SlideShare a Scribd company logo
เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดเคอร์คูมินจาก ขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน ในการกำจัด เชื้อรา  Aspergillus niger   กับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด และยาปฏิชีวนะ  Itraconazole นายพลวรรธก์ ทวีราษฎร์ นายภูมิพิพัฒน์ นวลแขกุล โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์  ( องค์การมหาชน )
กิตติกรรมประกาศ อ . สุภาวดี ศรีทาหาญ ครูวิชาการประจำสาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์  ( องค์การมหาชน ) ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ . ศราวุธ แสงอุไร ผู้ให้คำปรึกษาการใช้อุปกรณ์ทางเคมี อ . เมษสุวัลย์ พงษ์ประมูล และ อ . ศิริมาศ สุขประเสริฐ  อาจารย์ประจำห้องทดลอง พ่อ แม่  และเพื่อนๆ
ที่มาและความสำคัญ ▪  ขมิ้นเป็นพืชที่มีสรรพคุณในการยับยั้งเชื้อรา ▪  สารเคมีในขมิ้นที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อรามีชื่อว่าเคอร์คูมิน สารนี้เป็นสารที่ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ จึงสามารถสกัดเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ได้ง่าย มีสรรพคุณใน การ ยับยั้งเชื้อรา เพราะมี สารเคอร์คูมิน เป็นตัวยับยั้งเชื้อรา ขมิ้นชัน
ที่มาและความสำคัญ ▪  ที่อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีการปลูกขมิ้นชันพันธุ์พื้นเมือง ซึ่งชาวบ้านเรียกกันว่า ขมิ้นชันทอง เป็นขมิ้นชันที่มีสารเคอร์คูมินสูงถึง  20 %   เมื่อเปรียบเทียบ กับขมิ้นชันที่ปลูกในแหล่งปลูกอื่นๆ ที่มีปริมาณสารเคอร์คูมินเฉลี่ยเพียง  6 %  ( ปลูกขมิ้นชันรายได้เสริมในสวนยางพารา , 2549) มีสารเคอร์คูมิน สูงมาก ขมิ้นชันจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน จากการศึกษา ของผู้วิจัย
ที่มาและความสำคัญ ▪  เชื้อรา  Aspergillus niger   ได้สร้างปัญหาแก่เกษตรกรที่ปลูกพืชพวกธัญพืช และสามารถทำให้มนุษย์เป็นโรคทางปอดได้ แต่เชื้อราชนิดนี้สามารถถูกยับยั้งได้ด้วยยาปฏิชีวนะ  Itraconazole   ซึ่งสามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์  (J. Mosquera, 2002)  และโดยการศึกษางานวิจัยของ วุฒินันท์ พิมพ์มีธีรวัตร และคณะ  (2547)  พบว่า สารเคอร์คูมินที่สกัดจากขมิ้นชันผงก็สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราชนิดนี้ได้เช่นเดียวกัน   ผู้วิจัยจึงคิดว่าขมิ้นชันจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน จะสามารถยับยั้งเชื้อราได้ ดีกว่า ขมิ้นชัน ตามท้องตลาด ทำการศึกษาเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการยับยั้ง เชื้อรา Aspergillus niger   ระหว่าง
ที่มาและความสำคัญ ▪  เชื้อรา  Aspergillus niger   ได้สร้างปัญหาแก่เกษตรกรที่ปลูกพืชพวกธัญพืช และสามารถทำให้มนุษย์เป็นโรคทางปอดได้ แต่เชื้อราชนิดนี้สามารถถูกยับยั้งได้ด้วยยาปฏิชีวนะ  Itraconazole   ซึ่งสามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์  (J. Mosquera, 2002)  และโดยการศึกษางานวิจัยของ วุฒินันท์ พิมพ์มีธีรวัตร และคณะ  (2547)  พบว่า สารเคอร์คูมินที่สกัดจากขมิ้นชันผงก็สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราชนิดนี้ได้เช่นเดียวกัน   มาทดสอบกับ ยาปฏิชีวนะ Itraconazole ขมิ้นชันผงจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน เลือกชนิดที่ยับยั้งดีที่สุด ขมิ้นชัน ผง  2  ยี่ห้อ
Aspergillus niger เอกสารที่เกี่ยวข้อง A. Niger  conidial head (http://www.aspergillus.org.uk/) A. Niger  colony (http://www.aspergillus.org.uk/)
เคอร์คูมิน เอกสารที่เกี่ยวข้อง Curcumin Keto Form Curcumin Enol Form Turmeric
ขมิ้นชันจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน เอกสารที่เกี่ยวข้อง ผงขมิ้นชันจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน
Itraconazole เอกสารที่เกี่ยวข้อง Encapsulated Itraconazole
UV/Vis-Spectrophotometer เอกสารที่เกี่ยวข้อง UV/Vis-Spectrophotometer UV/Vis-Spectrophotometer Principle
▪  เพื่อเปรียบเทียบปริมาณสารเคอร์คูมินที่มีอยู่ในผงขมิ้นชันจากแหล่งปลูก   อ . บ้านตาขุน และผงขมิ้นชันตามท้องตลาด ▪  เพื่อศึกษาผลของการใช้สารเคอร์คูมินจากผงขมิ้นชันจากแหล่งปลูก อ .  บ้านตาขุน เทียบกับผงขมิ้นชันตามท้องตลาด และยาปฏิชีวนะ  Itraconazole  ในการยับยั้งเชื้อรา  Aspergillus niger   บนอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA วัตถุประสงค์
วิธีดำเนินการทดลอง 1.  เปรียบเทียบปริมาณเคอร์คูมิน 2.  เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา Aspergillus niger   ระหว่างผงขมิ้นจาก  3  แหล่ง 3.  เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา Aspergillus niger   ระหว่างผงขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน กับยาปฏิชีวนะ  Itraconazole
1.)  เปรียบเทียบปริมาณเคอร์คูมิน วิธีดำเนินการทดลอง ผงขมิ้น สกัดเคอร์คูมิน ด้วยเอทานอล  95% หาค่า  Absorbance  ด้วยเครื่อง UV/Vis-Spectrophotometer  ( λ  =  420  nm ) แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน 1 ตรา หอมไกล 2 ตรา โพธิ์แก้ว 3 Curcumin Standard Solution ละลายด้วยเอทานอล ที่ความเข้มข้นต่างๆ นำมาเข้าเครื่อง  UV/Vis-Spectrophotometer เพื่อสร้าง  Calibration Curve หาความเข้มข้นของ เคอร์คูมินจาก ผงขมิ้นชันทั้ง  3  ชนิด 2 1 3
2.)  เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา  Aspergillus niger   ระหว่างผงขมิ้นจาก  3  แหล่ง วิธีดำเนินการทดลอง ผงขมิ้น ละลายด้วย เอทานอล  95% นำไปหยดในหลุมบนจานเลี้ยงเชื้อที่เขี่ยไว้แล้ว ดูผลการเจริญเติบโตของเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อ แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน 1 ตรา หอมไกล 2 ตรา โพธิ์แก้ว 3 2 1 3 2 1 3
3.)  เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา  Aspergillus niger   ระหว่างผงขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน กับยาปฏิชีวนะ  Itraconazole วิธีดำเนินการทดลอง ผงขมิ้นชันจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน ยาปฏิชีวนะ Itraconazole ละลายด้วยเอทานอล  95% ดูผลการเจริญเติบโตของเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อ นำไปหยดในหลุมบนจานเลี้ยงเชื้อที่เขี่ยไว้แล้ว
ผลการทดลอง 1.)  ผลการเตรียม  Curcumin Standard Solution  โดยใช้เครื่อง UV/Vis-Spectrophotometer
ผลการทดลอง 1 .)  ผลการหาค่าความเข้มข้นของสารสกัดเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผง  3  แหล่ง
ผลการทดลอง 2 .)  ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด ในการยับยั้งเชื้อรา  Aspegillus niger   บนอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA  ( ชุด  A ) วันที่  3 ถึงหลุมเอทานอล วันที่  5 ถึงหลุมขมิ้น ตราโพธิ์แก้ว วันที่  6 ถึงหลุมขมิ้น ตราหอมไกล วันที่  8 ถึงหลุมขมิ้น จากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน เวลาที่เชื้อราเจริญจนถึงปากหลุมวุ้น  ( วัน )
ผลการทดลอง 2 .)  ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด และ ในการยับยั้งเชื้อรา  Aspegillus niger   บนอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA  ( ชุด  A ) ตารางแสดงความสามารถในการยับยั้งราของสารเคมีชนิดต่างๆ สารเคมีในหลุมวุ้น เวลาที่เชื้อราเจริญถึงปากหลุมวุ้นโดยเฉลี่ย  ( วัน ) ลักษณะการเจริญของรา เอทานอล  95% 2.67 สปอร์รามีสีดำ เจริญสม่ำเสมอ สารสกัดขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน  ( 0.16 g/ml ) 7.67 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์ สารสกัดขมิ้นชันผงตราหอมไกล  ( 0.16 g/ml ) 5.00 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์ สารสกัดขมิ้นชันผงตราโพธิ์แก้ว  ( 0.16 g/ml ) 4.33 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์
ผลการทดลอง 3 .)  ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับยาปฏิชีวนะ  Itraconazole   ในการยับยั้งเชื้อรา  Aspegillus niger   บนอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA  ( ชุด  B )
ผลการทดลอง ตารางแสดงความสามารถในการยับยั้งราของสารเคมีชนิดต่างๆ 3 .)  ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับยาปฏิชีวนะ  Itraconazole   ในการยับยั้งเชื้อรา  Aspegillus niger   บนอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA  ( ชุด  B ) สารเคมีในหลุมวุ้น Inhibition Zone  ( mm ) ลักษณะการเจริญของรา เอทานอล  95% 6.35 สปอร์รามีสีดำ เจริญสม่ำเสมอ สารสกัดขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน   (0.094 g/ml) 6.85 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์อยู่เป็นบริเวณกว้าง Itraconazole (0.094 g/ml) 28.32 สปอร์รามีสีดำ เจริญสม่ำเสมอ
สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 1.)  การหาความเข้มข้น ของสารสกัดเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผง  3   แหล่ง ขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน มีปริมาณเคอร์คูมินมากที่สุด ขมิ้นตราหอมไกล ขมิ้นตราโพธิ์แก้ว
สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 2.)  การใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด ในการยับยั้งเชื้อรา  Aspegillus niger   บนอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA ขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน ยับยั้งการเจริญของเส้นใยราดีที่สุด ขมิ้นตราหอมไกล ขมิ้นตราโพธิ์แก้ว เอทานอล
สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 3.)  การใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับยาปฏิชีวนะ  Itraconazole   ในการยับยั้งเชื้อรา  Aspegillus niger   บนอาหารเลี้ยงเชื้อ  PDA ยาปฏิชีวนะ  Itraconazole ขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน ยับยั้งการสร้างสปอร์ได้ดีที่สุด ยับยั้งการเจริญของเส้นใยราดีที่สุด เอทานอล
ขอบคุณ

More Related Content

What's hot

Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Technology Innovation Center
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
โทโต๊ะ บินไกล
 
Sensor industry delveopment
Sensor industry delveopmentSensor industry delveopment
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Technology Innovation Center
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Technology Innovation Center
 
M6 126 60_4
M6 126 60_4M6 126 60_4
M6 126 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
Wichai Likitponrak
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
beau1234
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
Wichai Likitponrak
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559
 Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559 Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559
Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559
Postharvest Technology Innovation Center
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Technology Innovation Center
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
Utai Sukviwatsirikul
 
รูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติด
รูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติดรูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติด
รูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติดwillso
 

What's hot (14)

Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
9789740328681
97897403286819789740328681
9789740328681
 
Sensor industry delveopment
Sensor industry delveopmentSensor industry delveopment
Sensor industry delveopment
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
 
M6 126 60_4
M6 126 60_4M6 126 60_4
M6 126 60_4
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559
 Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559 Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559
Postharvest Newsletter ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2559
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
 
รูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติด
รูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติดรูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติด
รูปภาพการปฏิบัติตามโครงการป้องกันปราบรามยาเสพติด
 

Viewers also liked

ขมิ้น นุชนาฎ นำชัย
ขมิ้น นุชนาฎ นำชัยขมิ้น นุชนาฎ นำชัย
ขมิ้น นุชนาฎ นำชัย
Fourt'p Spnk
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
preeyanuch2
 
Benefits of Curcumin Capsules
Benefits of Curcumin CapsulesBenefits of Curcumin Capsules
Benefits of Curcumin Capsules
Sanjeev Sharma
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
Curcuma
CurcumaCurcuma
Turmeric
TurmericTurmeric
Turmeric
PPRC AYUR
 
Ayurveda Herbs : Medicinal uses of Turmeric
Ayurveda Herbs : Medicinal uses of  TurmericAyurveda Herbs : Medicinal uses of  Turmeric
Ayurveda Herbs : Medicinal uses of Turmeric
Dr. Desh Bandhu Bajpai
 
Turmeric
Turmeric Turmeric
Turmeric
Tashistic .
 
Turmeric presentation.ogs.2013
Turmeric presentation.ogs.2013Turmeric presentation.ogs.2013
Turmeric presentation.ogs.2013
EastBranchGinger12
 
The Sounds of Language by George Yule
The Sounds of Language by George YuleThe Sounds of Language by George Yule
The Sounds of Language by George Yule
Karla Fonseca
 
Turmeric (Curcuma longa)
Turmeric (Curcuma longa)Turmeric (Curcuma longa)
Turmeric (Curcuma longa)
Arslan Tahir
 

Viewers also liked (11)

ขมิ้น นุชนาฎ นำชัย
ขมิ้น นุชนาฎ นำชัยขมิ้น นุชนาฎ นำชัย
ขมิ้น นุชนาฎ นำชัย
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
Benefits of Curcumin Capsules
Benefits of Curcumin CapsulesBenefits of Curcumin Capsules
Benefits of Curcumin Capsules
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Curcuma
CurcumaCurcuma
Curcuma
 
Turmeric
TurmericTurmeric
Turmeric
 
Ayurveda Herbs : Medicinal uses of Turmeric
Ayurveda Herbs : Medicinal uses of  TurmericAyurveda Herbs : Medicinal uses of  Turmeric
Ayurveda Herbs : Medicinal uses of Turmeric
 
Turmeric
Turmeric Turmeric
Turmeric
 
Turmeric presentation.ogs.2013
Turmeric presentation.ogs.2013Turmeric presentation.ogs.2013
Turmeric presentation.ogs.2013
 
The Sounds of Language by George Yule
The Sounds of Language by George YuleThe Sounds of Language by George Yule
The Sounds of Language by George Yule
 
Turmeric (Curcuma longa)
Turmeric (Curcuma longa)Turmeric (Curcuma longa)
Turmeric (Curcuma longa)
 

Similar to Chemistry Project Slides

Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Pisut Samutsakorn
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Technology Innovation Center
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556gdowdeaw R
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556gdowdeaw R
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
dnavaroj
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
Wichai Likitponrak
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_Sukanya Kimkramon
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมjirapatte
 
Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
asirwa04
 

Similar to Chemistry Project Slides (15)

Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556
 
1นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค25561นำเสนอ 21 มค2556
1นำเสนอ 21 มค2556
 
Gap
GapGap
Gap
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
7
77
7
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
 

Chemistry Project Slides

  • 1. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดเคอร์คูมินจาก ขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน ในการกำจัด เชื้อรา Aspergillus niger กับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด และยาปฏิชีวนะ Itraconazole นายพลวรรธก์ ทวีราษฎร์ นายภูมิพิพัฒน์ นวลแขกุล โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ( องค์การมหาชน )
  • 2. กิตติกรรมประกาศ อ . สุภาวดี ศรีทาหาญ ครูวิชาการประจำสาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ( องค์การมหาชน ) ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ . ศราวุธ แสงอุไร ผู้ให้คำปรึกษาการใช้อุปกรณ์ทางเคมี อ . เมษสุวัลย์ พงษ์ประมูล และ อ . ศิริมาศ สุขประเสริฐ อาจารย์ประจำห้องทดลอง พ่อ แม่ และเพื่อนๆ
  • 3. ที่มาและความสำคัญ ▪ ขมิ้นเป็นพืชที่มีสรรพคุณในการยับยั้งเชื้อรา ▪ สารเคมีในขมิ้นที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อรามีชื่อว่าเคอร์คูมิน สารนี้เป็นสารที่ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ จึงสามารถสกัดเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ได้ง่าย มีสรรพคุณใน การ ยับยั้งเชื้อรา เพราะมี สารเคอร์คูมิน เป็นตัวยับยั้งเชื้อรา ขมิ้นชัน
  • 4. ที่มาและความสำคัญ ▪ ที่อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีการปลูกขมิ้นชันพันธุ์พื้นเมือง ซึ่งชาวบ้านเรียกกันว่า ขมิ้นชันทอง เป็นขมิ้นชันที่มีสารเคอร์คูมินสูงถึง 20 % เมื่อเปรียบเทียบ กับขมิ้นชันที่ปลูกในแหล่งปลูกอื่นๆ ที่มีปริมาณสารเคอร์คูมินเฉลี่ยเพียง 6 % ( ปลูกขมิ้นชันรายได้เสริมในสวนยางพารา , 2549) มีสารเคอร์คูมิน สูงมาก ขมิ้นชันจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน จากการศึกษา ของผู้วิจัย
  • 5. ที่มาและความสำคัญ ▪ เชื้อรา Aspergillus niger ได้สร้างปัญหาแก่เกษตรกรที่ปลูกพืชพวกธัญพืช และสามารถทำให้มนุษย์เป็นโรคทางปอดได้ แต่เชื้อราชนิดนี้สามารถถูกยับยั้งได้ด้วยยาปฏิชีวนะ Itraconazole ซึ่งสามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์ (J. Mosquera, 2002) และโดยการศึกษางานวิจัยของ วุฒินันท์ พิมพ์มีธีรวัตร และคณะ (2547) พบว่า สารเคอร์คูมินที่สกัดจากขมิ้นชันผงก็สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราชนิดนี้ได้เช่นเดียวกัน ผู้วิจัยจึงคิดว่าขมิ้นชันจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน จะสามารถยับยั้งเชื้อราได้ ดีกว่า ขมิ้นชัน ตามท้องตลาด ทำการศึกษาเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการยับยั้ง เชื้อรา Aspergillus niger ระหว่าง
  • 6. ที่มาและความสำคัญ ▪ เชื้อรา Aspergillus niger ได้สร้างปัญหาแก่เกษตรกรที่ปลูกพืชพวกธัญพืช และสามารถทำให้มนุษย์เป็นโรคทางปอดได้ แต่เชื้อราชนิดนี้สามารถถูกยับยั้งได้ด้วยยาปฏิชีวนะ Itraconazole ซึ่งสามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์ (J. Mosquera, 2002) และโดยการศึกษางานวิจัยของ วุฒินันท์ พิมพ์มีธีรวัตร และคณะ (2547) พบว่า สารเคอร์คูมินที่สกัดจากขมิ้นชันผงก็สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราชนิดนี้ได้เช่นเดียวกัน มาทดสอบกับ ยาปฏิชีวนะ Itraconazole ขมิ้นชันผงจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน เลือกชนิดที่ยับยั้งดีที่สุด ขมิ้นชัน ผง 2 ยี่ห้อ
  • 7. Aspergillus niger เอกสารที่เกี่ยวข้อง A. Niger conidial head (http://www.aspergillus.org.uk/) A. Niger colony (http://www.aspergillus.org.uk/)
  • 9. ขมิ้นชันจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน เอกสารที่เกี่ยวข้อง ผงขมิ้นชันจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน
  • 12. ▪ เพื่อเปรียบเทียบปริมาณสารเคอร์คูมินที่มีอยู่ในผงขมิ้นชันจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน และผงขมิ้นชันตามท้องตลาด ▪ เพื่อศึกษาผลของการใช้สารเคอร์คูมินจากผงขมิ้นชันจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน เทียบกับผงขมิ้นชันตามท้องตลาด และยาปฏิชีวนะ Itraconazole ในการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus niger บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA วัตถุประสงค์
  • 13. วิธีดำเนินการทดลอง 1. เปรียบเทียบปริมาณเคอร์คูมิน 2. เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา Aspergillus niger ระหว่างผงขมิ้นจาก 3 แหล่ง 3. เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา Aspergillus niger ระหว่างผงขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน กับยาปฏิชีวนะ Itraconazole
  • 14. 1.) เปรียบเทียบปริมาณเคอร์คูมิน วิธีดำเนินการทดลอง ผงขมิ้น สกัดเคอร์คูมิน ด้วยเอทานอล 95% หาค่า Absorbance ด้วยเครื่อง UV/Vis-Spectrophotometer ( λ = 420 nm ) แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน 1 ตรา หอมไกล 2 ตรา โพธิ์แก้ว 3 Curcumin Standard Solution ละลายด้วยเอทานอล ที่ความเข้มข้นต่างๆ นำมาเข้าเครื่อง UV/Vis-Spectrophotometer เพื่อสร้าง Calibration Curve หาความเข้มข้นของ เคอร์คูมินจาก ผงขมิ้นชันทั้ง 3 ชนิด 2 1 3
  • 15. 2.) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา Aspergillus niger ระหว่างผงขมิ้นจาก 3 แหล่ง วิธีดำเนินการทดลอง ผงขมิ้น ละลายด้วย เอทานอล 95% นำไปหยดในหลุมบนจานเลี้ยงเชื้อที่เขี่ยไว้แล้ว ดูผลการเจริญเติบโตของเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อ แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน 1 ตรา หอมไกล 2 ตรา โพธิ์แก้ว 3 2 1 3 2 1 3
  • 16. 3.) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งรา Aspergillus niger ระหว่างผงขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน กับยาปฏิชีวนะ Itraconazole วิธีดำเนินการทดลอง ผงขมิ้นชันจาก แหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน ยาปฏิชีวนะ Itraconazole ละลายด้วยเอทานอล 95% ดูผลการเจริญเติบโตของเชื้อราบนจานเลี้ยงเชื้อ นำไปหยดในหลุมบนจานเลี้ยงเชื้อที่เขี่ยไว้แล้ว
  • 17. ผลการทดลอง 1.) ผลการเตรียม Curcumin Standard Solution โดยใช้เครื่อง UV/Vis-Spectrophotometer
  • 18. ผลการทดลอง 1 .) ผลการหาค่าความเข้มข้นของสารสกัดเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผง 3 แหล่ง
  • 19. ผลการทดลอง 2 .) ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด ในการยับยั้งเชื้อรา Aspegillus niger บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA ( ชุด A ) วันที่ 3 ถึงหลุมเอทานอล วันที่ 5 ถึงหลุมขมิ้น ตราโพธิ์แก้ว วันที่ 6 ถึงหลุมขมิ้น ตราหอมไกล วันที่ 8 ถึงหลุมขมิ้น จากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน เวลาที่เชื้อราเจริญจนถึงปากหลุมวุ้น ( วัน )
  • 20. ผลการทดลอง 2 .) ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด และ ในการยับยั้งเชื้อรา Aspegillus niger บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA ( ชุด A ) ตารางแสดงความสามารถในการยับยั้งราของสารเคมีชนิดต่างๆ สารเคมีในหลุมวุ้น เวลาที่เชื้อราเจริญถึงปากหลุมวุ้นโดยเฉลี่ย ( วัน ) ลักษณะการเจริญของรา เอทานอล 95% 2.67 สปอร์รามีสีดำ เจริญสม่ำเสมอ สารสกัดขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน ( 0.16 g/ml ) 7.67 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์ สารสกัดขมิ้นชันผงตราหอมไกล ( 0.16 g/ml ) 5.00 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์ สารสกัดขมิ้นชันผงตราโพธิ์แก้ว ( 0.16 g/ml ) 4.33 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์
  • 21. ผลการทดลอง 3 .) ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับยาปฏิชีวนะ Itraconazole ในการยับยั้งเชื้อรา Aspegillus niger บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA ( ชุด B )
  • 22. ผลการทดลอง ตารางแสดงความสามารถในการยับยั้งราของสารเคมีชนิดต่างๆ 3 .) ผลการใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับยาปฏิชีวนะ Itraconazole ในการยับยั้งเชื้อรา Aspegillus niger บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA ( ชุด B ) สารเคมีในหลุมวุ้น Inhibition Zone ( mm ) ลักษณะการเจริญของรา เอทานอล 95% 6.35 สปอร์รามีสีดำ เจริญสม่ำเสมอ สารสกัดขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน (0.094 g/ml) 6.85 สปอร์รามีสีดำ เจริญไม่สม่ำเสมอ ยังมองเห็นเส้นใยสีขาวซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีการสร้างสปอร์อยู่เป็นบริเวณกว้าง Itraconazole (0.094 g/ml) 28.32 สปอร์รามีสีดำ เจริญสม่ำเสมอ
  • 23. สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 1.) การหาความเข้มข้น ของสารสกัดเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผง 3 แหล่ง ขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน มีปริมาณเคอร์คูมินมากที่สุด ขมิ้นตราหอมไกล ขมิ้นตราโพธิ์แก้ว
  • 24. สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 2.) การใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันผงจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับขมิ้นชันผงตามท้องตลาด ในการยับยั้งเชื้อรา Aspegillus niger บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA ขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน ยับยั้งการเจริญของเส้นใยราดีที่สุด ขมิ้นตราหอมไกล ขมิ้นตราโพธิ์แก้ว เอทานอล
  • 25. สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 3.) การใช้สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันจากแหล่งปลูกอำเภอบ้านตาขุน เทียบกับยาปฏิชีวนะ Itraconazole ในการยับยั้งเชื้อรา Aspegillus niger บนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA ยาปฏิชีวนะ Itraconazole ขมิ้นจากแหล่งปลูก อ . บ้านตาขุน ยับยั้งการสร้างสปอร์ได้ดีที่สุด ยับยั้งการเจริญของเส้นใยราดีที่สุด เอทานอล