SlideShare a Scribd company logo
Anemia
      Hemolytic anemia
Auto Immune Hemolytic Anemia
          (AIHA)



          By Softmail
Definition
 Anemia  เป็นลักษณะอาการทางคลินิกของ
 โรค(disease)
 หมายถึง ภาวะ “ซีด” หรือ “โลหิตจาง”

Hemolysis   หมายถึง แตกตัว-สลายตัว
Hemolytic anemia(HA) หมายถึง ภาวะโลหิต
 จางที่เกิดจากการแตกสลาย มีทำาลาย เม็ดเลือดแดง
คือ ภาวะที่เม็ดเลือดแดงจะมีอายุสนลง
                                 ั้

Autoimmune       hemolytic anemia(AIHA)
คือ ภาวะที่เม็ดเลือดแดงจะมีอายุสนลง จากภูมิ
                                 ั้
 ต้านทานตนเอง
Hemolytic anemia เป็นสาเหตุ กลุ่ม
หนี่งของภาวะโลหิตจาง ที่มีสาเหตุอยู่
เป็นจำานวนมาก
 AIHA เป็นโรคในกลุ่ม
 
 hemolytic anemia           Anemia
 ซึ่งมีอยู่หลายโรคเช่นกัน

                       Hemolytic Anemia
AIHA  เป็นส่วนหนึง
                  ่
 ของ HA และ                 AIHA
 HA เป็นส่วนหนึ่ง
 ของ Anemia
Today Presentation
พื้นฐาน เรื่อง เม็ดเลือดแดง
การวินิจฉัยโรคโลหิตจาง



Fundamental and clinical of anemia
Normal Red cells
                                                          ลักษณะ ค่อน
                                                           ข้างกลม
                                                          เว้าตรงกลาง
                                                           (biconcave disc
                                                           shape)
                                                          มีสีแดง
                                                           เนื่องจากมี ฮีโม
                                                           โกลบิน
                                                          มีอายุประมาณ
                                                           120 วัน



ถ่ายภาพด้วยเทคนิค Scanning Electron Microscope(SEM)
 ในร่างกายจะมีเม็ดเลือดแดง ประมาณ 20-30              ล้านล้านเซลล์
 ผูหญิง
    ้   4-5 ล้านเซลล์ต่อไมโครลิตร
 ผูชาย 5-6 ล้านเซลล์ต่อไมโครลิตร
    ้
Red blood cells: blood smear
                                                          ตรงกลาง1/3ซีด
                                                           เนื่องจากเป็น
                                                           รอยเว้า
                                                          ขนาด 7-8
                                                           ไมครอน
                                                          ไม่มีนิวเคลียส
                                                          ภายในเซลล์ K
                                                           สูง
                                                          ภายในมีสาร
                                                           สำาคัญ คือ
                                                           hemoglobin

ถ่ายภาพจากกล้องจุลทรรศ์ ย้อมด้วย hematoxylin and eosin (H&E)
 ปริม าตร เม็ดเลือดแดงเฉลี่ยปกติ         83-97 fl = MCV (mean
  corpuscular volume)
RBC: Hemoglobin (Hb)
                                         ประกอบด้วย โปรตีน
                                         4 globin chain+ heme
                                         ค่า ปกติ
                                         เพศชาย  13.8 – 17.2 g/dL
                                         เพศหญิง 12.1 – 15.1 g/dL

                                         heme = Fe + porphylin ring




•MCH(mean corpuscular hemoglobin)
ปริม าณ เฉลี่ยของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงปกติ = 27-32 pg
•MCHC(mean corpuscular hemoglobin concentration)
ความเข้ม ข้น เฉลี่ย ของฮีโ มโกลบิน ในเม็ดเลือดแดงปกติ =
Anemia ภาวะโลหิตจาง :
มีRBCน้อย
  RBC
  Hct : เปอร์เซ็นต์ของเม็ดเลือดแดง ต่อ
   ปริมาณเลือดทั้งหมด
   ค่าปกติของ HCT เพศชายอยู่ที่ 45%
                        เพศหญิงอยู่ที่
   40%
Anemia
Hb/HCt < 80 % ของค่าเฉลี่ยมนุษย์ปกติ
HCt <33% ในสตรีวัยเจริญพันธุ์
HCt <36% ในผู้ชาย และ สตรีวัยหมดระดู
RBC indices
MCV (mean corpuscular volume)
 ปริม าตร เม็ดเลือดแดงเฉลียปกติ = 80-96 fl
                          ่
MCH(mean corpuscular hemoglobin)
 ปริม าณ เฉลี่ยของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงปกติ
 = 27-32 pg
MCHC(mean corpuscular hemoglobin
 concentration)
 ความเข้ม ข้น เฉลี่ย ของฮีโ มโกลบิน ในเม็ดเลือด
 แดงปกติ = 33-36 g/dl
RWD(red cell distribution width )
วงจรชีวิต Red blood cell
สร้า ง
                                                 ทำา ลาย(ต
(เกิด )
                        เรียน จดจำา ภูมิ         าย)
                        ต้านทาน




                        ทำางาน ขนส่ง O2

                         ซ่อมแซม
          เข้า สู่ร ะบบไหลเวีย น : อายุเ พีย ง 120
การวินิจฉัยภาวะ Anemia
แบ่ง   3 กลุมตามวงจงชีวิต
               ่
 (pathophysiologic approach)
สร้างน้อย-เกิดน้อย Impaired RC formation
 ปัญหาทีการสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ จาก
           ่
 ไขกระดูก หรือ ขาดสารที่จำาเป็นในการ
 สร้างเม็ดเลือดแดง
ทำาลาย-ตายมาก Hemolytic anemia
 โครงสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ มีสารหรือ
 ภูมิคุ้มกันทำาลายตนเอง ทำาให้มีการแตก
 สลายตัวของเม็ดเลือด ถูกจับทำาลายได้
เสียเลือด สูญเสีย Blood loss
 เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร ทางเดิน
 ปัสสาวะ สูญเสียเลือดโดยที่ร่างกายสร้าง
 ใหม่ไม่ทน   ั
Etiology classification : Anemia
Impaired RC      B12,iron deficiency
 formation        Aplastic anemia
 เกิดน้อย         Neoplasm
Hemolytic        Thalassemia
 anemia           AIHA
 ตายมาก
                  Renal/GI loss
Blood loss
 สูญเสีย
                  External cause: trauma
                  Etc.
Anemia approach
ประวัติ ตรวจร่างกาย ร่วมกับ ผลตรวจทาง
 ห้องปฏิบัติการเบื้องต้น CBC, blood
 smear, Reticulocyte count, Coomb’s test
ไขกระดูกทำางานผิดปกติ : ไข้ ก้อนตาม
 ร่างกาย นำ้าหนักลด ปวดกระดูก เลือดออก
 ผิดปกติ
ทำาลายมาก : ซีด เหลือง ตับม้ามโต
 ปัสสาวะเข้ม ดำา
เสียเลือด : ถ่ายดำา อาเจียนเป็นเลือด การ
 ผ่าตัด ระดูมาก
CBC: Complete blood count
Hemoglobin
Hematocrit
WBC    count
Platelet count
Blood smear: RBC morphology,WBC
 differentiation, platlet estimate
RBC index: MCV,MVH,MCHC
MCV ปริมาตรเม็ดเลือดแดง
Blood smear
 ดูลักษณะของ RBC ได้แก่ ขนาด รูปร่าง การ
   ย้อมติดสี การจับกลุม
                      ่
 เป็นต้น สามารถบอกสาเหตุของภาวะซีดได้
   ตัวอย่างเข่น
 Macrocyte(MCV>100): cirrhosis, vitB12
   deficiency etc.
 Microcyte(MCV<80):iron def., thalassemia
   etc.
 Spherocyte เม็ดเลือดแดงทรงกลมป่องออก:
   heriditary spherocystosis เป็นต้น
 Reticulocyte: RBC ตัวอ่อนติดสีเป็นจุดๆ
 Etc.
Reticulocyte
Reticulocyte  count: เพิ่มขึ้น
Reticulocyte count = immature RBC
ปกติอยู่ใน bone marrow จะไม่ออกมา
 เม็ดเลือดแดงตัวอ่อนจะออกมาทำางานก่อน
 กำาหนดเนืองจากร่างกายต้องการ เม็ดเลือด
            ่
 แดงเพิ่มขึ้น จากภาวะโลหิตจาง ที่
 ไขกระดูกยังทำางานได้ดี
Coomb’s test(กรณีสงสัย AIHA)
เป็นการทดสอบหา antibody ที่มีต่อ antigen
  บนผิวเม็ดเลือดแดง
Antibody คือ โปรตีนของระบบภูมิคุ้มกันที่
  มีหน้าที่จับและทำาลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่
  ร่างกาย
Antibody มีหลายชนิด ซึ่งจะจดจำาเป้า
  หมายที่จำาเพาะ คือ antigen ซึ่งมีหลาก
  หลายตามแต่ชนิดของสิ่งแปลกปลอมนั้น
Antigen สารที่สามารถ กระตุ้นระบบภูมิ
  ต้านทานแบบจำาเพาะได้
สรุป แนวทางวินิจฉัยภาวะโลหิต
จาง
โดยใช้  MCV
 (ขนาดหรือปริมาตร ของRBC)
reticulocyte count
 (จำานวน RBC ตัวอ่อนที่พบ)
และ Coombs test
 (หา antibody ต่อ RBC)

Flow   chart หน้าถัดไป
แนวทางวินิจฉัยภาวะโลหิตจาง โดย
ใช้ MCV, reticulocyst count และ
Coombs test
Hemolytic anemia
ภาวะโลหิตจางเนืองจากมีการทำาลายเม็ดเลือด
                ่
 แดงก่อนวัยอันควร
ตำาแหน่งที่ RBC ถูกทำาลาย
 -intravascular ในหลอดเลือด(ตับม้ามไม่โต)
 -extravacular เช่น ม้าม เป็นต้น (ตับม้ามโต)
สาเหตุ
 - intracellular: cell membrane, Hb ผิดปกติ
 เป็นต้น
 - extracellular: autoantibody เป็นต้น
Classification
Hereditary(inherited)
 เกิดจาก พันธุกรรม หรือ กรรมพันธุ์
 มักเป็นการผิดปกติ ที่โครงสร้าง หรือ สารที่อยู่
 ภายในเซลล์ ของเม็ดเลือดแดง

Acquired
 เกิดขึ้นภายหลัง
 มักเป็นการผิดปกติที่เกิดจากระบบภูมิต้านทาน
 หรือ ปัจจัยภายนอกที่มากระทบ
Hereditary(inherited)
Hereditary(inherited)
 ทางพันธุกรรม หรือ กรรมพันธุ์
 ตัวอย่างเช่น
 - Cell membrane- Hereditary spherocytosis
 - Hemoglobin- Thalassemia
 - Enzyme- G6PD defeciency
Acquired
Immune
 -Autoantibody: AIHA
 -Alloantibody: transfusion reaction etc.
 -Drug-induced: quinidine, isoniazid, etc.
Non-immune
 -Paroxysmal Nocturnal hemoglobinuria
 เม็ดเลือดแดงแตกขณะหลับ ตื่นเช้า ปัสสาวะสี
 แดง-โคลา
 -Drug,venom, toxin
 -Organ disfunction
 -Machanical trauma
 -Infection
 -disease อื่นๆ leukemia, SLE, infectious
 mononucleosis
Hemolytic anemia : อาการและ
อาการแสดง
ซีด  เหลือง อ่อนเพลีย ไม่มีแรง มีไข้ วิง
 เวียน มึนงง หัวใจเต้นเร็ว
Acute intravascular hemolysis
 hemoglobinemia, hemoglobinuria ปัสสาวะ
 สีชา หรือ โคลา ถ้ารุนแรง shock, DIC,
 renal failure เสียชีวิต
Chronic hemolysis เกิดตับม้ามโต กระดูก
 เปลี่ยนรูปร่าง เหล็กเกิน เป็นนิ่ว เสียชีวิต
 จาก congestive heart failure
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติและตรวจร่างกาย
ร่วมกับ   CBC, Blood smear, reticulocyte
 count
หลัง จากนัน พิจ ารณา
          ้
ประวัติ ตรวจร่างกาย หรือ CBC บ่งชีไป
                                   ้
 ทางไหนค่อย investigation ต่อไปทางนั้น
ตัว อย่า ง
Thalassemia: ซีด เหลือง ตับ
 ม้ามโต Mongoloid-face มีประวัติ
 ครอบครัว
 (chronic extravascular hemolytic anemia จะ
 มีอาการ ซีด+เหลือง+ตับม้ามโต)
 CBC: MCVตำ่าหรือปกติ, RDW
 สูงขึ้น, reti-count สูง
 Blood smear: hypochromic,
 microcytic, anisocytosis,
 poikilocytosis and target cell
 เป็นต้น
 Comfirm: Hb typing
ตัวอย่าง
G6PD    deficiency
 Acute hemolytic anemia: ซีด เหลือง ตับ
 ม้ามไม่โต ปัสสาวะสีดำา เป็นมาไม่กี่วัน
 (intravascular hemolysis ตับม้ามไม่โต)
  เป็นหลังใช้ยา เพศชาย มักมีประวัติตั้งแต่
 เด็ก
Confirm:ระดับ enzyme G6PD
ตัว อย่า ง
AIHA   : ซีด+เหลือง+ตับม้ามโต เป็นacute
 หรือ subacute ก็ได้
CBC: MCVปกติ, reti-count สูง, RDW
 ปกติ
Confirm: direct Coomb’s test
  หา autoantibody บนผิว RBC

     ผล Positive คือเม็ดเลือดเกาะกลุ่ม
     ผล Negativeคือเม็ดเลือดไม่เกาะกัน
ตัวอย่าง
PNH(Paroxymal hemoglobinuria)
Clinical :ซีด ไม่เหลือง ปัสสาวะสีเข้ม แดง
 ดำาโคล่า เป็นตอนเช้าตื่นนอน ตับม้ามไม่โต

                                 ปัสสาวะสีเข้ม
                                 แดง ดำาโคล่า

Confirm: Ham’s test ทดสอบการแตกตัว
 ของเม็ดเลือดแดงเมื่อถูกทำาให้เป็นกรด ที่
 pH ประมาณ 6.2
                 หลอดที่ 2,4 ผู้ป่วย serum
                 กลายเป็นสีแดง
                 หลอดที่ 1,3 คนปกติ
Hemolytic anemia
Autoimmune hemolytic anemia
ภาวะซีดที่เกิดจากการทำาลายเม็ดเลือดแดง
 ก่อนอายุขัย
เนื่องจากมีการสร้าง autoantibody ต่อ
 RBC ของผู้ปวยเอง
             ่
Classification of AIHA
แบ่งได้ 2 ชนิด ตามคุณสมบัติของ
 autoantibody
 คือ ตามอุณหภูมิที่ antibody(Ab) จับกับ
 Antigen(Ag)

1. Warm type จับได้ดีที่ T 37˚C

2. Cold type จับได้ดีที่ T< 37˚C
  มักตำ่ากว่า 30˚C
Warm-reacting antibody type
เป็น AIHA ที่ autoantibody(Ab) จับกับ
 Antigen(Ag) บนผิวเม็ดเลือดแดง ได้ดีที่ T
 37˚C
พบได้ 80 % ของ AIHA
RBC มักถูก macrophage จับทำาลายนอก
 หลอดเลือด
 (ม้ามมักจะโต)
มักไม่ทำาให้เกิด autoagglutination หรือ
 intravacular hemolysis
มักมาด้วยอาการ ซีด เหลือง ตับ ม้ามโต
Cold-reacting antibody type
เป็น AIHA ที่ autoantibody(Ab) จับกับ
 Antigen(Ag) บนผิวเม็ดเลือดแดง ได้ดีที่ T
 < 37˚C
 ส่วนใหญ่ดีที่สุดที่ T 4˚C
พบได้ 20 % ของ AIHA
RBC มักถูก antibody จับและกระตุ้นระบบ
 complement ตลอดกระบวนการ เป็นผลให้
 เม็ดเลือดแดงแตกในกระแสเลือด
มักทำาให้เกิด autoagglutination หรือ
 intravacular hemolysis (ม้ามไม่โต)
มักมาด้วยอาการซีด เหลือง ปัสสาวะเข้ม สี
 โคล่า
อุบัติการณ์
พบ 1:8000 ราย ต่อ ปี
อายุ 20-30 ปี ต่างประเทศพบในผู้สงอายุ
                                 ู



                         :
            ชาย : หญิง =     1:5
อาการและอาการแสดง
อาการโลหิตจาง     : ซีด เพลีย วิงเวียน
 เหนือยง่าย หากรุนแรงมากเกิด congestive
     ่
 heart failure ได้
บางรายเหลือง ปัสสาวะเข้ม อาจมีไข้ตำ่าๆ
ตรวจร่างกาย
ซีด เหลือง ตับม้ามโต(50% ของผู้ปวย)  ่
Onset
ระยะเวลาที่เป็น ก่อนมาพบแพทย์
โดยทั่วไป มักเป็นแบบ subacute 2-3
 สัปดาห์ก่อนมา
Acute onset เฉียบพลัน มักมี anemia
 รุนแรงจนเสียชีวิตได้
Laboratory
CBC:  HB,Hct ตำ่า WBC,Platelet ปกติ
Blood smear: polychromasia, nucleated
 red cell, spherocytes เพิ่มขึ้น
 บางรายพบ autoagglutinationได้
Reticulocyte count: เพิ่มขึ้น



Autoagglutination= การจับกลุมของ RBC
                             ่
Reticulocyte count = immature RBC ปกติ
 อยู่ใน bone marrow จะไม่ออกมา
Blood smear: พบ?
  Nucleated    red cell: RBC ตัวอ่อนที่ยังมี
   นิวเครียส
  Polychromasia: RBC ตัวอ่อนที่ยังมี RNA
   ทำาให้ติดสีนำ้าเงินม่วง




     Polychromasia           Nucleated red cell:
เม็ดเลือดแดงตัวอ่อนจะออกมาทำางานก่อนกำาหนด
เนืองจาก ความต้องการร่างกาย ในภาวะโลหิตจาง
   ่
Blood smear: พบ?
     spherocytes  เพิ่มขึ้น
       เม็ดเลือดแดงเป็นทรงกลม
RBC    ผิดปกติ                 RBC  ปกติ
 spherocyte                      Biconcave
 ไม่เว้า ตรง
 กลาง

        Blood smear
          RBC กลมตรง
          กลางไม่ซีด
Blood smear: พบ?
               บางรายพบ     autoagglutinationได

คือ RBC จับกัน
 เป็นกลุ่ม




เนืองจาก
    ่      antibody จับ antigen บนผิว RBC
  ทำาให้RBC ติดกันเป็นกลุ่ม
Reticulocyte count
        Reticulocyte    count = immature RBC
         Reticulocyte count(RC) : เพิ่มขึ้น ใน
           AIHA
         ปกติ reticulocyte อยู่ใน bone marrow จะ
           ไม่ออกมา แต่ต้องออกมาทำางานก่อน
(ถ้าซีดจาก ไขกระดูก ผิองจากร่างกายต้องการ เม็ดเลือด
           กำาหนดเนื่ ดปกติ RC จะตำ่า)
           แดงเพิ่มขึ้น จากภาวะโลหิตจาง
Serology *****
       เป็นหัวใจของการวินิจฉัยโรค
                                 AIHA
       หาหลักฐานของ autoantibody ต่อ

มี
        เม็ดเลือดแดง
      3 วิธีการทีใช้บ่อย
                 ่
1) Saline agglutination test
2) Direct agglutination test หรือ
   direct Coombs’ test
   หา Ab บนเม็ดเลือดแดง
3) Indirect agglutination test หรือ
   indirect Coombs’ test
   หา autoantibody อิสระใน serum
Saline agglutination test
ทำาง่าย  ทำาได้ข้างเตียง
นำ้าเกลือ(NSS) 1 หยด ผสม เลือด 1 หยด ดู
 ด้วยกล้องจุลทรรศน์ ดูการจับกลุ่มของเม็ด
 เลือดแดง
หากพบอาจช่วยการวินิจฉัย AIHA ได้
Direct agglutination test หรือ
    direct Coombs’ test
    เป็นวิธีการหา     หา autoantibody บนเม็ด
       เลือดแดง ที่เป็นชนิด incomplete antibody
       โดยใช้ antiglobulin antibody เป็นตัวเชือม
                                              ่
       ให้เกิดการ agglutination
     ใช้ วินิจฉัย AIHA antibody
               antiglobulin
autoantibody บนเม็ดเลือดแดง ด warm-type
                            ชนิ
Indirect agglutination test หรือ
indirect Coombs’ test
เป็นวิธีการหา   autoantibody อิสระใน
 serum
ใช้ วินิจฉัย AIHA ชนิด cold-type
Treatment
Supportive treatment
Specific treatment
 ลดการผลิต autoantibody
  -glucocorticoid
  -immunosuppressive drugs
  -plasmapheresis
  -splenctomy
 ลดการทำาลายเม็ดเลือดแดง
  -splenectomy
  -intravenous immunoglobulin
  -danazol

More Related Content

What's hot

การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
techno UCH
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Aiman Sadeeyamu
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
vora kun
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
techno UCH
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
Fmz Npaz
 

What's hot (20)

การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
Anemia and thalassemia
Anemia and thalassemiaAnemia and thalassemia
Anemia and thalassemia
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Cpg anemia
Cpg anemiaCpg anemia
Cpg anemia
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
Peptic Ulcer Perforate
Peptic Ulcer PerforatePeptic Ulcer Perforate
Peptic Ulcer Perforate
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 

Similar to Hemolytic anemia (8)

Leukemia
LeukemiaLeukemia
Leukemia
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
Hemodynamic disorder
Hemodynamic disorderHemodynamic disorder
Hemodynamic disorder
 
Approach to acute anemia
Approach to acute anemiaApproach to acute anemia
Approach to acute anemia
 
Approach bleeding extern
Approach bleeding externApproach bleeding extern
Approach bleeding extern
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
 

Hemolytic anemia

  • 1. Anemia Hemolytic anemia Auto Immune Hemolytic Anemia (AIHA) By Softmail
  • 2. Definition  Anemia เป็นลักษณะอาการทางคลินิกของ โรค(disease) หมายถึง ภาวะ “ซีด” หรือ “โลหิตจาง” Hemolysis หมายถึง แตกตัว-สลายตัว Hemolytic anemia(HA) หมายถึง ภาวะโลหิต จางที่เกิดจากการแตกสลาย มีทำาลาย เม็ดเลือดแดง คือ ภาวะที่เม็ดเลือดแดงจะมีอายุสนลง ั้ Autoimmune hemolytic anemia(AIHA) คือ ภาวะที่เม็ดเลือดแดงจะมีอายุสนลง จากภูมิ ั้ ต้านทานตนเอง
  • 3. Hemolytic anemia เป็นสาเหตุ กลุ่ม หนี่งของภาวะโลหิตจาง ที่มีสาเหตุอยู่ เป็นจำานวนมาก AIHA เป็นโรคในกลุ่ม  hemolytic anemia Anemia ซึ่งมีอยู่หลายโรคเช่นกัน Hemolytic Anemia AIHA เป็นส่วนหนึง ่ ของ HA และ AIHA HA เป็นส่วนหนึ่ง ของ Anemia
  • 4. Today Presentation พื้นฐาน เรื่อง เม็ดเลือดแดง การวินิจฉัยโรคโลหิตจาง Fundamental and clinical of anemia
  • 5. Normal Red cells  ลักษณะ ค่อน ข้างกลม  เว้าตรงกลาง (biconcave disc shape)  มีสีแดง เนื่องจากมี ฮีโม โกลบิน  มีอายุประมาณ 120 วัน ถ่ายภาพด้วยเทคนิค Scanning Electron Microscope(SEM)  ในร่างกายจะมีเม็ดเลือดแดง ประมาณ 20-30 ล้านล้านเซลล์  ผูหญิง ้ 4-5 ล้านเซลล์ต่อไมโครลิตร  ผูชาย 5-6 ล้านเซลล์ต่อไมโครลิตร ้
  • 6. Red blood cells: blood smear  ตรงกลาง1/3ซีด เนื่องจากเป็น รอยเว้า  ขนาด 7-8 ไมครอน  ไม่มีนิวเคลียส  ภายในเซลล์ K สูง  ภายในมีสาร สำาคัญ คือ hemoglobin ถ่ายภาพจากกล้องจุลทรรศ์ ย้อมด้วย hematoxylin and eosin (H&E)  ปริม าตร เม็ดเลือดแดงเฉลี่ยปกติ 83-97 fl = MCV (mean corpuscular volume)
  • 7. RBC: Hemoglobin (Hb) ประกอบด้วย โปรตีน 4 globin chain+ heme ค่า ปกติ เพศชาย  13.8 – 17.2 g/dL เพศหญิง 12.1 – 15.1 g/dL heme = Fe + porphylin ring •MCH(mean corpuscular hemoglobin) ปริม าณ เฉลี่ยของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงปกติ = 27-32 pg •MCHC(mean corpuscular hemoglobin concentration) ความเข้ม ข้น เฉลี่ย ของฮีโ มโกลบิน ในเม็ดเลือดแดงปกติ =
  • 8. Anemia ภาวะโลหิตจาง : มีRBCน้อย RBC Hct : เปอร์เซ็นต์ของเม็ดเลือดแดง ต่อ ปริมาณเลือดทั้งหมด ค่าปกติของ HCT เพศชายอยู่ที่ 45% เพศหญิงอยู่ที่ 40%
  • 9. Anemia Hb/HCt < 80 % ของค่าเฉลี่ยมนุษย์ปกติ HCt <33% ในสตรีวัยเจริญพันธุ์ HCt <36% ในผู้ชาย และ สตรีวัยหมดระดู RBC indices MCV (mean corpuscular volume) ปริม าตร เม็ดเลือดแดงเฉลียปกติ = 80-96 fl ่ MCH(mean corpuscular hemoglobin) ปริม าณ เฉลี่ยของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงปกติ = 27-32 pg MCHC(mean corpuscular hemoglobin concentration) ความเข้ม ข้น เฉลี่ย ของฮีโ มโกลบิน ในเม็ดเลือด แดงปกติ = 33-36 g/dl RWD(red cell distribution width )
  • 10. วงจรชีวิต Red blood cell สร้า ง ทำา ลาย(ต (เกิด ) เรียน จดจำา ภูมิ าย) ต้านทาน ทำางาน ขนส่ง O2 ซ่อมแซม เข้า สู่ร ะบบไหลเวีย น : อายุเ พีย ง 120
  • 11. การวินิจฉัยภาวะ Anemia แบ่ง 3 กลุมตามวงจงชีวิต ่ (pathophysiologic approach) สร้างน้อย-เกิดน้อย Impaired RC formation ปัญหาทีการสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ จาก ่ ไขกระดูก หรือ ขาดสารที่จำาเป็นในการ สร้างเม็ดเลือดแดง ทำาลาย-ตายมาก Hemolytic anemia โครงสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ มีสารหรือ ภูมิคุ้มกันทำาลายตนเอง ทำาให้มีการแตก สลายตัวของเม็ดเลือด ถูกจับทำาลายได้ เสียเลือด สูญเสีย Blood loss เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร ทางเดิน ปัสสาวะ สูญเสียเลือดโดยที่ร่างกายสร้าง ใหม่ไม่ทน ั
  • 12. Etiology classification : Anemia Impaired RC  B12,iron deficiency formation  Aplastic anemia เกิดน้อย  Neoplasm Hemolytic  Thalassemia anemia  AIHA ตายมาก  Renal/GI loss Blood loss สูญเสีย  External cause: trauma  Etc.
  • 13. Anemia approach ประวัติ ตรวจร่างกาย ร่วมกับ ผลตรวจทาง ห้องปฏิบัติการเบื้องต้น CBC, blood smear, Reticulocyte count, Coomb’s test ไขกระดูกทำางานผิดปกติ : ไข้ ก้อนตาม ร่างกาย นำ้าหนักลด ปวดกระดูก เลือดออก ผิดปกติ ทำาลายมาก : ซีด เหลือง ตับม้ามโต ปัสสาวะเข้ม ดำา เสียเลือด : ถ่ายดำา อาเจียนเป็นเลือด การ ผ่าตัด ระดูมาก
  • 14. CBC: Complete blood count Hemoglobin Hematocrit WBC count Platelet count Blood smear: RBC morphology,WBC differentiation, platlet estimate RBC index: MCV,MVH,MCHC MCV ปริมาตรเม็ดเลือดแดง
  • 15. Blood smear ดูลักษณะของ RBC ได้แก่ ขนาด รูปร่าง การ ย้อมติดสี การจับกลุม ่ เป็นต้น สามารถบอกสาเหตุของภาวะซีดได้ ตัวอย่างเข่น Macrocyte(MCV>100): cirrhosis, vitB12 deficiency etc. Microcyte(MCV<80):iron def., thalassemia etc. Spherocyte เม็ดเลือดแดงทรงกลมป่องออก: heriditary spherocystosis เป็นต้น Reticulocyte: RBC ตัวอ่อนติดสีเป็นจุดๆ Etc.
  • 16. Reticulocyte Reticulocyte count: เพิ่มขึ้น Reticulocyte count = immature RBC ปกติอยู่ใน bone marrow จะไม่ออกมา เม็ดเลือดแดงตัวอ่อนจะออกมาทำางานก่อน กำาหนดเนืองจากร่างกายต้องการ เม็ดเลือด ่ แดงเพิ่มขึ้น จากภาวะโลหิตจาง ที่ ไขกระดูกยังทำางานได้ดี
  • 17. Coomb’s test(กรณีสงสัย AIHA) เป็นการทดสอบหา antibody ที่มีต่อ antigen บนผิวเม็ดเลือดแดง Antibody คือ โปรตีนของระบบภูมิคุ้มกันที่ มีหน้าที่จับและทำาลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย Antibody มีหลายชนิด ซึ่งจะจดจำาเป้า หมายที่จำาเพาะ คือ antigen ซึ่งมีหลาก หลายตามแต่ชนิดของสิ่งแปลกปลอมนั้น Antigen สารที่สามารถ กระตุ้นระบบภูมิ ต้านทานแบบจำาเพาะได้
  • 18. สรุป แนวทางวินิจฉัยภาวะโลหิต จาง โดยใช้ MCV (ขนาดหรือปริมาตร ของRBC) reticulocyte count (จำานวน RBC ตัวอ่อนที่พบ) และ Coombs test (หา antibody ต่อ RBC) Flow chart หน้าถัดไป
  • 20. Hemolytic anemia ภาวะโลหิตจางเนืองจากมีการทำาลายเม็ดเลือด ่ แดงก่อนวัยอันควร ตำาแหน่งที่ RBC ถูกทำาลาย -intravascular ในหลอดเลือด(ตับม้ามไม่โต) -extravacular เช่น ม้าม เป็นต้น (ตับม้ามโต) สาเหตุ - intracellular: cell membrane, Hb ผิดปกติ เป็นต้น - extracellular: autoantibody เป็นต้น
  • 21. Classification Hereditary(inherited) เกิดจาก พันธุกรรม หรือ กรรมพันธุ์ มักเป็นการผิดปกติ ที่โครงสร้าง หรือ สารที่อยู่ ภายในเซลล์ ของเม็ดเลือดแดง Acquired เกิดขึ้นภายหลัง มักเป็นการผิดปกติที่เกิดจากระบบภูมิต้านทาน หรือ ปัจจัยภายนอกที่มากระทบ
  • 22. Hereditary(inherited) Hereditary(inherited) ทางพันธุกรรม หรือ กรรมพันธุ์ ตัวอย่างเช่น - Cell membrane- Hereditary spherocytosis - Hemoglobin- Thalassemia - Enzyme- G6PD defeciency
  • 23. Acquired Immune -Autoantibody: AIHA -Alloantibody: transfusion reaction etc. -Drug-induced: quinidine, isoniazid, etc. Non-immune -Paroxysmal Nocturnal hemoglobinuria เม็ดเลือดแดงแตกขณะหลับ ตื่นเช้า ปัสสาวะสี แดง-โคลา -Drug,venom, toxin -Organ disfunction -Machanical trauma -Infection -disease อื่นๆ leukemia, SLE, infectious mononucleosis
  • 24. Hemolytic anemia : อาการและ อาการแสดง ซีด เหลือง อ่อนเพลีย ไม่มีแรง มีไข้ วิง เวียน มึนงง หัวใจเต้นเร็ว Acute intravascular hemolysis hemoglobinemia, hemoglobinuria ปัสสาวะ สีชา หรือ โคลา ถ้ารุนแรง shock, DIC, renal failure เสียชีวิต Chronic hemolysis เกิดตับม้ามโต กระดูก เปลี่ยนรูปร่าง เหล็กเกิน เป็นนิ่ว เสียชีวิต จาก congestive heart failure
  • 25. การวินิจฉัย จากการซักประวัติและตรวจร่างกาย ร่วมกับ CBC, Blood smear, reticulocyte count หลัง จากนัน พิจ ารณา ้ ประวัติ ตรวจร่างกาย หรือ CBC บ่งชีไป ้ ทางไหนค่อย investigation ต่อไปทางนั้น
  • 26. ตัว อย่า ง Thalassemia: ซีด เหลือง ตับ ม้ามโต Mongoloid-face มีประวัติ ครอบครัว (chronic extravascular hemolytic anemia จะ มีอาการ ซีด+เหลือง+ตับม้ามโต) CBC: MCVตำ่าหรือปกติ, RDW สูงขึ้น, reti-count สูง Blood smear: hypochromic, microcytic, anisocytosis, poikilocytosis and target cell เป็นต้น Comfirm: Hb typing
  • 27. ตัวอย่าง G6PD deficiency Acute hemolytic anemia: ซีด เหลือง ตับ ม้ามไม่โต ปัสสาวะสีดำา เป็นมาไม่กี่วัน (intravascular hemolysis ตับม้ามไม่โต) เป็นหลังใช้ยา เพศชาย มักมีประวัติตั้งแต่ เด็ก Confirm:ระดับ enzyme G6PD
  • 28. ตัว อย่า ง AIHA : ซีด+เหลือง+ตับม้ามโต เป็นacute หรือ subacute ก็ได้ CBC: MCVปกติ, reti-count สูง, RDW ปกติ Confirm: direct Coomb’s test หา autoantibody บนผิว RBC ผล Positive คือเม็ดเลือดเกาะกลุ่ม ผล Negativeคือเม็ดเลือดไม่เกาะกัน
  • 29. ตัวอย่าง PNH(Paroxymal hemoglobinuria) Clinical :ซีด ไม่เหลือง ปัสสาวะสีเข้ม แดง ดำาโคล่า เป็นตอนเช้าตื่นนอน ตับม้ามไม่โต ปัสสาวะสีเข้ม แดง ดำาโคล่า Confirm: Ham’s test ทดสอบการแตกตัว ของเม็ดเลือดแดงเมื่อถูกทำาให้เป็นกรด ที่ pH ประมาณ 6.2 หลอดที่ 2,4 ผู้ป่วย serum กลายเป็นสีแดง หลอดที่ 1,3 คนปกติ
  • 31. Autoimmune hemolytic anemia ภาวะซีดที่เกิดจากการทำาลายเม็ดเลือดแดง ก่อนอายุขัย เนื่องจากมีการสร้าง autoantibody ต่อ RBC ของผู้ปวยเอง ่
  • 32. Classification of AIHA แบ่งได้ 2 ชนิด ตามคุณสมบัติของ autoantibody คือ ตามอุณหภูมิที่ antibody(Ab) จับกับ Antigen(Ag) 1. Warm type จับได้ดีที่ T 37˚C 2. Cold type จับได้ดีที่ T< 37˚C มักตำ่ากว่า 30˚C
  • 33. Warm-reacting antibody type เป็น AIHA ที่ autoantibody(Ab) จับกับ Antigen(Ag) บนผิวเม็ดเลือดแดง ได้ดีที่ T 37˚C พบได้ 80 % ของ AIHA RBC มักถูก macrophage จับทำาลายนอก หลอดเลือด (ม้ามมักจะโต) มักไม่ทำาให้เกิด autoagglutination หรือ intravacular hemolysis มักมาด้วยอาการ ซีด เหลือง ตับ ม้ามโต
  • 34. Cold-reacting antibody type เป็น AIHA ที่ autoantibody(Ab) จับกับ Antigen(Ag) บนผิวเม็ดเลือดแดง ได้ดีที่ T < 37˚C ส่วนใหญ่ดีที่สุดที่ T 4˚C พบได้ 20 % ของ AIHA RBC มักถูก antibody จับและกระตุ้นระบบ complement ตลอดกระบวนการ เป็นผลให้ เม็ดเลือดแดงแตกในกระแสเลือด มักทำาให้เกิด autoagglutination หรือ intravacular hemolysis (ม้ามไม่โต) มักมาด้วยอาการซีด เหลือง ปัสสาวะเข้ม สี โคล่า
  • 35. อุบัติการณ์ พบ 1:8000 ราย ต่อ ปี อายุ 20-30 ปี ต่างประเทศพบในผู้สงอายุ ู : ชาย : หญิง = 1:5
  • 36. อาการและอาการแสดง อาการโลหิตจาง : ซีด เพลีย วิงเวียน เหนือยง่าย หากรุนแรงมากเกิด congestive ่ heart failure ได้ บางรายเหลือง ปัสสาวะเข้ม อาจมีไข้ตำ่าๆ ตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับม้ามโต(50% ของผู้ปวย) ่
  • 37. Onset ระยะเวลาที่เป็น ก่อนมาพบแพทย์ โดยทั่วไป มักเป็นแบบ subacute 2-3 สัปดาห์ก่อนมา Acute onset เฉียบพลัน มักมี anemia รุนแรงจนเสียชีวิตได้
  • 38. Laboratory CBC: HB,Hct ตำ่า WBC,Platelet ปกติ Blood smear: polychromasia, nucleated red cell, spherocytes เพิ่มขึ้น บางรายพบ autoagglutinationได้ Reticulocyte count: เพิ่มขึ้น Autoagglutination= การจับกลุมของ RBC ่ Reticulocyte count = immature RBC ปกติ อยู่ใน bone marrow จะไม่ออกมา
  • 39. Blood smear: พบ? Nucleated red cell: RBC ตัวอ่อนที่ยังมี นิวเครียส Polychromasia: RBC ตัวอ่อนที่ยังมี RNA ทำาให้ติดสีนำ้าเงินม่วง Polychromasia Nucleated red cell: เม็ดเลือดแดงตัวอ่อนจะออกมาทำางานก่อนกำาหนด เนืองจาก ความต้องการร่างกาย ในภาวะโลหิตจาง ่
  • 40. Blood smear: พบ? spherocytes เพิ่มขึ้น เม็ดเลือดแดงเป็นทรงกลม RBC ผิดปกติ RBC ปกติ spherocyte Biconcave ไม่เว้า ตรง กลาง Blood smear RBC กลมตรง กลางไม่ซีด
  • 41. Blood smear: พบ? บางรายพบ autoagglutinationได คือ RBC จับกัน เป็นกลุ่ม เนืองจาก ่ antibody จับ antigen บนผิว RBC ทำาให้RBC ติดกันเป็นกลุ่ม
  • 42. Reticulocyte count Reticulocyte count = immature RBC Reticulocyte count(RC) : เพิ่มขึ้น ใน AIHA ปกติ reticulocyte อยู่ใน bone marrow จะ ไม่ออกมา แต่ต้องออกมาทำางานก่อน (ถ้าซีดจาก ไขกระดูก ผิองจากร่างกายต้องการ เม็ดเลือด กำาหนดเนื่ ดปกติ RC จะตำ่า) แดงเพิ่มขึ้น จากภาวะโลหิตจาง
  • 43. Serology ***** เป็นหัวใจของการวินิจฉัยโรค AIHA หาหลักฐานของ autoantibody ต่อ มี เม็ดเลือดแดง 3 วิธีการทีใช้บ่อย ่ 1) Saline agglutination test 2) Direct agglutination test หรือ direct Coombs’ test หา Ab บนเม็ดเลือดแดง 3) Indirect agglutination test หรือ indirect Coombs’ test หา autoantibody อิสระใน serum
  • 44. Saline agglutination test ทำาง่าย ทำาได้ข้างเตียง นำ้าเกลือ(NSS) 1 หยด ผสม เลือด 1 หยด ดู ด้วยกล้องจุลทรรศน์ ดูการจับกลุ่มของเม็ด เลือดแดง หากพบอาจช่วยการวินิจฉัย AIHA ได้
  • 45. Direct agglutination test หรือ direct Coombs’ test เป็นวิธีการหา หา autoantibody บนเม็ด เลือดแดง ที่เป็นชนิด incomplete antibody โดยใช้ antiglobulin antibody เป็นตัวเชือม ่ ให้เกิดการ agglutination ใช้ วินิจฉัย AIHA antibody antiglobulin autoantibody บนเม็ดเลือดแดง ด warm-type ชนิ
  • 46. Indirect agglutination test หรือ indirect Coombs’ test เป็นวิธีการหา autoantibody อิสระใน serum ใช้ วินิจฉัย AIHA ชนิด cold-type
  • 47. Treatment Supportive treatment Specific treatment  ลดการผลิต autoantibody -glucocorticoid -immunosuppressive drugs -plasmapheresis -splenctomy  ลดการทำาลายเม็ดเลือดแดง -splenectomy -intravenous immunoglobulin -danazol