนิเวศดิน ป่าไม้ทุ่งหญ้าแหล่งน้า ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทาให้เกิดวงจรต่าง ๆ เช่น วงจรโซ่แห่งอาหาร (Food Chains) มีค วาม ส มดุ ล ไ ด้สั ด ส่ วน แ ล ะ มีผ ล ต่อ ค วา มเป็ น อ ยู่ข อ ง มนุ ษ ย์ ห าก ร ะ บ บ ต่า ง ๆถูกทาลายความสมดุลก็จะเสียไปนั่นหมายถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ก็จะต้องเปลี่ยนไปในทางเลวร้ายยิ่งขึ้น 4.1.1 สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ก า ร ท า ล า ย ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ส า คั ญ คื อ การตัดไม้ทาลายป่าอันเป็นผลมาจากความต้องการขยายที่ทากินขยายที่อยู่อาศัยและเพื่อการนาไม้ไปใช้ประโ ย ช น์ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต แ ล ะ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ เ ชิ ง พ า ณิ ช ย์
  • 16. 10 ทาให้เกิดการตัดไม้ทาลายป่ ามากขึ้นทุกทีทั้งที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งไม่น่าเป็ นห่วงมากนัก แ ต่ที่ อั น ต ร า ย ม า ก คื อ ก า ร ตั ด ไ ม้ ท า ล า ย ป่ า ไ ม่ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลั ก วิ ช า ก า ร โดยไม่สามารถควบคุมได้ซึ่ งมีมากใน ประ เทศด้อยพัฒน า ดังเช่น ในทวีปเอเชีย แอฟริกา แ ล ะ ล ะ ติ น อ เ ม ริ ก า ตั ว อ ย่ า ง ที่ เ ห็ น ไ ด้ ชั ด เ จ น คื อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น อ ดี ต เ ป็ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ป่ า อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ เ ป็ น แ ห ล่ ง ต้ น น้ า ล า ธ า ร เป็นแหล่งอาหารที่ไม่เพียงเพื่อการบริโภคภายในประเทศเท่านั้นยังเป็นอู่ข้าวอู่น้าส่งออกเลี้ยงประชากรโลกใ นภูมิภาคอื่นด้วยปัจจุบันป่ าที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่ าสาละวิน ป่ าทุ่งใหญ่นเรศวร ป่ าเขาให ญ่ ป่าดงลานได้ถูกทาลายด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของมนุษย์และทั้งด้วยความเห็นแก่ได้ของขบวนการตัดไม้ ทาลายป่าทาให้แหล่งต้นน้าถูกทาลายแม่น้า ลาธารหลายสายเริ่มตื้นเขินส่งผลให้แหล่งอาหารลดน้อยลง เ กิ ด ภ า ว ะ แ ห้ ง แ ล้ ง ฝนฟ้ าเริ่มปรวนแปรการเกษตรเริ่มมีปัญหาทาให้การส่งออกผลิตผลทางการเกษตรไม่ขยายตัวนอกจากนั้นส ภาพการซึมซับมลพิษทางอากาศก็ลดศักยภาพลงด้วยสภาพปัญหาดังกล่าวได้เกิดขึ้นในหลายประเทศ น อกจากก ารตัดไม้ท าล ายป่ าแล้วปั ญ ห าการท าลายระ บบ นิ เวศ ก็เกิดขึ้ น ทั่วไป เช่น ก าร ท า ล าย ส ภ าพ ป่ า ช า ยเล น ก าร ท าล าย ร ะ บ บ นิ เว ศ ใ น ท ะ เล แ ล ะ มห าส มุ ท ร ตลอดจนการบุกรุกแหล่งน้าธรรมชาติ 4.1.2 การคิดประดิษฐ์และผลิตสิ่งที่ก่อมลพิษ จากการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการผลิตของสังคมโลกยุคใหม่ทาให้เครื่องจักรเครื่องยนต์เข้ามามีบท บาทมาก มีการนาสารสังเคราะห์ชนิดต่าง ๆเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตก่อให้เกิดมลพิษทั้งทางอากาศ ทางน้า และในดินมากขึ้นทุกทีจนกระทั่งเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์และพืช 4.1.3 การขาดจิตสานึกของมนุษย์ ห รื ออาจเรี ยก ว่าเป็ น ความมักง่ายของ มนุ ษ ย์ที่ท าความส กป รกใ ห้ แก่ธรรมช าติ เช่นทิ้งสิ่งของที่ย่อยสลายได้ยากลงในแม่น้า และพื้นดิน
  • 17. 11 4.2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ 4.2.1 ปัญหามลพิษทางอากาศ อ า ก า ศ บ ริ สุ ท ธิ์ เ ป็ น สิ่ ง จ า เ ป็ น ข อ ง ม นุ ษ ย์ แ ต่ ใ น ปั จ จุ บั น นี้ ประช ากรห น าแน่น เกิดโรงงานอุตสาห กรรมมากขึ้น มียาน ยน ต์มากขึ้น ควัน ห มอก เขม่า จึงมากขึ้น ด้วยกลายเป็ น พิษที่ทาลายสุ ขภาพ อน ามัยของประ ช ากรโลก สารพิ ษที่สาคัญ มีซัลเฟอร์ไดออกไซด์คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ออกไซด์ ของไนโตรเจน ส าร ไ ฮ โ ด ร ค า ร์ บ อ น ต่า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง อ นุ ภ าค บ า ง ช นิ ด แ ล ะ ไ อ ข อ ง ต ะ กั่ว ซึ่ ง เป็นสารที่ทาอันตรายต่อมนุษย์สารบางชนิดอาจทาให้ทารกในครรภ์ผิดปกติได้อันตรายจะมากหรือน้อยขึ้นอ ยู่กั บ ค ว า ม เ ข้ ม ข อ ง ก๊ า ซ ห รื อ ส า ร อั น ต ร า ย นั้ น อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก๊ า ซ พิ ษ แ ล ะ ส า ร พิ ษ ที่ อ ยู่ ใ น อ า ก า ศ ไ ด้ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด อั น ต ร า ย แ ก่ ม นุ ษ ย์ และสัตว์ก๊าซบางชนิดทาให้ร่างกายอ่อนเพลียสุขภาพเสื่อมโทรมและหากสูดดมในปริมาณมากอาจถึงตายได้ บางชนิดทาลายเยื่อจมูกและหลอดลม ขัดขวางการรับออกซิเจนในเม็ดเลือดทาให้เป็น โรคปอดได้ ก๊ า ซ บ า ง ช นิ ด ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ร ะ ค า ย เ คื อ ง ต า คันตามผิวหนังหรืออาจทาให้เกิดโรคมะเร็งได้อนุภาคในอากาศของสารหลายชนิดเป็นอันตรายต่อร่างกายม นุ ษ ย์ เ ช่ น ก ร ด ก า ม ะ ถั น ป ริ ม า ณ เ พี ย ง 1 มิ ล ลิ ก รั ม ต่ อ อ า ก า ศ 1 ลู ก บ า ศ ก์ เม ต ร จ ะ ส า ม า ร ถ ท า ใ ห้ ร ะ บ บ ห า ย ใ จ ผิ ด ป ก ติ ไ ด้ ก ร ด อ า ร์ ซี นิ ก และสารตะกั่วจากท่อไอเสียรถยนต์ก็ทาอันตรายต่อมนุษย์ ถ้ามนุษย์ได้รับติดต่อกันวันละ 8 ชั่วโมง สั ป ด า ห์ ล ะ 5 วันจะสามารถทาลายสมองเกิดการเสื่อมสลายของเส้นโลหิตฝอยโรคสมองที่เกิดจากพิษสารตะกั่วทาให้เกิด การตกเลือดในสมอง ปวดศีรษะจนอาจเป็ นอัมพาตได้ และพบว่ายังมีผลต่อความเสื่ อมของเซลล์ สืบพันธุ์ของมนุษย์ได้นอกจากนั้น สารตะกั่วยังเป็นอันตรายร้ายแรงต่อการเจริญเติบโตของเด็กอีกด้วย ( มนัสธัญญเกษตร และคณะ. 2542 :148 –149 ) สารที่มนุษย์เริ่มตระหนักในพิษภัยอีกชนิดหนึ่ง คือสารคลอโรฟลูโอคาร์บอน (Chlorofluocarbon) หรือสาร CFCจะลอยขึ้น ไปทาลายก๊าซโอโซนในบรรยากาศทาให้เกิดช่องโหว่ที่แสงอัลตราไวโอเลต ( Ultra Violet) จ า ก ด ว ง อ า ทิ ต ย์ ส า ม า ร ถ ส่ อ ง ต ร ง ม า ยั ง ผิ ว โ ล ก ไ ด้ โ ด ย ต ร ง ยิ่ ง มี ค วั น จ า ก โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ซึ่ ง มี ก๊ า ซ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ เป็ น ส่ ว น ผ ส ม ส า คัญ ร่ว ม ด้ ว ย ก็จ ะ ท าใ ห้ ภ า ว ะ เรื อ น ก ร ะ จ ก รุ น แ ร ง ม าก ขึ้ น จากการสารวจของนักวิจัยแห่งมหาวิทยาลัยอลาสกาพบว่าภูเขาน้าแข็งขนาดใหญ่ที่ชื่อว่า ”กรีนแลนด์ ไอซ์”
  • 18. 12 กาลังละลายอย่างรวดเร็วเกินความคาดหมายความสูงของภูเขาน้าแข็งลดลงเฉลี่ยปีละหนึ่งฟุตครึ่งและเมื่อเป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ข้ อ มู ล ต้ น ท ศ ว ร ร ษ 1990 ทาให้ทีมนักสารวจต้องตะลึงเมื่อพบว่าภูเขาน้าแข็งละลายจนบางลงเป็นสองเท่าเมื่อเปรียบเทียบกับ 40 ปี ก่อนสาเหตุที่ทาให้ภูเขาน้าแข็งในอลาสกาละลายอย่างรวดเร็วนี้น่าจะเป็นผลมาจากภาวะเรือนกระจกเนื่องจ า ก ช า ว โ ล ก พ า กั น ป ล่ อ ย ก๊ า ซ พิ ษ ขึ้ น สู่ บ ร ร ย า ก า ศ ท า ใ ห้ โ ล ก ร้ อ น ขึ้ น นอกจากนี้การนาเอาพลังงานนิวเคลียร์เข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟ้ าก็ทาให้เกิดโศกนาฏกรรม ครั้งใหญ่มาแล้ว เมื่อมีการรั่วไหลของสารกัมมันตภาพ 5. บุคคลที่เป็นห่วงถึงปัญหารถล้นโลก นาย บิลฟอร์ดประธานบริหารฟอร์ดมอเตอร์ คัมปะนี ได้แสดงวิสัยทัศน์ โดยการบรรยายพิเศษ ในห้วข้ออนาคตของการเดินทางในเมืองใหญ่ (Urban Mobility) น า ย บิลฟอร์ดได้แสดงวิสัยทัศน์ของแนวโน้มการเดินทางในเมืองใหญ่ซึ่งจะครอบคลุมถึงประเด็นความกังวลเกี่ย ว กั บ ก า ร ถื อ ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ย า น พ า ห น ะ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั่ ว โ ล ก และ ความเป็ น ไปได้ขอ งการเกิดความ แออัดของ ยาน พ าห น ะ ทั่วโลก(Global Gridlock) นายบิลฟอร์ดยังจะกล่าวถึงอนาคตของการเชื่อมต่อของระบบการขนส่ง (Ttransportation Ecosystem) ซึ่ ง เป็ น ร ะ บ บ ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ อั จ ฉ ริ ย ะ ที่ เ ชื่ อ ม ก า ร เ ดิ น ท า ง รู ป แ บ บ ต่า ง ๆ รวมถึงระบบสาธารณูปโภคเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อระบบการขนส่งที่ดีขึ้น น า ย ฟ อ ร์ ด ก ล่ า ว ว่ า ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาอุตสาหกรรมยานยนต์มีพัฒนาการอย่างมากในการจัดการกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อ มยาน ยน ต์ใน ปั จจุบัน จึง สะ อาดขึ้น กว่าเดิม ประห ยัดน้ ามัน มากขึ้ น สามารถนาวัสดุต่าง ๆ กลับมาใช้ใหม่ได้และมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนยิ่งกว่าที่เคย อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี เ มื่ อ ม อ ง ถึ ง อ น า ค ต จ ะ เ ห็ น ว่ า ความท้าทายที่ต้องเผชิญในอนาคตไม่ได้เกิดจากรถแต่ละคันเพียงอย่างเดียวเพราะปัจจุบันเรามีรถอยู่บนท้อง ถ น น ป ร ะ ม า ณ 1,000 ล้านคันทั่วโลกการที่ประชากรมีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทาให้ผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่าภายในปีค.ศ. 2020 ตัวเลขดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว และเมื่อมองไกลออกไปเชื่อว่าจะมีรถวิ่งอยู่บนท้องถนนทั่วโลกมากถึง 4,000 ล้านคันภายในปี 2050 "แ ม้ ว่ า ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม จะมีรถที่ปล่อยมลภาวะเป็นศูนย์และใช้แหล่งพลังงานทดแทนได้แต่หากสังคมยังใช้ยานพาหนะกันโดยปรา
  • 19. 13 ศจากการไตร่ตรองแล้วจานวนรถที่มากเกินไปก็อาจก่อให้เกิดอุปสรรคร้ายแรงต่อพัฒนาการทั้งด้านเศรษฐกิ จสังคมและสิ่งแวดล้อมซึ่งปัญหาดังกล่าวจะเกิดขึ้นมากที่สุดในเขตเมืองเพราะในอีกไม่กี่ทศวรรษข้างหน้า เป็นที่คาดกันว่าประชากรโลก 75% จะย้ายมาอยู่อาศัยกันในเขตเมือง และจะมีเมืองขนาดใหญ่ถึง 50 แห่งที่มีจานวนประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 10ล้านคนจึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเกิดปรากฏการณ์ “การจราจรติดขัดทั่วโลก”ซึ่งหมายถึงสถานการณ์รถติดที่ไม่จบสิ้น ทาให้เสียทั้งเวลาสิ้นเปลืองพลังงาน และทรัพยากรโลก " น า ย ฟ อ ร์ ด ก ล่ า ว ว่ า ก รุ ง เ ท พ ฯ เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ที่ เ ด่ น ชั ด ในเรื่องของความท้าทายที่เกิดจากการเติบโตและความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจเพราะประชากรในกรุงเทพ ฯ เพิ่มจาน วน ขึ้น สองเท่าตัวใน ช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมาและ เมื่อเดือน กัน ยายน ที่ผ่าน มา ประเทศไทยมีจานวนผู้เป็นเจ้าของรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลยอดขายรถยนต์ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นสูงก ว่า 1 ล้าน คัน เป็ นครั้งแรกใน ประวัติศาสตร์ ซึ่งฟ อร์ดเชื่อว่า ใน สิ้น ปี นี้ ไทยจะมีการขายรถ สูงทาสถิติเป็นประวัติการณ์ที่ 1.4 ล้านคัน" บทที่3 วิธีดาเนินการ สถานที่และระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า โรงงานสารวจเรื่อง รถล้นโลก ได้ทาการสารวจที่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี” ปีการศึกษา 2557เด็กนักเรียนจานวน100คน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ 1. แบบสอบถาม 100แผ่น 2. ปากกา วิธีการสารวจ 1.ออกแบบ แบบสอบถามเกี่ยวกับจานวนรถที่แต่ละครอบครัวของนักเรียนจะมี 2.ระบุชนิดรถ คือ รถยนต์และจักรยานยนต์ ซึ่ง1คนอาจมีได้หลายคัน 3.เมื่อออกแบบ แบบสอบถามเสร็จก็เริ่มนาไปสารวจนักเรียนทุกระดับชั้นเป็นจานวน100 คน 4.เก็บรวบรวมแบบสอบถามของนักเรียน 5. สรุปจานวนรถแต่ละชนิดที่ได้ของนักเรียนทุกระดับชั้น
  • 20. 14 6.นาข้อมูลที่ได้แสดงออกมาเป็นตารางแสดงผล รูปแบบของตารางสารวจ แบบประเมินจานวนรถยนต์ที่มีในครอบครัวของนักเรียน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สถานะ □นักเรียน เพศ □ชาย □หญิง ชั้นมัธยมศึกษา □ม.1 □ม.2 □ม.3 □ม.4 □ม.5 □ม.6 รถยนต์ จานวน/คัน ประเภทของรถ 1 2 3 4 รถจักรยาน รถจักรยานยนต์
  • 25. 19