SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
มานุษยวิทยา
การแพทย์
ในศตวรรษที่ 21
สำนักวิจัยสังคมและสุขภำพ
ปาฐกถาในการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ ๑๒
ศูนย์มานุษยวิทยาสิริธร วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๐
“สิ่งที่ผมภูมิใจที่สุดก็คือการที่คนรุ่นผม – ไม่ใช่แค่ตัวผมหรือ
หลักสูตรที่ผมสอน, แต่หมายถึงคนในรุ่นผมทั้งหมด, คน
อย่างมาร์กาเร็ต ล็อค, แนนซี่ เชเปอร์ฮิวส์, อัลแลน ยัง,
มาร์ค นิกเตอร์และคนอื่นอีกมากมาย - ได้เปลี่ยนแปลง
มานุษยวิทยาการแพทย์
ไปแล้วอย่างสิ้นเชิง”
อาร์เธอร์ ไคลน์แมน
นักมานุษยวิทยาการแพทย์
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ไมโตครอนเดีย
(ผสม)พันธุกรรม
กับพ่อแม่ 3 คน
Baby Gammy & Carmen
Medical tourism – Global health
กับชีวิตบั้นปลายของคนุ๊ค
การแพทย์ในศตวรรษที่ 21
เทคโนโลยี ชีวจริยศาสตร์และผลกระทบทางสังคม
เทคโนโลยีทางการแพทย์ได้เปลี่ยนแปลงคุณค่า ความหมาย
และรูปแบบการดาเนินชีวิต นับตั้งแต่การตั้งครรภ์ การเกิด
การแก่ การเจ็บป่วยและการตาย ผ่านจริยศาสตร์ใหม่ที่มา
กับความเป็นไปได้ใหม่ๆ และปฏิบัติการเชิงอานาจแบบใหม่
Omran, Abdel (1971) The Epidemiologic Transition:
A Theory of the Epidemiology of Population Change
การเปลี่ยนผ่านทางประชากรและระบาดวิทยา
Demographic/Epidemiologic Transition
•
•
•
การแพทย์ในศตวรรษที่ 21
การเปลี่ยนผ่านทางระบาดวิทยา
Epidemiologic
Transitions
• ครั้งที่ 1 การเกิดขึ้นโรคติดต่อเมื่อ
มนุษย์เริ่มอยู่รวมกันเป็นชุมชนในยุค
หินใหม่
• ครั้งที่ 2 การเกิดโรคไร้เชื้อเรื้อรังที่
สัมพันธ์กับวิถีชีวิตและการบริโภคใน
ยุคอุตสาหกรรม
• ครั้งที่ 3 การเกิดขึ้นของโรคอุบัติ
ใหม่/โรคอุบัติซ้าที่แพร่ระบาดไปทั่ว
โลกในยุคโลกาภิวัตน์
สุขภาพ โรค และการเปลี่ยนแปลง
โลกในยุค Anthropocene
• Social determinants vs
Ecological determinants
• คุกคามความหลากหลายทางชีวภาพ
• ทาลายอาหารและความมั่นคงของ
ระบบอาหารท้องถิ่น
• ภัยพิบัติจากธรรมชาติรุนแรงขึ้น
• การอพยพและการพลัดถิ่น
• โรคใหม่ๆ อันเกิดจากภูมิอากาศที่
เปลี่ยนแปลง (โรคจากสัตว์ เชื้อโรค
และพาหะนาโรคที่ขยายพันธุ์ผิดปกติ)
• มาพร้อมกับโอกาสใหม่ๆ เช่นกัน
การแพทย์ในศตวรรษที่ 21
รัฐ ทุนกับการเมืองเรื่องสุขภาพ
• เสรีนิยมใหม่ ทุนนิยมโลก และสิทธิสุขภาพ
• ยา ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์กับทุนนิยมโลก
• การแย่งชิงทรัพยากรด้านสุขภาพและการแพทย์
• สิทธิสุขภาพกับสิทธิมนุษยชน
• การเกิดขึ้นของลัทธิชาตินิยม-ประชานิยมใหม่
• ประชาธิปไตยกับการเมืองของภาคประชาชน
มานุษยวิทยา การแพทย์กับสังคม
• การแพทย์สัมพันธ์และส่งผลต่อชีวิต เศรษฐกิจและสังคม
• การแพทย์ดารงอยู่ภายใต้บริบททางสังคมและการเมือง
• การแพทย์เป็นทั้ง “เหตุปัจจัย” และ “ผลผลิต” ของพล
วัตรการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
• สังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาศึกษา “การแพทย์” ใน
ฐานะปรากฏการณ์ทางสังคม (ภาพตัวแทนของความคิดต่อ
ชีวิต ความสัมพันธ์ อานาจ และความเป็นไปของจักรวาล)
• มานุษยวิทยาเปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง
ของเศรษฐกิจสังคม
การเปลี่ยนผ่านของมานุษยวิทยา
• การเปลี่ยนผ่านของนิยามวัฒนธรรม
• จากโครงสร้างและระบบ
มาสู่ความสนใจใน “คน”
• การหันมาสนใจศึกษา
การแพทย์สมัยใหม่
• การสะท้อนย้อนคิด
กับบทบาทมานุษยวิทยา
คนมองคน :
นานาชีวิตในกระแสความเปลี่ยนแปลง
การประชุมประจาปีทางมานุษยวิทยา
วันที่ 27-29 มีนาคม 2545
ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
การเปลี่ยนผ่านของนิยามวัฒนธรรม
• จาก “ของชั้นสูง” เป็น “ของสามัญชน”
• จาก “ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีงาม” เป็น
ปฏิบัติการของอานาจและเครื่องอาพรางการกดขี่
• จาก “วิถีปฏิบัติร่วมกัน” เป็น “การช่วงชิง ต่อต้าน
ต่อรองและการท้าทาย”
• จาก “วัฒนธรรมท้องถิ่น” (Authenticity)
เป็น “วัฒนธรรมลูกผสม” (Hybridity)
• จากเรื่องเฉพาะมนุษย์ (Human exceptionalism)
เป็นเรื่องมนุษย์ + non-human + materials
The condition of human’s entanglement in
complex relations with animals, materials,
and technology.
การเปลี่ยนผ่านของนิยามวัฒนธรรม
• From anthropocentrism to Post-humanities
• การสลายของเส้นแบ่งระหว่างธรรมชาติ-วัฒนธรรม
Natureculture / Naturalcultural
• จากชาติพันธุ์นิพนธ์ Ethnography สู่
“หลากสายพันธุ์นิพนธ์” Multispecies ethnography
• มนุษย์กับอมนุษย์ Human/Non-human: Cyborg
• Semiotic Material: วัตถุไม่ใช่สิ่งเฉื่อยชาหยุดนิ่ง
ถูกกระทา แต่เป็น co-actor cohabitation
ที่ร่วมสร้างโลกแห่งความจริง (Coproduction)
• มนุษย์ “มาเป็น” (Becoming) มนุษย์ไม่ได้
หากปราศจาก intra-action กับวัตถุและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
จากโครงสร้าง-ระบบมาสู่ “คน”
Body, Experience and the Senses
• จากโครงสร้างนิยม สู่หลังโครงสร้างนิยม
• From discursive turn to corporeal turn
• จาก “โครงสร้าง” มาสู่ “การปฏิบัติ”:
agency, practice, performance & activities
• From power to biopower to body politics
• จาก “ระบบการแพทย์” มาสู่
“โลกแห่งประสบการณ์ความเจ็บป่วย”
• จาก Cognitive มาสู่ Senses & Embodiment
• จาก “สัญญะ” สู่อารมณ์ & “มานุษยวิทยาที่รู้สึก”
• From constructed reality to enacted realities
• จากการศึกษาระบบการแพทย์พื้นบ้าน
มาสู่การแพทย์สมัยใหม่ Anthropology of Biomedicine
• Sick role and the institution of medicine
• Health behavior: Health-seeking & cultural traits
วัฒนธรรม พฤติกรรมกับการเกิดโรค (ระบาดวิทยา)
• Doctor-patient relationship, Emic vs etic views
• Culture of biomedicine;
Social construction of knowledge.
• Narrative, illness experience & hospital ethnography
• Biopower ชีวะอานาจ & medical gaze
• Body, bio-social differentiation and local biologies
การหันมาศึกษาการแพทย์สมัยใหม่
การหันมาศึกษาการแพทย์สมัยใหม่
• Beyond determinism: Epigenetic & Postgenomics
• Biosociality, patient-in-waiting, genetic citizenship
• การเฟื่องฟูของ Science and Technology Studies,
Cultural studies of science
• จากการศึกษา “ภาพตัวแทน” ของความเจ็บป่วย
มาศึกษา “ภววิทยา” ทางการแพทย์
• Medical reality vs multiple realities
• Antimicrobial Resistance, microbiome
& multispecies ethnography
• Dark anthropology & anthropology of care,
morality and ethics
การสะท้อนคิดและบทบาทนักมานุษยวิทยา
• ก้าวพ้นอดีต: การรับใช้จักรวรรดินิยมและสงครามเย็น
• มานุษยวิทยาการแพทย์ในฐานะมานุษยวิทยาประยุกต์
• วิกฤตภาพตัวแทนวัฒนธรรม
• จากชาติพันธุ์นิพนธ์มาสู่การวิพากษ์การเขียนวัฒนธรรม
• จาก Social suffering สู่ Structural violence
จากมานุษยวิทยา มาเป็นมานุษยวิทยาสาธารณะ
Public anthropology; Engaged anthropology
• จากการศึกษา “คนไร้อานาจ”
มาสู่มานุษยวิทยาสมมาตร Symmetrical anthropology
• จากนักวิชาการสู่นักกิจกรรม (1) sharing and support,
(2) teaching and public education, (3) social critique,
(4) collaboration, (5) advocacy, and (6) activism
เส้นทางข้างหน้า มานุษยวิทยาไทย
- วิธีวิทยาใน anthropology of the moderns
- มานุษยวิทยากับการแบ่งสายวิทย์-ศิลป์
- การทางานกับวิชาชีพอื่นๆ
(Informant, counterpart or colleague?)
- Audit culture กับมหาวิทยาลัยที่ง่อยเปลี้ย
- การวิจัยกับระบบอุตสาหกรรมความรู้
- บทบาททางสังคมของนักมานุษยวิทยา
- การสร้างนักมานุษยวิทยารุ่นใหม่
- ผลักดันนโยบาย กฎหมาย โครงสร้าง
- Situated Knowledge กับมานุษยวิทยาไทย
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21

More Related Content

What's hot

11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
Watcharin Chongkonsatit
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัน พัน
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
taem
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
techno UCH
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Narenthorn EMS Center
 

What's hot (20)

คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Ha
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 

Similar to มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21

Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or ThreatsSocial Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21 (20)

Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future direction
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
 
แพทยศาสตร์
แพทยศาสตร์แพทยศาสตร์
แพทยศาสตร์
 
Theoryorem
TheoryoremTheoryorem
Theoryorem
 
Simenar IM3
Simenar IM3Simenar IM3
Simenar IM3
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or ThreatsSocial Media in Nursing: Opportunities or Threats
Social Media in Nursing: Opportunities or Threats
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 

มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21