SlideShare a Scribd company logo
การประยุกต์ทฤษฎีอุปสงค์และอุปทาน
เพื่อการวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจ
บทที่ 3
???????ปุจฉา??????????
หากเราเป็นผู้ขายสินค้า อยากให้มี
ยอดขายเพิ่มขึ้น เราจะทาอย่างไร?
•ขึ้นราคาสินค้า
•ลดราคาสินค้า
•อยู่เฉยๆ
•เรียนวิชา หลักเศรษฐศาสตร์
เป็นคาตอบสุดท้าย หรือเปล่า
วิสัชนา
การลดราคาสินค้านั้น แม้ว่าจะทาให้มีผู้ซื้อเพิ่ม
มากขึ้นก็ตาม แต่ยอดขายหรือรายรับรวมจะ
เพิ่มมากหรือน้อย หรือไม่เพิ่ม และอาจลดลงนั้น
ขึ้นกับสิ่งที่เรียกว่า
“ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา”
(Price Elasticity of Demand )
ความยืดหยุ่น (Elasticity)
หมายถึง การวัดการตอบสนองของตัวแปรหนึ่งต่ออีกตัว
แปรหนึ่ง ดังนั้น ความยืดหยุ่นเป็นการวัดสัดส่วนหรือเปอร์เซน
การเปลี่ยนแปลง
ในการศึกษาทฤษฎีอุปสงค์ อุปทาน และความยืดหยุ่น จาเป็นต้องทราบ
ลักษณะของสินค้าและประเภทของสินค้าและบริการที่มีความสาคัญดังนี้
ความหมายของความยืดหยุ่น
1. สินค้าที่ใช้แทนกันได้ (Substitution goods)
คือเมื่อราคาสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ผู้บริโภคจะหันไปซื้อ
สินค้าอีกชนิดหนึ่งทดแทน เช่น
• ไข่เป็ด กับ ไข่ไก่
• โอวัลติน กับ ไมโล
• เนื้อหมู กับ เนื้อไก่
• ปากกา กับ ดินสอ
• ชา กับ กาแฟ
ความหมายของความยืดหยุ่น
2. สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary goods)
คือซื้อสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ต้องซื้อสินค้าอีกชนิดหนึ่งเพิ่ม
ด้วย เช่น
• รถยนต์ กับ น้ามัน
• ปากกาหมึกซึม กับ น้าหมึก
• สมุด กับ ปากกา
• รถยนต์ กับ ยางรถยนต์
ความหมายของความยืดหยุ่น
3. สินค้าปกติ(Normal goods)
คือปริมาณการซื้อและการใช้บริการจะแปรผันตรงกับรายได้
เช่น รายได้เพิ่มจะทาให้ผู้บริโภคซื้อเพิ่ม
รายได้ลด จะทาให้ผู้บิโภคซื้อลดลง
ความหมายของความยืดหยุ่น
4. สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior goods)
คือสินค้าคุณภาพต่าในมุมมองของผู้บริโภค สินค้านี้จะ
แปรผกผันกับรายได้ผู้บริโภค ผู้บริโภคจะซื้อน้อยลงเมื่อรายได้
เพิ่มขึ้น เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ผ้าโหล สินค้ามือสอง สินค้า
เกรดต่า เป็นต้น
ความหมายของความยืดหยุ่น
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand )
2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand)
3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้ ( Cross Elasticity of Demand ) หรือ
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
4. ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply )
ประเภทของความยืดหยุ่น
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความหมาย อัตราส่วนร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ต่อ ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของ
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบจุด
เป็นการวัดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ณ จุดๆหนึ่ง นิยมใช้ในกรณีที่
ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยจนแทบจะสังเกตุไม่เห็น
P
Q
Ed



%
%
100
100





K
K
K
K
d
P
P
Q
Q
E 1
1
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบจุด
1
1
QP
PQ
Ed



Q = ส่วนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ หรือ Q2-Q1
P = ส่วนเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า หรือ P2-P1
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
P1 = ราคาสินค้าก่อนการเปลี่ยนแปลง
112
112
)(
)(
QPP
PQQ
Ed



ปริมาณ
ราคา
R
T
M
B
P
O
หาความยืดหยุ่นที่จุด B
แบบฝึกหัด
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วง
เป็นการวัดความยืดหยุ่นของอุปในช่วงใดช่วงหนึ่ง หรือจุดสองจุด นิยม
ใช้ในกรณีที่ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงแบบสังเกตุเห็นได้ชัดเจน
P
Q
Ed



%
%
•การคานวณใช้จุดบนเส้นอุปสงค์เพียง 2 จุด จากสูตร
12
12
12
12
PP
PP
QQ
QQ
Ed






12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
Ed






1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วง
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
Q2 = ปริมาณซื้อหลังการเปลี่ยนแปลง
P1 = ราคาสินค้าก่อนการเปลี่ยนแปลง
P2 = ราคาสินค้าหลังการเปลี่ยนแปลง
12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
Ed






ปริมาณ
ราคา
7.6
6040 503020
6.2
3.8
2.3
A
B
C
D
ตัวอย่าง
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง AB
67 .PA  26 .PB 
20AQ 30BQ
97.1
)3020(
)2.66.7(
)2.66.7(
)3020(






dE
ความหมาย
หากราคาลดลงไป 1% จะทาให้ปริมาณเพิ่มขึ้น1.97%
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง CD
83 .PC  32 .PD 
50CQ 60DQ
37.0
)6050(
)3.28.3(
)3.28.3(
)6050(






dE
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความหมาย
หากราคาลดลงไป 1% จะทาให้ปริมาณ เพิ่มขึ้น 0.37%
ข้อที่น่าสังเกต
การคานวณจากจุด AB จะมีค่าเท่ากับจากจุด BA หรือไม่
การคานวณจากจุด CD จะมีค่าเท่ากับ จากจุดDC หรือไม่
ทาไมค่าความยืดหยุ่นของอุปสงต์ต่อราคาจึงมีค่าเป็นลบ
ค่าความยืดหยุ่นในแต่ละจุดบนเส้นอุปสงค์เดียวกันจึงมีค่า
ไม่เท่ากัน
การตีความค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง BA
67 .PA  26 .PB 
20AQ 30BQ
97.1
2030
6.72.6
6.72.6
2030






dE
จากการคานวณ
จากจุด B มายัง A มีค่าเท่ากับการคานวณจากจุด A มายัง B
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง CD
83 .PC  32 .PD 
50CQ 60DQ
37.0
5060
8.33.2
8.33.2
5060






dE
จากการคานวณ
จากจุด C มายัง D มีค่าเท่ากับการคานวณจากจุด D มายัง C
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ทาไมค่าความยืดหยุ่นของอุปสงต์ต่อราคาจึงมีค่าเป็นลบ
ตามกฎของอุปสงค์
ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ
ย่อมแปรผกผัน กับระดับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นดังนั้น การที่
ราคาลดลงปริมาณสินค้าก็จะเพิ่มขึ้นเครื่องหมายจึงมีค่าเป็นลบเสมอ
•เครื่องหมายเป็นการบอกถึงทิศทางเท่านั้น เวลาพิจารณาจะดูแค่ค่า
สัมบูรณ์ของมันเท่านั้น ว่ามากน้อยเพียงใด
•ถ้าค่ามาก เรียกว่า มีความยืดหยุ่นสูง
•ถ้าค่าน้อย เรียกว่า มีความยืดหยุ่นต่า
•เป็นผลมาจากการที่ความต้องการซื้อสินค้าชนิดนั้นๆมีการเปลี่ยนแปลง
ต่อราคาในระดับต่างๆไม่เท่ากัน
•เช่น พิจารณาหากปริมาณความต้องการซื้อรถ หากในช่วงราคา 1 ล้าน
และเพิ่มขึ้น เป็น 1 ล้าน 1 แสน การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อก็จะไม่
เท่ากับ ปริมาณความต้องการซื้อเมื่อราคามีการเปลี่ยนแปลงจาก 1 แสน
เป็น 2 แสน แม้ว่าจะเป็นรถชนิดเดียวกัน และมีค่าเพิ่มขี้น 1 แสนบาท
เท่าๆกัน
ค่าความยืดหยุ่นในแต่ละจุดบนเส้นอุปสงค์เดียวกันจึง
มีค่าไม่เท่ากัน
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ลักษณะของเส้นอุปสงค์และความยืดหยุ่น
1. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
2. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
5. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอสงไขย
1. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
l Ed l >1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
D’
Q1 Q2
•ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อมากกว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณราคา
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทสินค้าฟุ่มเฟือย เช่น เครื่องประดับ สุรา
ต่างประเทศ เครื่องสาอางและรถราคาแพง
1. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
l Ed l >1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
D’
Q1 Q2
2. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
0 < l Ed l <1
•ความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่า 1 แต่มากกว่า 0
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทที่มีความจาเป็น หายาก เช่น ยารักษาโรค
2. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
0 < l Ed l <1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
Q1 Q2
A3
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
l Ed l =1
•ร้อยละการเปลี่ยนแปลงราคาเท่ากับร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ
•สามารถเป็นสินค้าได้ทุกประเภท ไม่ได้ระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด
•รายจ่ายรวมของผู้บริโภคเท่าเดิม ไม่ว่าราคาจะลดลงหรือสูงขึ้น
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
l Ed l =1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
l Ed l =0
•เส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากันตลอดทั้งเส้น
•ปริมาณซื้อจะไม่เปลี่ยนเมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไป
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่มีความจาเป็นมาก เช่น โลงศพ ไม่ว่าราคา
จะถูกหรือแพง ผู้ซื้อก็จะซื้อแค่ 1 โลงเท่านั้น
4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
l Ed l =0
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
D
5. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
l Ed l = infinity
• เส้นอุปสงค์มีค่าเท่ากันตลอดทั้งเส้นเป็นค่าอสงไขย ( Infinity )
และเส้นอุปสงค์ขนานแกนนอน
• ถ้าแม้ว่าผู้ผลิตขึ้นราคาแม้แต่เล็กน้อย ปริมาณซื้อจะลดลงเหลือ
ศูนย์หรือใกล้ศูนย์
• ผู้ผลิตไม่สามารถตั้งราคาให้สูงกว่าราคาตลาด
• สินค้าประเภทนี้เช่น สินค้าเกษตร สินค้าที่ราคาเป็นไปตามกลไก
ตลาดอย่างสมบูรณ์
5. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
l Ed l = infinity
ปัจจัยที่กาหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์
 สินค้าอื่นที่ใช้ทดแทน
 ความคงทนของสินค้า
 ราคาที่เป็นธรรมชาติของสินค้านั้นๆ
 ความจาเป็นต่อผู้บริโภคเฉพาะราย
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
Y
Q
Ei



%
%
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
100
100





K
K
K
K
i
Y
Y
Q
Q
E
1
1
เป็นการวัดการตอบสนองของปริมาณซื้อกับรายได้ของผู้บริโภค
ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ
2.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบจุด
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
2.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบจุด
1
1
QY
YQ
Ei



Q = ส่วนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ หรือ Q2-Q1
Y = ส่วนเปลี่ยนแปลงของรายได้ หรือ Y2-Y1
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
Y1 = รายได้ก่อนการเปลี่ยนแปลง
ผู้บริโภคมีรายได้ (Y1)เดือนละ 5000 บาท เขาจะซื้อนมเดือน
ละ 3 ขวด (Q1) ต่อมารายได้เขาเป็นเดือนละ 6000 บาท (Y2) เขา
จะซื้อนมเพพิ่มขึ้นเป็นเดือนละ 4 ขวด (Q2)
จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ก. ณ ช่วงรายได้ 5000 บาท Q
Y
Y
Q
Ei 



3
5
3
5000
50006000
34



iE
ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น 1% ทาให้ปริมาณการซื้อนมเพิ่ม 1.67%
แบบฝึกหัด
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
2.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบช่วง
Y
Q
Ei



%
%
•การคานวณใช้จุดบนเส้นอุปสงค์เพียง 2 จุด จากสูตร
12
12
12
12
YY
YY
QQ
QQ
Ed






12
12
12
12
QQ
YY
YY
QQ
Ei






1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
2.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบช่วง
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
Q2 = ปริมาณซื้อหลังการเปลี่ยนแปลง
Y1 = รายได้ก่อนการเปลี่ยนแปลง
Y2 = รายได้หลังการเปลี่ยนแปลง
12
12
12
12
QQ
YY
YY
QQ
Ei






ผู้บริโภคมีรายได้ (Y1)เดือนละ 5000 บาท เขาจะซื้อนมเดือนละ 3
ขวด (Q1) ต่อมารายได้เขาเป็นเดือนละ 6000 บาท (Y2) เขาจะซื้อนม
เพิ่มขึ้นเป็นเดือนละ 4 ขวด (Q2) จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
แบบฝึกหัด
ก. ณ ช่วงรายได้ 5000 บาท และ 6000 บาท
21
12
12
21
QQ
YY
YY
QQ
Ei






7
11
34
50006000
50006000
34






iE
ในช่วงรายได้ดังกล่าว ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น 1% จะทาให้ปริมาณความ
ต้องการซื้อเพิ่มขึ้น 1.57%
แบบฝึกหัด
 โดยทั่วไปค่าความยืดหยุ่นมีค่าเป็นบวก นั่นคือ การ
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน คือ หากรายได้เพิ่มเขาก็จะ
ซื้อเพิ่ม ซึ่งเป็นลักษณะของสินค้าสามัญ ( Normal Goods )
 แต่หากมีค่าเป็นลบ แสดงว่าสินค้านั้นอาจเป็นสินค้าด้อย
คุณภาพ ( Inferior Goods )
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ข้อสังเกตุ
3.ความยืดหยุ่นของสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง
อัตราส่วนระหว่าง เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณความต้องการสินค้า ต่อ
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง ( เป็นสินค้าคนละชนิด )
แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
3.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อสินค้าอื่นแบบช่วง
xy
yx
c
QP
PQ
E



Qx = ส่วนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ หรือ Q2-Q1
Py = ส่วนเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า หรือ P2-P1
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
P1 = ราคาสินค้าก่อนการเปลี่ยนแปลง
ความยืดหยุ่นไขว้แบบช่วง
12
12
12
12
XY
XX
YY
YY
XX
QQ
PP
PP
QQ
E






ความยืดหยุ่นไขว้แบบจุด
X
Y
YY
XX
Q
P
PP
QQ
E 



12
12
XY
ตัวอย่าง
ในตลาด เนื้อวัวราคากิโลกรัมละ 60 บาท ปริมาณความ
ต้องการซื้อเนื้อหมูเท่ากับ 200 กิโลกรัม ต่อมาราคาเนื้อวัวสูงขึ้น
เป็น 70 บาทต่อกิโลกรัม ความต้องการเนื้อหมูเพิ่มเป็น 250
กิโลกรัม จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัว
ในช่วงราคากิโลกรัมละ 60 ถึง 70 บาท
21
21
XY
XX
YY
Y
X
QQ
PP
P
Q
E






44.1
200250
6070
6070
200250
XY 





E
การตีความ
 ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัวมีค่าเท่ากับ
1.44 แสดงว่า ปริมาณความต้องการซื้อเนื้อหมูจะเพิ่มขึ้นเมื่อราคา
เนื้อวัวสูงขึ้น ( มันเป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน )
 ค่า 1.44 หมายความว่าถ้าราคาเนื้อวัวสูงขึ้น ( ลดลง ) 1% จะ
ทาให้ปริมาณความต้องการเนื้อหมูสุงขึ้น ( ลดลง ) 1.44%
 ถ้าค่าความยืดหยุ่นเป็นลบ แสดงว่า มันเป็นสินค้าที่ใช้
ประกอบกัน
ความหมาย
อัตราส่วนร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
P%
Q%
Es



4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)
การคานวณความยืดหยุ่นแบบจุด
2
1
12
12
Q
P
PP
QQ
ES 



12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
ES






การคานวณความยืดหยุ่นแบบช่วง
4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)
จงคานวนค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน จากจุด A ไปยังจุด B
แบบฝึกหัด
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
80
40
200 500
แบบฝึกหัด
ถ้าราคาลดลง 1% จะทาให้ปริมาณความต้องการขาย
ลดลง 1.29%
12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
ES






500200
8040
8040
500200





SE
29.1
700
120
40
300



SE
4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
ลักษณะของเส้นอุปทานและความยืดหยุ่น
1. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
2. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
3. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
4. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
5. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นอสงไขย
การตีความในเรื่องของ ค่าความยืดหยุ่น
• ค่าความยืดหยุ่นนั้นมีค่าติดบวกนั้น มีความหมายถึง
การที่ราคาเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ปริมาณขายจะเปลี่ยนไป
ในทิศเดียวกัน
• ค่าความยืดหยุ่นจะมีค่าตั้งแต่ 0 ไปถึง infinity
• ถ้าเป็น 0 เรียก ไม่มีความยืดหยุ่น
• ถ้าเป็น 0 - 1 เรียกว่า ยืดหยุ่นต่า
• ถ้าเป็น 1 ขึ้นไป เรียกว่า ยืดหยุ่นสูง
• ความยืดหยุ่นขึ้นกับระยะตัดแกน
1. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
Es >1
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
P1
P2
Q1Q2
• ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% ทาให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลง
มากกว่า 1 %
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทสินค้าประเภท สินค้าอุตสาหกรรม
1. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
l Ed l >1
2. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
0 < Es < 1
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
P1
P2
Q1
Q2
• ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% ทาให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลง
น้อยกว่า 1 %
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทสินค้าประเภท สินค้าเกษตร
2. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อยหนึ่ง
0 < Es < 1
3. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
Es =1
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
P1
P2
Q1Q2
•ร้อยละการเปลี่ยนแปลงราคาเท่ากับร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
ขาย
•สามารถเป็นสินค้าได้ทุกประเภท ไม่ได้ระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด
•เส้นอุปทานจะเริ่มต้นจากจุดกาเนิด
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
Es =1
ปริมาณผลิต
ราคา
A
B
s
P1
P2
4. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
Es =0
Q1
•ปริมาณเสนอขายไม่เปลี่ยนแปลง ณ ราคาใดๆ
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่มีจานวนจากัดในโลก เช่น วัตถุโบราณ
ต่างๆ สินค้าที่ผลิตมาในจานวนจากัด หายากมากๆ
4. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
Es =0
ปริมาณผลิต
ราคา
D
5. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
Es = infinity
Q1
Q2
• เส้นอุปทานมีค่าเท่ากันตลอดทั้งเส้นเป็นค่าอสงไขย ( Infinity )
• ณ ระดับราคานั้น ๆ ผู้ผลิตยินดีเสนอขายอย่างไม่จากัด
• ผู้ผลิตไม่สามารถตั้งราคาให้สูงกว่าราคาตลาด
• สินค้าประเภทนี้เช่น สินค้าเกษตร สินค้าที่ราคาเป็นไปตามกลไก
ตลาดอย่างสมบูรณ์
5. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
Es = infinity
สรุป ความยืดหยุ่นของอุปทาน
• ตีความ ความยืดหยุ่นของอุปทานมีค่าเท่ากับ 0.6 คือ
ถ้าราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ( ลดลง ) 1% จะทาให้ปริมาณความ
ต้องการขายสินค้านั้นเพิ่มขึ้น ( ลดลง ) 0.6%
• ค่าความยืดหยุ่นที่เป็นบวกแสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลง
ไปในทิศทางเดียวกัน
• การวัดความยืดหยุ่นพิจารณาจากระยะตัดแกนเป็น
สาคัญ
ปริมาณผลผลิต
ราคา
O
ES > 1
ES = 1
ES < 1
ปัจจัยที่กาหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
 ระยะเวลา
 ความเปนไปได้ของการผลิต
 ความเป็นไปได้ของการรักษาผลผลิต
 ต้นทุนการผลิต
4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)
การประยุกต์ความยืดหยุ่น
เพื่อการวิเคราะห์ปัญหาทาง
เศรษฐกิจ
ประโยชน์ของความยืดหยุ่น
1. วิเคราะห์ปัญหาการเก็บภาษีและภาระภาษี
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาการค้าระหว่างประเทศ
3. การกาหนดราคาขั้นสูง
4. การประกันราคาขั้นต่า
5. พิจารณาค่าจ้างขั้นต่า
6. การกาหนดราคาสาธารณูปโภค
7. การให้เงินอุดหนุน
ตัวอย่าง การแทรกแซงราคาโดยรัฐ
•การประกันราคาขั้นต่า ( Price Support )
นิยมใช้กับสินค้าทางการเกษตร เป็นการช่วยเหลือเกษตรกร สินค้ามีความ
ยืดหยุ่นต่ออุปสงค์ต่า อุปทานควบคุมได้ยากขึ้นกับฟ้าดิน
1. การประกันราคาขั้นต่าโดยรับซื้ออุปทานส่วนเกิน
2. การประกันราคาขั้นต่าโดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่
เกษตรกร
•การกาหนดราคาขั้นสูง ( Price Ceiling )
การกาหนดราคาขั้นสูง ( Price Ceiling )
•ใช้เมื่อสินค้าและบริการมีการขาดแคลนอย่างหนัก
•ราคาสินค้าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ในช่วง
สงคราม
•รัฐบาลอาจใช้กระบวนการปันส่วนคูปองเพื่อกาหนดสิทธิ
•อาจเกิดตลาดมืด ( Black Market )
D
S
E
ปริมาณ
PE
ราคา
A B
Pขั้นสูง
QE QBQA
อุปสงค์ส่วนเกิน
( Excess Demand )
อุปสงค์ QD = 30-5P
อุปทาน Qs = 16+2P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นสูง
ของสมการอุปสงค์และอุปทานถ้ารัฐบาลเข้ามากาหนดราคาสินค้า 1 บาท/หน่วย ราคา
นี้เรียกว่าราคาอะไร และจะมีผลอย่างไรต่ออุสงค์
อุปทาน และควรมีวิธีแก้ไขอย่างไร
อุปสงค์ QD = 30-5P
อุปทาน Qs = 16+2P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นสูง
ของสมการอุปสงค์และอุปทาน
การประกันราคาขั้นต่า ( Price Support )
การประกันราคาขั้นต่าโดยรับซื้ออุปทานส่วนเกิน
การประกันราคาขั้นต่า คือ การที่รัฐบาลประกาศราคาประกัน ( ไม่ใช่
ปริมาณประกัน ) และบังคับให้ผู้ซื้อทุกรายซื้อสินค้าในราคาประกัน
มิฉะนั้น จะมีความผิดทางกฎหมาย และหากเกษตรกรไม่สามารถขาย
ผลผลิตกับพ่อค้าในราคาประกันได้ รัฐซื้อโดยไม่จากัดจานวน
1. แสดงว่า ราคาประกัน ต้องสูงกว่าราคาดุลยภาพในขณะนั้น
2. พ่อค้าอาจไม่ซื้อในราคาประกันก็ได้ โดยให้เหตุผลในเรื่องของ
ปริมาณความต้องการ
D
S
E
ปริมาณ
PE
ราคา
A B
Pประกัน
QE QBQA
อุปทานส่วนเกิน ( Excess Supply )
QA
พ่อค้า
จ่าย
D
S
A B
E
ปริมาณ
ราคา
Pประกัน
QB
รัฐบาล
จ่าย
เกษตรกรได้รับ
D
S
A B
E
ปริมาณ
ราคา
Pประกัน
QBQA
เกษตรกรได้รับ
พ่อค้า
จ่าย
รัฐบาลจ่าย
หากความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่า
การประกันราคาขั้นต่า ( Price Support )
การประกันราคาขั้นต่าโดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้เกษตรกร
•รัฐบาลปล่อยให้มีการซื้อขายตามกลไกตลาดแบบปกติ
•รัฐบาลจะจ่ายเงินชดเชยเท่ากับส่วนต่างระหว่างราคาประกัน
กับราคาตลาด
•รัฐบาลต้องมีการควบคุมในเรื่องของปริมาณ โดยต้องประกาศ
นโยบายนี้ในช่วงเวลาที่เหมาะสม ( Why ? )
อุปสงค์ QD = 120-20P
อุปทาน Qs = 10P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นต่า
ของสมการอุปสงค์และอุปทานถ้ารัฐบาลเข้ามากาหนดราคาสินค้า 5 บาท/หน่วย ราคา
นี้เรียกว่าราคาอะไร และจะมีผลอย่างไรต่ออุสงค์
อุปทาน และควรมีวิธีแก้ไขอย่างไร
อุปสงค์ QD = 30-5P
อุปทาน Qs = 16+2P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นสูง
ของสมการอุปสงค์และอุปทาน
The End

More Related Content

What's hot

ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
tumetr1
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
PariwanButsat
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานthnaporn999
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
PariwanButsat
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
Ruangrat Watthanasaowalak
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Pattapong Promchai
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
Thepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

Chapter3 ความยืดหยุ่น