SlideShare a Scribd company logo
Game Theory
           เสนอ
     อาจารย์ณัฐพล บัวอุไร

         จัดทาโดย
   นางสาวกชนิภา ร่วมพัฒนกิจ
ทฤษฎีเกม (Game Theory)
     เป็นแนวทางหรือทฤษฎีที่ใช้ในการเจรจาต่อรองที่มีการศึกษาและนาไปใช้กันในวงกว้าง ความจริงนั้นทฤษฎีเกม(Game
Theory) นั้นเป็นทฤษฎีที่มีการใช้กันในวงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในทางรัฐศาสตร์ ตลอดจนเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเจรจา
ต่อรอง ทฤษฎีเกมสามารถที่จะใช้ในการวิเคราะห์และพยากรณ์พฤติกรรมของคู่เจรจาหรือในกรณีที่เป็นการเจรจาทางการทูต
นั้นก็สามารถที่จะพยากรณ์ถึงผลการเจรจาที่จะเกิดขึ้น ในทางวิชารัฐศาสตร์นั้นทฤษฎีเกมก็เคยถูกหยิบยกมาอธิบายในเรื่อง
เกี่ยวกับพฤติกรรมของประเทศต่างๆในโลกยุคสงครามเย็นอันเป็นโลกซึ่งมีการแบ่งระบบการเมืองออกเป็น 2 ขั้ว หรือทางวิชา
เศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมได้ถูกนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาพฤติกรรมกลยุทธ์(strategic behavior)

   ทฤษฎีเกมนั้นตั้งอยู่บนสมมุติฐานว่าคู่เจรจานั้นจะมีความรู้ความสามารถเท่าเทียมกันและมีข้อมูลมากเท่าเทียมกันซึ่ง
องค์ประกอบดังกล่าวจะส่งผลให้การเจรจามีข้อยุติในลักษณะที่คาดการณ์ได้ อย่างไรก็ตามทฤษฎีเกมนั้นสามารถที่จะใช้ใน
การอธิบายได้อย่างดีในกรณีที่ถ้าหากว่าคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีข้อมูลที่ดีกว่าและมีการเตรียมการที่ดีกว่าย่อมประสบ
ความสาเร็จและได้เปรียบอีกฝ่ายหนึ่งที่ขาดข้อมูลและการเตรียมการ
ทฤษฎีเกม (Game Theory)
จาแนกออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้

1.เกมศูนย์ (Zero Sum Game)
พื้นฐานข้อเท็จจริงของเกมศูนย์คือการเจรจาใดๆก็ตามจะมีผู้ได้กับผู้เสีย มีผู้กล่าวกันว่าเกมศูนย์มาจากเกมการ
เล่นไพ่ ในการเจรจานั้นถ้าหากมีผู้ได้และผู้เสียทาให้การเจรจาจะไม่ประสบผลสาเร็จเนื่องจากผู้เสียจะไม่ยอม
เจรจาด้วย การเจรจานั้นจะต้องตั้งอยู่บนสมมติฐานว่าคู่เจรจาจะได้ผลประโยชน์จากการเจรจาร่วมกัน ลักษณะ
เกมศูนย์จึงเป็นตัวอธิบายได้ว่าการเจรจาจะไม่ประสบผลสาเร็จ นอกเสียจากการเจรจานั้นจะมีลักษณะที่มีอานาจ
ต่อรองที่ไม่เท่ากัน

2.เกมลบ (Negative Sum Game)
ตามหลักการนี้ก็คือ การเจรจาใดๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบซึ่งจะทาให้คู่เจรจาเสียผลประโยชน์ การเจรจาดังกล่าวนั้น
จะไม่มีวันไปสู่ข้อยุติเพราะว่าข้อยุติที่เกิดขึ้นนั้นจะส่งผลในแง่ลบต่อทุกฝ่ายๆ ดังนั้นทุกฝ่ายจึงต้องพยายามหาทาง
เจรจาต่อกันไม่ให้นาไปสู่เกมลบ

3.เกมบวก (Positive Sum Game)
เกมบวก คือ การเจรจาที่ทุกฝ่ายประสบความสาเร็จและได้ผลประโยชน์ อย่างเท่าเทียม การเจรจาจึงต้องอยู่บน
สมมติฐานว่าความสาเร็จต้องขึ้นอยู่กับข้อสรุปที่ทุกฝ่ายเป็นฝ่ายได้ (Win – Win Position)
ทฤษฎี H.M.L ในการเจรจาต่อรอง

     การเจรจาต่อรอง หมายถึง กระบวนการในการที่จะให้คู่เจรจาเดินทางเข้าหากันเพื่อมุ่งเป้าหมายก็คือข้อยุติที่มีผลประโยชน์
ร่วมกันเป็นเดิมพัน กระบวนการในการเจรจาดังกล่าวเรียกว่า “Negotiating Continuum” ในการเจรจานั้นคู่เจรจาแต่
ละฝ่ายจะต้องมีการกาหนดเป้าหมายของตนเองในการเจรจา เป้าหมายในการเจรจานั้นมี 3 ระดับ เป้าหมายดังกล่าวเราเรียกว่า “
ทฤษฎี H.M.L.”

-“H” (High) เป้าหมายระดับสูง หมายถึง เป้าหมายที่คู่เจรจาต้องการบรรลุเป้าหมายสูงสุด คือ บรรลุ 100% ถือได้ว่าเป็น
เป้าหมายอุดมคติ (Ideal Position) เป้าหมายดังกล่าวเป็นเป้าหมายที่คู่เจรจาอยากจะให้เกิดขึ้นสูงสุด

-“M” (Medium) เป้าหมายระดับกลาง หมายถึง เป้าหมายที่คู่เจรจาต้องการบรรลุเป้าหมายระดับ 75 %

-“L”(Low) เป้าหมายระดับต่าสุด หมายถึง เป้าหมายที่คู่เจรจาต้องการจะได้อย่างน้อย 50 % เราเรียกระดับนี้ว่าระดับที่
เป็นขอบเขตจากัด (Limit Position) ในการเจรจาถ้าต่ากว่าระดับนี้คู่เจรจาจะเสียมากกว่าได้ซึ่งเกินขอบเขตที่เขาจะยอม
เจรจาด้วย
ในสถานการณ์ที่มีการแข่งขันระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่าย หรือหน่วยงาน 2 หน่วยงานขึ้น
ไป เรียกการแข่งขันนี้ว่า เกม (game)สาหรับบุคคลหรือหน่วยงานที่แข่งขันกัน เรียกว่า ผู้เล่นเกม
(players) ภายใต้สภาวการณ์ดังกล่าวนี้ ผู้เล่นเกมจะตัดสินใจอย่างไรจึงจะได้รับ
ผลตอบแทน หรือประโยชน์เหนือฝ่ายตรงข้าม ทฤษฎีเกม(game theory) จะเป็นเครื่องมือ
ชนิดหนึ่ง ที่ช่วยให้ผู้เล่นเกมตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เล่นเกมจะมีคู่แข่งขัน เรียกว่าฝ่าย
ตรงข้าม และผู้เล่นเกมแต่ละคนจะเลือกวิธีเล่นเกมได้หลายวิธี ซึ่งการเลือกวิธี เล่นเกมนี้จะ
เรียกว่า

   กลยุทธ์หรือกลวิธ ี(Strategies) กลวิธีที่ผู้ตัดสินใจเลือกเล่นแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1.กลยุทธ์แท้(pure Strategies) ผู้เล่นเกมที่เลือกใช้กลวิธีประเภทนี้         จะเลือกเล่นเกมโดย
วิธีใดวิธีหนึ่งตลอดเวลา
2.กลยุทธ์ผสม (mixed startegies )                 ผู้เล่นเกมที่เลือกใช้กลวิธีประเภทนี้ จะเลือกเล่น
เกมโดยเล่นหลายวิธีผสมกัน
แหล่งอ้างอิง
http://www.oknation.net/blog/Duplex/2008/08/22/entry-1

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%
B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A1
The end

More Related Content

Viewers also liked

BDO 2011 Biotech Briefing
BDO 2011 Biotech BriefingBDO 2011 Biotech Briefing
BDO 2011 Biotech Briefing
rstarkes
 
London2012: Learnings on How Australians Consumed The Games
London2012:  Learnings on How Australians Consumed The GamesLondon2012:  Learnings on How Australians Consumed The Games
London2012: Learnings on How Australians Consumed The Games
Steve Weaver
 
Hunting snake
Hunting snakeHunting snake
Hunting snakegabitaa8
 
26º domingo tob 2015 bene pagola
26º domingo tob 2015 bene pagola26º domingo tob 2015 bene pagola
26º domingo tob 2015 bene pagola
nuria04
 
Game theory 11
Game theory 11Game theory 11
Game theory 11poundza
 
The Space Corps Vision
The Space Corps VisionThe Space Corps Vision
The Space Corps Vision
Mark W. Bennett
 
Art apr one
Art apr oneArt apr one
Art apr one
sharmiarchitect
 
Scaling Data Servers via Cooperative Caching
Scaling Data Servers via Cooperative CachingScaling Data Servers via Cooperative Caching
Scaling Data Servers via Cooperative Caching
siddreddy
 
Mwise Portfolio
Mwise PortfolioMwise Portfolio
Mwise Portfoliomwise921
 
80133823 backdor-nectcat-through-smb
80133823 backdor-nectcat-through-smb80133823 backdor-nectcat-through-smb
80133823 backdor-nectcat-through-smb
jeweh
 
Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014
Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014
Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014Solange Oliveira
 
Продвижение блогов
Продвижение блоговПродвижение блогов
Продвижение блоговfezanat
 
LGO Presentation (25.1.2012)
LGO Presentation (25.1.2012)LGO Presentation (25.1.2012)
LGO Presentation (25.1.2012)
Michael Hill
 
Service Master Response
Service Master ResponseService Master Response
Service Master Response
jaciblain
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติhong11120
 
Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4
Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4
Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4Yuyu Wahida
 

Viewers also liked (20)

Bennett_Resume-2016
Bennett_Resume-2016Bennett_Resume-2016
Bennett_Resume-2016
 
Horses
HorsesHorses
Horses
 
Turst
TurstTurst
Turst
 
BDO 2011 Biotech Briefing
BDO 2011 Biotech BriefingBDO 2011 Biotech Briefing
BDO 2011 Biotech Briefing
 
London2012: Learnings on How Australians Consumed The Games
London2012:  Learnings on How Australians Consumed The GamesLondon2012:  Learnings on How Australians Consumed The Games
London2012: Learnings on How Australians Consumed The Games
 
Hunting snake
Hunting snakeHunting snake
Hunting snake
 
26º domingo tob 2015 bene pagola
26º domingo tob 2015 bene pagola26º domingo tob 2015 bene pagola
26º domingo tob 2015 bene pagola
 
Game theory 11
Game theory 11Game theory 11
Game theory 11
 
The Space Corps Vision
The Space Corps VisionThe Space Corps Vision
The Space Corps Vision
 
Art apr one
Art apr oneArt apr one
Art apr one
 
Scaling Data Servers via Cooperative Caching
Scaling Data Servers via Cooperative CachingScaling Data Servers via Cooperative Caching
Scaling Data Servers via Cooperative Caching
 
Mwise Portfolio
Mwise PortfolioMwise Portfolio
Mwise Portfolio
 
80133823 backdor-nectcat-through-smb
80133823 backdor-nectcat-through-smb80133823 backdor-nectcat-through-smb
80133823 backdor-nectcat-through-smb
 
Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014
Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014
Palestra mercado adulto para e commerce e-show maio 2014
 
Продвижение блогов
Продвижение блоговПродвижение блогов
Продвижение блогов
 
LGO Presentation (25.1.2012)
LGO Presentation (25.1.2012)LGO Presentation (25.1.2012)
LGO Presentation (25.1.2012)
 
Service Master Response
Service Master ResponseService Master Response
Service Master Response
 
注册及发布信息用资料
注册及发布信息用资料注册及发布信息用资料
注册及发布信息用资料
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
 
Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4
Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4
Aplikasi Skype dalam P&P Teknologi Maklumat tingkatan 4
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (11)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Game theory

  • 1. Game Theory เสนอ อาจารย์ณัฐพล บัวอุไร จัดทาโดย นางสาวกชนิภา ร่วมพัฒนกิจ
  • 2. ทฤษฎีเกม (Game Theory) เป็นแนวทางหรือทฤษฎีที่ใช้ในการเจรจาต่อรองที่มีการศึกษาและนาไปใช้กันในวงกว้าง ความจริงนั้นทฤษฎีเกม(Game Theory) นั้นเป็นทฤษฎีที่มีการใช้กันในวงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในทางรัฐศาสตร์ ตลอดจนเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเจรจา ต่อรอง ทฤษฎีเกมสามารถที่จะใช้ในการวิเคราะห์และพยากรณ์พฤติกรรมของคู่เจรจาหรือในกรณีที่เป็นการเจรจาทางการทูต นั้นก็สามารถที่จะพยากรณ์ถึงผลการเจรจาที่จะเกิดขึ้น ในทางวิชารัฐศาสตร์นั้นทฤษฎีเกมก็เคยถูกหยิบยกมาอธิบายในเรื่อง เกี่ยวกับพฤติกรรมของประเทศต่างๆในโลกยุคสงครามเย็นอันเป็นโลกซึ่งมีการแบ่งระบบการเมืองออกเป็น 2 ขั้ว หรือทางวิชา เศรษฐศาสตร์ทฤษฎีเกมได้ถูกนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาพฤติกรรมกลยุทธ์(strategic behavior) ทฤษฎีเกมนั้นตั้งอยู่บนสมมุติฐานว่าคู่เจรจานั้นจะมีความรู้ความสามารถเท่าเทียมกันและมีข้อมูลมากเท่าเทียมกันซึ่ง องค์ประกอบดังกล่าวจะส่งผลให้การเจรจามีข้อยุติในลักษณะที่คาดการณ์ได้ อย่างไรก็ตามทฤษฎีเกมนั้นสามารถที่จะใช้ใน การอธิบายได้อย่างดีในกรณีที่ถ้าหากว่าคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีข้อมูลที่ดีกว่าและมีการเตรียมการที่ดีกว่าย่อมประสบ ความสาเร็จและได้เปรียบอีกฝ่ายหนึ่งที่ขาดข้อมูลและการเตรียมการ
  • 3. ทฤษฎีเกม (Game Theory) จาแนกออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1.เกมศูนย์ (Zero Sum Game) พื้นฐานข้อเท็จจริงของเกมศูนย์คือการเจรจาใดๆก็ตามจะมีผู้ได้กับผู้เสีย มีผู้กล่าวกันว่าเกมศูนย์มาจากเกมการ เล่นไพ่ ในการเจรจานั้นถ้าหากมีผู้ได้และผู้เสียทาให้การเจรจาจะไม่ประสบผลสาเร็จเนื่องจากผู้เสียจะไม่ยอม เจรจาด้วย การเจรจานั้นจะต้องตั้งอยู่บนสมมติฐานว่าคู่เจรจาจะได้ผลประโยชน์จากการเจรจาร่วมกัน ลักษณะ เกมศูนย์จึงเป็นตัวอธิบายได้ว่าการเจรจาจะไม่ประสบผลสาเร็จ นอกเสียจากการเจรจานั้นจะมีลักษณะที่มีอานาจ ต่อรองที่ไม่เท่ากัน 2.เกมลบ (Negative Sum Game) ตามหลักการนี้ก็คือ การเจรจาใดๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบซึ่งจะทาให้คู่เจรจาเสียผลประโยชน์ การเจรจาดังกล่าวนั้น จะไม่มีวันไปสู่ข้อยุติเพราะว่าข้อยุติที่เกิดขึ้นนั้นจะส่งผลในแง่ลบต่อทุกฝ่ายๆ ดังนั้นทุกฝ่ายจึงต้องพยายามหาทาง เจรจาต่อกันไม่ให้นาไปสู่เกมลบ 3.เกมบวก (Positive Sum Game) เกมบวก คือ การเจรจาที่ทุกฝ่ายประสบความสาเร็จและได้ผลประโยชน์ อย่างเท่าเทียม การเจรจาจึงต้องอยู่บน สมมติฐานว่าความสาเร็จต้องขึ้นอยู่กับข้อสรุปที่ทุกฝ่ายเป็นฝ่ายได้ (Win – Win Position)
  • 4. ทฤษฎี H.M.L ในการเจรจาต่อรอง การเจรจาต่อรอง หมายถึง กระบวนการในการที่จะให้คู่เจรจาเดินทางเข้าหากันเพื่อมุ่งเป้าหมายก็คือข้อยุติที่มีผลประโยชน์ ร่วมกันเป็นเดิมพัน กระบวนการในการเจรจาดังกล่าวเรียกว่า “Negotiating Continuum” ในการเจรจานั้นคู่เจรจาแต่ ละฝ่ายจะต้องมีการกาหนดเป้าหมายของตนเองในการเจรจา เป้าหมายในการเจรจานั้นมี 3 ระดับ เป้าหมายดังกล่าวเราเรียกว่า “ ทฤษฎี H.M.L.” -“H” (High) เป้าหมายระดับสูง หมายถึง เป้าหมายที่คู่เจรจาต้องการบรรลุเป้าหมายสูงสุด คือ บรรลุ 100% ถือได้ว่าเป็น เป้าหมายอุดมคติ (Ideal Position) เป้าหมายดังกล่าวเป็นเป้าหมายที่คู่เจรจาอยากจะให้เกิดขึ้นสูงสุด -“M” (Medium) เป้าหมายระดับกลาง หมายถึง เป้าหมายที่คู่เจรจาต้องการบรรลุเป้าหมายระดับ 75 % -“L”(Low) เป้าหมายระดับต่าสุด หมายถึง เป้าหมายที่คู่เจรจาต้องการจะได้อย่างน้อย 50 % เราเรียกระดับนี้ว่าระดับที่ เป็นขอบเขตจากัด (Limit Position) ในการเจรจาถ้าต่ากว่าระดับนี้คู่เจรจาจะเสียมากกว่าได้ซึ่งเกินขอบเขตที่เขาจะยอม เจรจาด้วย
  • 5. ในสถานการณ์ที่มีการแข่งขันระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่าย หรือหน่วยงาน 2 หน่วยงานขึ้น ไป เรียกการแข่งขันนี้ว่า เกม (game)สาหรับบุคคลหรือหน่วยงานที่แข่งขันกัน เรียกว่า ผู้เล่นเกม (players) ภายใต้สภาวการณ์ดังกล่าวนี้ ผู้เล่นเกมจะตัดสินใจอย่างไรจึงจะได้รับ ผลตอบแทน หรือประโยชน์เหนือฝ่ายตรงข้าม ทฤษฎีเกม(game theory) จะเป็นเครื่องมือ ชนิดหนึ่ง ที่ช่วยให้ผู้เล่นเกมตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เล่นเกมจะมีคู่แข่งขัน เรียกว่าฝ่าย ตรงข้าม และผู้เล่นเกมแต่ละคนจะเลือกวิธีเล่นเกมได้หลายวิธี ซึ่งการเลือกวิธี เล่นเกมนี้จะ เรียกว่า กลยุทธ์หรือกลวิธ ี(Strategies) กลวิธีที่ผู้ตัดสินใจเลือกเล่นแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.กลยุทธ์แท้(pure Strategies) ผู้เล่นเกมที่เลือกใช้กลวิธีประเภทนี้ จะเลือกเล่นเกมโดย วิธีใดวิธีหนึ่งตลอดเวลา 2.กลยุทธ์ผสม (mixed startegies ) ผู้เล่นเกมที่เลือกใช้กลวิธีประเภทนี้ จะเลือกเล่น เกมโดยเล่นหลายวิธีผสมกัน