SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
โอกาสการขยายงาน Sub-acute Rehabilitation
ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นายแพทย์ชูชัย ศรชานิ
รองเลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
5 สิงหาคม 2559
โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ
เป้ าหมายการ
ดาเนินงาน
ระยะ 3 ปี
(2560-
2562)
1. คนพิการได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการและบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพตามความจาเป็ นอย่างทั่วถึงและ
ครอบคลุม ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน
2. ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ และผู้ป่ วยติด
บ้านติดเตียง ได้รับบริการด้านการฟื้ นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน
3. หน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้องถิ่น และองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบบริการฟื้ นฟู
สมรรถภาพ โดยการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้แก่คนพิการ รวมทั้งจัดบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพให้แก่
ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ และผู้ป่ วยติดบ้าน
ติดเตียง ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. องค์กรคนพิการมีการพัฒนาศักยภาพด้านการฟื้ นฟูสมรรถภาพ และรวมกลุ่มเกิดความเข้มแข็ง สามารถร่วมมือ
กับหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้องถิ่น ชุมชน และมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพช่วยเหลือคนพิการด้วย
กันเอง
5. เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรคนพิการ องค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง และ
ชุมชน ในการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้บริการฟื้ นฟูสมรรถภาพแก่ คนพิการ ผู้สูงอายุ
และผู้ป่ วยที่อยู่ในระยะกึ่งเฉียบพลันที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพร่วมกัน ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน
อย่างยั่งยืน 2
กรอบแนวทางการดาเนินงานสนับสนุนระบบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
กลุ่มเป้ าหมา
ย
(ผู้มีสิทธิ
หลักประกัน
สุขภาพ
แห่งชาติ)
- ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (sub-acute)
- คนพิการ (รหัสสิทธิย่อย 74)
- ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
- ผู้ป่ วยติดบ้านติดเตียง (คะแนน Bathel ADL index เท่ากับ หรือ น้อยกว่า 11 คะแนน)
ยุทธศาสตร์ • พัฒนาระบบบริการเชิงรุกในชุมชน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์และอุปกรณ์
เครื่องช่วยความพิการ แก่ ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับ
การฟื้ นฟูฯ และผู้ป่ วยติดบ้านติดเตียง
• สนับสนุนการบูรณาการระบบบริการร่วมกันระหว่าง หน่วยบริการ สหสาขาวิชาชีพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์เครื่องช่วยความ
พิการ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ
• พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการและการสนับสนุนการจัดบริการของกองทุนฟื้ นฟูสมรรถภาพที่จาเป็ นต่อ
สุขภาพระดับจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นแล้ว
• พัฒนาสิทธิประโยชน์ด้านฟื้ นฟูสมรรถภาพให้เกิดความเท่าเทียมระหว่าง 3 กองทุน
3
กรอบแนวทางการดาเนินงานสนับสนุนระบบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
(ต่อ)
ปี 2557 14.95 บาท : ปชก. UC = 730.337 ล้าน
บาท
ปี 2556 12.88 บาท : ปชก. UC = 623.971 ล้าน
บาท
ปี 2558 14.95 บาท : ปชก. UC = 726.659 ล้าน
บาทปี 2559 16.13 บาท : ปชก. UC = 786.934 ล้าน
บาท
4
ปี 2560 16.13 บาท : ปชก. UC = 787.191 ล้าน
งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ปี 2548-2560
(ร่าง) กรอบการบริหารงบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปี 2560-2562
5
งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
(16.13 บ. X 48.8029 ลค.) 787,190,777 บาท
ปี งบประมาณ 2560
1. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับประเทศ
(1.60 บ. X 48.8029 ลค.) 78,084,640 บาท
2. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับเขต
(14.53 บ. X 48.8029 ลค.) 709,106,137 บาท
1.1 ค่าบริการสาหรับหน่วยบริการตติยภูมิด้านงานฟื้นฟูสมรรถภาพ
1.2 ค่าอุปกรณ์ฯ กรณีคนพิการรับบริการข้ามเขตพื้นที่
1.3 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ/ค่าบริการฟื้นฟูฯ ที่เป็นโครงการนาร่อง
2-a กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด*
(บริหารจัดการโดยกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด)
2.1 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา, ผลิต,
ซ่อมแซม)
2.2 ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับ
การฟื้นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็นต้อง
ได้รับการฟื้นฟูฯ และผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
2.3 ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ
2.4 ค่าปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยเพื่อสุขภาพคน
พิการ (Universal Design : UD) และบริการฟื้นฟูด้าน
สังคม
2-b กรณี
จังหวัดที่ไม่มี
กองทุนฟื้ นฟูฯ
จังหวัด
(บริหารจัดการ
โดย สปสช.
เขต)
ดาเนินการ
เหมือนกรณี
2-a เฉพาะข้อ
2.1-2.3 (ยกเว้น
ข้อ 2.4)
* กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด แต่กองทุนฯ ยังไม่พร้อมดาเนินการเต็ม
รูปแบบ ให้ สปสช.เขต บริหารจัดการร่วมกับกองทุนฯ โดยกาหนดบทบาท
ดาเนินการ ข้อ 2.1-2.4 ตามความเหมาะสม
หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2560 ดาเนินการปรับ ระเบียบ/ประกาศ การบริหาร
จัดการกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด เพื่อเริ่มใช้ปีงบประมาณ 2561 (1 ตุลาคม 2560)
งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
(xx.xx บ. X xx.xxxx ลค.) xxx.xxxx บาท
ปี งบประมาณ 2562
1. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับประเทศ
(x.xx บ. X xx.xxxx ลค.) xx.xxxx บาท
2. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับเขต
(xx.xx บ. X xx.xxxx ลค.) xxx.xxxx บาท
1.1 ค่าบริการสาหรับหน่วยบริการตติยภูมิด้านฟื้นฟูฯ
1.2 ค่าบริการอุปกรณ์ฯ กรณีคนพิการรับบริการข้ามเขต
1.3 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ/ค่าบริการฟื้นฟูฯ โครงการนาร่อง
2-a กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด*
(บริหารจัดการโดยกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด)
2.1 สนับสนุนหน่วยบริการประจา (CUP) เพื่อให้บริการฟื้นฟูฯ และ
อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการในพื้นที่ แบบเหมาจ่ายตามจานวนเป้ าหมายที่
รับผิดชอบ โดยกาหนดให้จัดระบบ/เครือข่ายบริการที่เชื่อมโยงบริการระดับ
จังหวัด-อาเภอ-ตาบล ตามหลักเกณฑ์และรายการที่ สปสช. กาหนด
จัดระบบการกากับติดตาม และบริหารในรูปแบบของคณะกรรมการ (ใน
หน่วยบริการประจา) โดยมีองค์ประกอบ
- ผอ.รพ. หรือ รอง ผอ.รพ. เป็นประธานกรรมการ
- ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ
- แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู เป็นกรรมการและเลขานุการ
- นักกายภาพบาบัด หรือ นักกิจกรรมบาบัด หรือ นักจิตวิทยาคลินิก
เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
2.2 การปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยเพื่อสุขภาพคนพิการ (Universal
Design : UD) และบริการฟื้นฟูด้านสังคม
2-b กรณี
จังหวัดที่ไม่มี
กองทุนฟื้ นฟูฯ
จังหวัด
(บริหาร
จัดการโดย
สปสช.เขต)
ดาเนินการ
เหมือนกรณี
2-a ตามข้อ
2.1 (ยกเว้นข้อ
2.2)
* กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด แต่กองทุนฯ ยังไม่พร้อมดาเนินการเต็มรูปแบบ ให้
สปสช.เขต บริหารจัดการร่วมกับกองทุนฯ โดย สปสช.เขต ดาเนินการ ข้อ 2.1 และกองทุนฯ
ดาเนินการ ข้อ 2.2
งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพ
ด้านการแพทย์
ปี งบประมาณ
2561
1. งบบริการฟื้ นฟูฯ
ระดับประเทศ
2. งบบริการฟื้ นฟูฯ
ระดับเขต
เหมือนปีงบประมาณ
2560
เหมือนปีงบประมาณ
2560
หมายเหตุ : ปีงบประมาณ
2561 ดาเนินการปรับ
รูปแบบ/กลไก/แนวทาง การ
บริหารค่าใช้จ่ายบริการฟื้นฟู
สมรรถภาพด้านการแพทย์
พัฒนาระบบ preauthorized
อุปกรณ์ฯ ระบบทะเบียน และ
ชุดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้าน
การแพทย์สาหรับระยะฟื้นฟู
และระยะยาว เพื่อเริ่มใช้
ปีงบประมาณ 2562 (1
ตุลาคม 2561)
งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
(16.13 บาทต่อผู้มีสิทธิ 786.934 ลบ.)
สาหรับหน่วยบริการ องค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้ นฟูฯ
ระดับจังหวัด
 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการ
ตามความพร้อม
 ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล **
 ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท.
 ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนากาลังคนด้านการฟื้ นฟูฯ
 ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้
สาหรับหน่วยบริการและกองทุนฟื้ นฟูฯระดับจังหวัด
ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต
ซ่อม)
ค่าบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ
ผู้ป่วย subacute
(บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน)
ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
กรอบการบริหารงบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2559
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ
(ไม่เกิน 0.55 บ.)
26.832 ลบ.
งบบริการฟื้ นฟูและอุปกรณ์
เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 15.58 บ.)
760.101 ลบ.
POP UC =48.787 ลค.
หมายเหตุ : ** ต้องเป็ นองค์กรภาครัฐที่มีการจัดบริการฟื้ นฟูฯ
6
7
งบบริการฟื้นฟูระดับเขต
(14.53 บาทต่อผู้มีสิทธิ) 709,106,137 บาท
กรอบหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปี 2560
งบบริการฟื้นฟูระดับประเทศ
(1.60 บาทต่อผู้มีสิทธิ) 78,084,640 บาท
งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
(16.13 บาทต่อผู้มีสิทธิ) 787,190,777 บาท
เป็นค่าใช ้จ่ายสาหรับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการและ
ค่าบริการ
 สาหรับหน่วยบริการระดับตติยภูมิฟื้นฟูสมรรถภาพ
ด ้านการแพทย์
 การตามจ่ายกรณีข ้ามเขต
 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ/ค่าบริการที่เป็น
โครงการนาร่อง
UC pop 48.8029 ล ้านคน
ในปี 2559 มีกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด จานวน 40 แห่ง
1) ให ้หน่วยบริการ /หน่วยงาน สาหรับ
 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยสาหรับความพิการ
 บริการสาหรับผู้ป่ วยระยะฟื้นฟู
 บริการฟื้นฟูคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่ติดบ ้านติดเตียง
 ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์
 ค่าฝึก O&M สาหรับคนพิการสายตา
2) ให ้สามารถจ่ายให ้กับกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด โดยอัตราโดย
อัตราการสมทบให ้เป็นความเห็นชอบร่วมกันสองฝ่ าย
8
องค์ประกอบการจัดการระบบการดูแลผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (Sub-acute Rehabilitation)
• ความสาคัญและความจาเป็ นของการดูแลผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (sub-acute rehabilitation)
• นิยามผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และเกณฑ์ (ข้อบ่งชี้) ในการเข้าสู่ระบบบริการ
• หน่วยบริการและบุคลากรผู้ให้บริการ (ความพอเพียง / การกระจาย / เกณฑ์ประเมินความ
พร้อมในการจัดบริการ)
• รูปแบบและขั้นตอนการบริการ
• ต้นทุนบริการ การจัดการทางการเงิน และการออกแบบการจ่าย
• การจัดการระบบข้อมูล/ฐานข้อมูล และการรายงานผลการดาเนินงาน
• การนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล
9
ประเด็นท้าทาย
• ความเชื่อมโยงการจัดบริการในหน่วยบริการระดับต่างๆ และในชุมชนร่วมกับ
 อปท.
 องค์กรคนพิการ
 ชุมชน
• การบูรณาการบริการในชุมชน ภายใต้การดาเนินงานของ
 กองทุนฟื้ นฟูสมรรถภาพที่จาเป็ นต่อสุขภาพระดับจังหวัด (อบจ.)
 กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (อบต./เทศบาล)
 กองทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (LTC / พม.)
• การจัดระบบบริการดูแลอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
10
โอกาสการขยายงาน Sub-acute Rehabilitation ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ยินดีให้การสนับสนุนการพัฒนาระบบการดูแล
ฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (Sub-acute Rehabilitation) เพื่อให้ผู้ป่ วย
ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากระยะเฉียบพลัน และการดูแลระยะยาวในผู้สูงอายุ ผู้ป่ วย
เรื้อรัง และคนพิการ เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุและผู้ป่ วยเรื้อรังที่จะก้าวเข้าสู่ภาวะพิการ ภาวะ
พึ่งพิง ให้มีจานวนน้อยลง”
• Inpatient medical and rehabilitation program
• Referral model ใน Service plan
• Outsource
11
การขับเคลื่อนการดาเนินงานด้วยทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา*
ประชาชน
(อานาจสังคม)
การเมืองและราชการ
(อานาจรัฐ)
วิชาการและวิชาชีพ
(อานาจความรู้)
*ศ. น.พ. ประเวศ วะสี
นิยามผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และเกณฑ์
การเคลื่อนไหวทางสังคม
Service plan : การออกแบบระบบบริการ การส่งต่อ
การมีส่วนร่วม
Clinical practice guideline
Training
CBR
สปสช. คณะกรรมการ หลักฯ กรรมการควบคุมฯ
สธ. สสส. สช.
อปท. (ตาบล เทศบาล อบจ. กทม.)
เครือข่าย 9 ด้าน
กระทรวง ที่เกี่ยวข้อง
ราชวิทยาลัย สมาคม ที่เกี่ยวข้อง
Benefit package
สปสช. SSS CSMBS : Payment
การขยายงาน Sub-acute
Rehabilitation
12

More Related Content

More from Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCChuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทางChuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นChuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 

โอกาสขยายงานSubacute chuchai

  • 1. โอกาสการขยายงาน Sub-acute Rehabilitation ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นายแพทย์ชูชัย ศรชานิ รองเลขาธิการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 5 สิงหาคม 2559 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ
  • 2. เป้ าหมายการ ดาเนินงาน ระยะ 3 ปี (2560- 2562) 1. คนพิการได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการและบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพตามความจาเป็ นอย่างทั่วถึงและ ครอบคลุม ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 2. ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ และผู้ป่ วยติด บ้านติดเตียง ได้รับบริการด้านการฟื้ นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 3. หน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้องถิ่น และองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบบริการฟื้ นฟู สมรรถภาพ โดยการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้แก่คนพิการ รวมทั้งจัดบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพให้แก่ ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ และผู้ป่ วยติดบ้าน ติดเตียง ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. องค์กรคนพิการมีการพัฒนาศักยภาพด้านการฟื้ นฟูสมรรถภาพ และรวมกลุ่มเกิดความเข้มแข็ง สามารถร่วมมือ กับหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้องถิ่น ชุมชน และมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพช่วยเหลือคนพิการด้วย กันเอง 5. เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรคนพิการ องค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง และ ชุมชน ในการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้บริการฟื้ นฟูสมรรถภาพแก่ คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่ วยที่อยู่ในระยะกึ่งเฉียบพลันที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพร่วมกัน ทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน อย่างยั่งยืน 2 กรอบแนวทางการดาเนินงานสนับสนุนระบบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
  • 3. กลุ่มเป้ าหมา ย (ผู้มีสิทธิ หลักประกัน สุขภาพ แห่งชาติ) - ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (sub-acute) - คนพิการ (รหัสสิทธิย่อย 74) - ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ - ผู้ป่ วยติดบ้านติดเตียง (คะแนน Bathel ADL index เท่ากับ หรือ น้อยกว่า 11 คะแนน) ยุทธศาสตร์ • พัฒนาระบบบริการเชิงรุกในชุมชน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์และอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ แก่ ผู้ป่ วยที่จาเป็ นต้องได้รับการฟื้ นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็ นต้องได้รับ การฟื้ นฟูฯ และผู้ป่ วยติดบ้านติดเตียง • สนับสนุนการบูรณาการระบบบริการร่วมกันระหว่าง หน่วยบริการ สหสาขาวิชาชีพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์เครื่องช่วยความ พิการ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ • พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการและการสนับสนุนการจัดบริการของกองทุนฟื้ นฟูสมรรถภาพที่จาเป็ นต่อ สุขภาพระดับจังหวัดที่จัดตั้งขึ้นแล้ว • พัฒนาสิทธิประโยชน์ด้านฟื้ นฟูสมรรถภาพให้เกิดความเท่าเทียมระหว่าง 3 กองทุน 3 กรอบแนวทางการดาเนินงานสนับสนุนระบบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (ต่อ)
  • 4. ปี 2557 14.95 บาท : ปชก. UC = 730.337 ล้าน บาท ปี 2556 12.88 บาท : ปชก. UC = 623.971 ล้าน บาท ปี 2558 14.95 บาท : ปชก. UC = 726.659 ล้าน บาทปี 2559 16.13 บาท : ปชก. UC = 786.934 ล้าน บาท 4 ปี 2560 16.13 บาท : ปชก. UC = 787.191 ล้าน งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ปี 2548-2560
  • 5. (ร่าง) กรอบการบริหารงบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปี 2560-2562 5 งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (16.13 บ. X 48.8029 ลค.) 787,190,777 บาท ปี งบประมาณ 2560 1. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับประเทศ (1.60 บ. X 48.8029 ลค.) 78,084,640 บาท 2. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับเขต (14.53 บ. X 48.8029 ลค.) 709,106,137 บาท 1.1 ค่าบริการสาหรับหน่วยบริการตติยภูมิด้านงานฟื้นฟูสมรรถภาพ 1.2 ค่าอุปกรณ์ฯ กรณีคนพิการรับบริการข้ามเขตพื้นที่ 1.3 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ/ค่าบริการฟื้นฟูฯ ที่เป็นโครงการนาร่อง 2-a กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด* (บริหารจัดการโดยกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด) 2.1 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา, ผลิต, ซ่อมแซม) 2.2 ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับ การฟื้นฟูฯ (sub-acute) คนพิการ ผู้สูงอายุที่จาเป็นต้อง ได้รับการฟื้นฟูฯ และผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง 2.3 ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ 2.4 ค่าปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยเพื่อสุขภาพคน พิการ (Universal Design : UD) และบริการฟื้นฟูด้าน สังคม 2-b กรณี จังหวัดที่ไม่มี กองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด (บริหารจัดการ โดย สปสช. เขต) ดาเนินการ เหมือนกรณี 2-a เฉพาะข้อ 2.1-2.3 (ยกเว้น ข้อ 2.4) * กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด แต่กองทุนฯ ยังไม่พร้อมดาเนินการเต็ม รูปแบบ ให้ สปสช.เขต บริหารจัดการร่วมกับกองทุนฯ โดยกาหนดบทบาท ดาเนินการ ข้อ 2.1-2.4 ตามความเหมาะสม หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2560 ดาเนินการปรับ ระเบียบ/ประกาศ การบริหาร จัดการกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด เพื่อเริ่มใช้ปีงบประมาณ 2561 (1 ตุลาคม 2560) งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (xx.xx บ. X xx.xxxx ลค.) xxx.xxxx บาท ปี งบประมาณ 2562 1. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับประเทศ (x.xx บ. X xx.xxxx ลค.) xx.xxxx บาท 2. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับเขต (xx.xx บ. X xx.xxxx ลค.) xxx.xxxx บาท 1.1 ค่าบริการสาหรับหน่วยบริการตติยภูมิด้านฟื้นฟูฯ 1.2 ค่าบริการอุปกรณ์ฯ กรณีคนพิการรับบริการข้ามเขต 1.3 ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ/ค่าบริการฟื้นฟูฯ โครงการนาร่อง 2-a กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด* (บริหารจัดการโดยกองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด) 2.1 สนับสนุนหน่วยบริการประจา (CUP) เพื่อให้บริการฟื้นฟูฯ และ อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการในพื้นที่ แบบเหมาจ่ายตามจานวนเป้ าหมายที่ รับผิดชอบ โดยกาหนดให้จัดระบบ/เครือข่ายบริการที่เชื่อมโยงบริการระดับ จังหวัด-อาเภอ-ตาบล ตามหลักเกณฑ์และรายการที่ สปสช. กาหนด จัดระบบการกากับติดตาม และบริหารในรูปแบบของคณะกรรมการ (ใน หน่วยบริการประจา) โดยมีองค์ประกอบ - ผอ.รพ. หรือ รอง ผอ.รพ. เป็นประธานกรรมการ - ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ - แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู เป็นกรรมการและเลขานุการ - นักกายภาพบาบัด หรือ นักกิจกรรมบาบัด หรือ นักจิตวิทยาคลินิก เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2.2 การปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยเพื่อสุขภาพคนพิการ (Universal Design : UD) และบริการฟื้นฟูด้านสังคม 2-b กรณี จังหวัดที่ไม่มี กองทุนฟื้ นฟูฯ จังหวัด (บริหาร จัดการโดย สปสช.เขต) ดาเนินการ เหมือนกรณี 2-a ตามข้อ 2.1 (ยกเว้นข้อ 2.2) * กรณีจังหวัดที่มีกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด แต่กองทุนฯ ยังไม่พร้อมดาเนินการเต็มรูปแบบ ให้ สปสช.เขต บริหารจัดการร่วมกับกองทุนฯ โดย สปสช.เขต ดาเนินการ ข้อ 2.1 และกองทุนฯ ดาเนินการ ข้อ 2.2 งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพ ด้านการแพทย์ ปี งบประมาณ 2561 1. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับประเทศ 2. งบบริการฟื้ นฟูฯ ระดับเขต เหมือนปีงบประมาณ 2560 เหมือนปีงบประมาณ 2560 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2561 ดาเนินการปรับ รูปแบบ/กลไก/แนวทาง การ บริหารค่าใช้จ่ายบริการฟื้นฟู สมรรถภาพด้านการแพทย์ พัฒนาระบบ preauthorized อุปกรณ์ฯ ระบบทะเบียน และ ชุดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้าน การแพทย์สาหรับระยะฟื้นฟู และระยะยาว เพื่อเริ่มใช้ ปีงบประมาณ 2562 (1 ตุลาคม 2561)
  • 6. งบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (16.13 บาทต่อผู้มีสิทธิ 786.934 ลบ.) สาหรับหน่วยบริการ องค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้ นฟูฯ ระดับจังหวัด  ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการ ตามความพร้อม  ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล **  ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท.  ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนากาลังคนด้านการฟื้ นฟูฯ  ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ สาหรับหน่วยบริการและกองทุนฟื้ นฟูฯระดับจังหวัด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต ซ่อม) ค่าบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย subacute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ กรอบการบริหารงบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2559 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 0.55 บ.) 26.832 ลบ. งบบริการฟื้ นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า 15.58 บ.) 760.101 ลบ. POP UC =48.787 ลค. หมายเหตุ : ** ต้องเป็ นองค์กรภาครัฐที่มีการจัดบริการฟื้ นฟูฯ 6
  • 7. 7 งบบริการฟื้นฟูระดับเขต (14.53 บาทต่อผู้มีสิทธิ) 709,106,137 บาท กรอบหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปี 2560 งบบริการฟื้นฟูระดับประเทศ (1.60 บาทต่อผู้มีสิทธิ) 78,084,640 บาท งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (16.13 บาทต่อผู้มีสิทธิ) 787,190,777 บาท เป็นค่าใช ้จ่ายสาหรับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการและ ค่าบริการ  สาหรับหน่วยบริการระดับตติยภูมิฟื้นฟูสมรรถภาพ ด ้านการแพทย์  การตามจ่ายกรณีข ้ามเขต  ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ/ค่าบริการที่เป็น โครงการนาร่อง UC pop 48.8029 ล ้านคน ในปี 2559 มีกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด จานวน 40 แห่ง 1) ให ้หน่วยบริการ /หน่วยงาน สาหรับ  ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยสาหรับความพิการ  บริการสาหรับผู้ป่ วยระยะฟื้นฟู  บริการฟื้นฟูคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่ติดบ ้านติดเตียง  ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์  ค่าฝึก O&M สาหรับคนพิการสายตา 2) ให ้สามารถจ่ายให ้กับกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด โดยอัตราโดย อัตราการสมทบให ้เป็นความเห็นชอบร่วมกันสองฝ่ าย
  • 8. 8 องค์ประกอบการจัดการระบบการดูแลผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (Sub-acute Rehabilitation) • ความสาคัญและความจาเป็ นของการดูแลผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (sub-acute rehabilitation) • นิยามผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และเกณฑ์ (ข้อบ่งชี้) ในการเข้าสู่ระบบบริการ • หน่วยบริการและบุคลากรผู้ให้บริการ (ความพอเพียง / การกระจาย / เกณฑ์ประเมินความ พร้อมในการจัดบริการ) • รูปแบบและขั้นตอนการบริการ • ต้นทุนบริการ การจัดการทางการเงิน และการออกแบบการจ่าย • การจัดการระบบข้อมูล/ฐานข้อมูล และการรายงานผลการดาเนินงาน • การนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล
  • 9. 9 ประเด็นท้าทาย • ความเชื่อมโยงการจัดบริการในหน่วยบริการระดับต่างๆ และในชุมชนร่วมกับ  อปท.  องค์กรคนพิการ  ชุมชน • การบูรณาการบริการในชุมชน ภายใต้การดาเนินงานของ  กองทุนฟื้ นฟูสมรรถภาพที่จาเป็ นต่อสุขภาพระดับจังหวัด (อบจ.)  กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (อบต./เทศบาล)  กองทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (LTC / พม.) • การจัดระบบบริการดูแลอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
  • 10. 10 โอกาสการขยายงาน Sub-acute Rehabilitation ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ “สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ยินดีให้การสนับสนุนการพัฒนาระบบการดูแล ฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (Sub-acute Rehabilitation) เพื่อให้ผู้ป่ วย ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากระยะเฉียบพลัน และการดูแลระยะยาวในผู้สูงอายุ ผู้ป่ วย เรื้อรัง และคนพิการ เพื่อลดอัตราผู้สูงอายุและผู้ป่ วยเรื้อรังที่จะก้าวเข้าสู่ภาวะพิการ ภาวะ พึ่งพิง ให้มีจานวนน้อยลง” • Inpatient medical and rehabilitation program • Referral model ใน Service plan • Outsource
  • 11. 11 การขับเคลื่อนการดาเนินงานด้วยทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา* ประชาชน (อานาจสังคม) การเมืองและราชการ (อานาจรัฐ) วิชาการและวิชาชีพ (อานาจความรู้) *ศ. น.พ. ประเวศ วะสี นิยามผู้ป่ วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และเกณฑ์ การเคลื่อนไหวทางสังคม Service plan : การออกแบบระบบบริการ การส่งต่อ การมีส่วนร่วม Clinical practice guideline Training CBR สปสช. คณะกรรมการ หลักฯ กรรมการควบคุมฯ สธ. สสส. สช. อปท. (ตาบล เทศบาล อบจ. กทม.) เครือข่าย 9 ด้าน กระทรวง ที่เกี่ยวข้อง ราชวิทยาลัย สมาคม ที่เกี่ยวข้อง Benefit package สปสช. SSS CSMBS : Payment การขยายงาน Sub-acute Rehabilitation
  • 12. 12