SlideShare a Scribd company logo
ความปลอดภัยเกี่ยวข้องกับการ
ทํางานกับสารชีวภาพ เชื้อจุลินทรีย์
ทางด้านการแพทย์และสิ่งมีชีวิต
ดัดแปลงพันธุกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรสวรรค์ เหลืองวุฒิวงษ์
ภาควิชาจุลชีววิทยาและอิมมิวโนโลยี
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
pornsawan.lea@mahidol.ac.th
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม หรือ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
G
enetically Modified O
rganisms -GM
Os
• หมายถึง สิ่งมีชีวิตใดก็ตามที่มีการตัดต่อ ตัดแต่ง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลง
สารพันธุกรรม หรือผสมผสานสารพันธุกรรมใหม่ (Novel combination
of genetic materials) โดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม ซึ่งทําให้ได้
สิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติเพิ่มเติมหรือแตกกต่างไปจากเดิม
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
• จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมหมายถึง จุลินทรีย์ที่ได้มีการดัดแปลงสารพันธุกรรมให้
แตกต่างไปจากสารพันธุกรรมเดิมซึ่งไม่สามารถเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติแต่เกิดขึ้น
โดยอาศัยเทคนิคการดัดแปลงสารพันธุกรรม (genetic modification
techniques) เพื่อให้มีคุณลักษณะที่เป็นประโยชน์ตามความต้องการ เช่น การ
ผลิตเอนไซม์และยังรวมถึงการผลิตเซลล์ลูกหลานของจุลินทรีย์ที่ได้รับการถ่ายทอด
การแสดงออกของยีนที่เปลี่ยนแปลงนั้น
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
เทคนิคการดัดแปลงสารพันธุกรรม
(geneticmodificationtechniques)
1. การใช้ recombinant DNA technology โดยการเชื่อมชิ้นส่วน ดี
เอ็นเอหรือยีน (heterologous gene) ที่ต้องการให้แสดงออกกับพาหะ
(vector) แล้วนําเข้าสู่เจ้าบ้าน โดยวิธีต่างๆ เช่น electroporation
เพื่อให้แสดงคุณลักษณะที่ต้องการ ตัวอย่างพาหะที่ใช้เช่น พลาสมิดและไวรัส
2. การนําชิ้นดีเอ็นเอหรือยีนเข้าสู่เจ้าบ้านโดยวิธี micro-injection,
macro-injection และ micro-encapsulation
3. การหลอมรวมเซลล์ (cell fusion) หรือการหลอมรวมโปรโตพลาสต์
(protoplast fusion) และวิธี hybridization ระหว่างเซลล์ต่างชนิด
และมีพันธุกรรมต่างกันที่ทําให้จุลินทรีย์นั้นมีสารพันธุกรรมใหม่ซึ่งไม่สามารถ
เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ประเภทของการวิจัยและการทดลองเกี่ยวกับการ
ดัดแปลงพันธุวิศวกรรม
แบ่งระดับความเข้มงวดในการควบคุมตามประเภทของงานวิจัย
• BSL1 หรือ BSL2 แจ้ง IBC ประเภทที่ 1 งานที่ไม่มีอันตราย
• BSL1 หรือ BSL2 ขออนุญาต IBC ประเภทที่ 2 งานที่อาจเป็น
อันตรายในระดับตํ่า
• BSL2 หรือ BSL3 หรือ BSL4 ขออนุญาต IBC/TBC ประเภทที่ 3
งานที่อาจมีอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน ในห้องทดลองชุมชนและสิ่งแวดล้อม/ งานที่เกี่ยวกับ
การรักษาผู้ป่วยโดยการดัดแปลงพันธุกรรม/งานที่อาจมีอันตรายในระดับที่ยังไม่เป็นที่
ทราบแน่ชัด
• ห้ามดําเนินการ ประเภทที่ 4 งานที่มีอันตรายร้ายแรงต่อผู้ปฏิบัติงานใน
ห้องทดลอง ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ งานวิจัยที่ไม่มีมาตรการควบคุมป
้ องกันในเชิง
วิทยาศาสตร์ งานวิจัยที่มุ่งเน้นผลิตสิ่งมีชีวิตก่อโรคเพื่อเป
้ าหมายทางสงคราม งานวิจัย
ดัดแปลงพันธุกรรมมนุษย์ที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางรักษา
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
งานวิจัยประเภท 1
1. การดัดแปลงพันธุกรรมของเซลล์สิ่งมีชีวิตที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย
2. งานวิจัยและทดลองที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมที่มีการ
แลกเปลี่ยน DNA โดยกระบวนการทางสรีรวิทยา ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ตาม
ภาคผนวกที่ 2 ข้อ 2.1
3. การวิจัยและทดลองที่เกี่ยวกับระบบเจ้าบ้าน/พาหะที่ได้อนุญาตไว้ใน
ภาคผนวกที่ 2 ข้อ 2.2
4. การวิจัยและทดลองดัดแปลงพันธุกรรมในพืชที่ใช้สารพันธุกรรมจาก พืชชนิด
นั้นเอง และไม่เป็นวัชพืชร้ายแรงหรือไม่สามารถผสมข้ามกับวัชพืชได้
แจ้ง IBC
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
1. การดัดแปลงพันธุกรรมของเซลล์สิ่งมีชีวิตที่ก่อให้เกิดอันตรายในระดับตํ่า
2. การวิจัยและทดลองที่เกี่ยวกับระบบเจ้าบ้าน/พาหะที่ไม่ได้อนุญาตไว้ใน
ภาคผนวกที่ 2 ข้อ 2.2
3. การวิจัยและทดลองที่เกี่ยวกับระบบเจ้าบ้าน/พาหะที่อนุญาตไว้แล้ว ตาม
ภาคผนวกที่ 2 ข้อ 2.2 แต่ยีนที่จะนํามาเชื่อมมีลักษณะเป็นตัวกําหนดให้เกิดพิษ
ภัย หรือ DNA หรือ RNA จากจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคในมนุษย์ สัตว์ หรือพืชที่
อยู่ในบัญชีระดับความเสี่ยง 2 ตามภาคผนวกที่ 2 ข้อ 2.3 หรือมียีนสร้าง
โปรตีนที่มีผลต่อการเจริญเติบโตหรือการแบ่งเซลล์ เช่น ยีนที่ทําให้เกิดมะเร็ง
4. การวิจัยและทดลองกับสิ่งมีชีวิตตามภาคผนวกที่ 2 ข้อ 2.3
5. การวิจัยและทดลองดัดแปลงพันธุกรรมพืชที่ได้รับสารพันธุกรรมจากพืช ชนิด
อื่น หรือสิ่งมีชีวิตอื่น แต่ต้องไม่มีสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตก่อโรคต่างถิ่น
งานวิจัยประเภท 2
ขออนุญาต IBC
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
1. การวิจัยและทดลองที่เกี่ยวกับระบบเจ้าบ้าน/พาหะ หรือยีน หรือชิ้นส่วน DNA จาก
เชื้อจุลินทรีย์ที่อาจทําให้เกิดโรคในมนุษย์ สัตว์ หรือพืช ตามบัญชีระดับความเสี่ยง 3 ตาม
ภาคผนวกที่ 2 ข้อ 2.4 หรือเชื้อที่อาจมีอันตรายในระดับที่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด
2. การวิจัยและทดลองเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่ผลิตสารพิษ (toxin producers) การวิจัยที่
เกี่ยวข้องกับ DNA และ การโคลนนิ่ง DNA (DNA cloning) ที่ควบคุมการสร้าง
สารพิษ หรือผลิตสารพิษที่มี LD50 ต่ากว่า 100 นาโน กรัมต่อกิโลกรัม (ภาคผนวกที่ 2 ข้อ
2.6) การวิจัยที่เกี่ยวกับยีนที่ให้ ผลผลิตสูงถึงแม้ว่าสารพิษที่ผลิตจะมี LD50 สูงกว่า 100
นาโนกรัมต่อ กิโลกรัม ทั้งนี้รวมถึง การวิจัยที่ใช้ DNA ของจุลินทรีย์ที่ผลิตสารพิษ ซึ่งยังไม่
ทราบแน่ชัดว่าอาจจะยังมียีนสารพิษอยู่ ต้องระบุรายละเอียดการทดลองให้ชัดเจนถึงชนิดของ
สารพิษ ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ร่วมในการทําโคลนนิ่ง (cloning) และระดับความเป็นพิษที่
LD50
3. การวิจัยและทดลองที่ใช้ไวรัสเป็นพาหะ ซึ่งทําให้เซลล์มนุษย์ติดเชื้อได้ หรืองานวิจัยที่มี DNA
ส่วนที่เสริมแต่ง ซึ่งมีความสามารถผลิตสารควบคุมการเจริญเติบโต หรือเป็นสารที่เป็นพิษต่อ
เซลล์มนุษย์ ตามรายชื่อในภาคผนวก งานที่เกี่ยวข้องกับพาหะไวรัสที่มียีนทําให้เกิดมะเร็ง
งานวิจัยประเภท 3
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
4. การวิจัยและทดลองที่เกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วยด้วยการดัดแปลงพันธุกรรมทุก
ประเภท
5. การวิจัยและทดลองใดๆ ที่มีการฉีดชิ้นส่วนหรือสารพันธุกรรมของไวรัสเข้าไปในตัว
อ่อน เพื่อดัดแปลงพันธุกรรมของสัตว์ที่มีการผลิตตัวไวรัส
6. การวิจัยและทดลองที่มีการสร้างสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่มีการต้านทานยาปฏิชีวนะ
หลายชนิด โดยที่ยาปฏิชีวนะนั้นๆ ใช้ในการบําบัดรักษามนุษย์ สัตว์หรือใช้ในการเกษตร
7. การวิจัยและทดลองดัดแปลงพันธุกรรมพืชที่ได้รับสารพันธุกรรมจากพืชชนิดอื่น หรือ
สิ่งมีชีวิตอื่นโดยสารพันธุกรรมนั้นมาจากจุลินทรีย์ต่างถิ่นที่ก่อโรค หรือมียีนสร้างสารพิษ
ต่อสัตว์มีกระดูกสันหลัง หรือสร้างสารออกฤทธิ
ทางเภสัช หรือสารที่ใช้ในอุตสาหกรรม
8. การวิจัยและทดลองที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มใดๆ แต่อยู่ในขอบเขตของแนวทางปฏิบัติ
งานวิจัยประเภท 3 (ต่อ)
ขออนุญาต IBC และ TBC
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
การวิจัยและทดลองที่มีอันตรายระดับร้ายแรงต่อผู้ปฏิบัติงานในห้องทดลอง ชุมชน
และสิ่งแวดล้อม กิจกรรมวิจัยเหล่านี้ได้แก่
• งานวิจัยที่ไม่มีมาตรการ และ/หรือข้อมูลที่ใช้ในการพิสูจน์ และควบคุมป
้ องกัน
ในเชิงวิทยาศาสตร์อย่างชัดเจน
• งานวิจัยและทดลองที่มุ่งเน้นผลิตสิ่งมีชีวิตก่อโรค และ/หรือ สารพิษ เพื่อ
เป
้ าหมายทางสงคราม และการทําลายล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์หรือสัตว์
• งานวิจัยและทดลอง ที่มุ่งจะดัดแปลงพันธุกรรมของมนุษย์ด้วย เทคนิคทางพันธุ
วิศวกรรม ที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการรักษา ความผิดปกติทางพันธุกรรม
งานวิจัยประเภท 4
ไม่ได้รับอนุญาตให้ดําเนินการ
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
การจัดการของเสียจากการทํางานที่มีการใช้
จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
• ตามหลักการของแนวทางปฏิบัติสากลของเสียจากงานที่มีการใช้จุลินทรีย์
ดัดแปลงพันธุกรรมทั้งที่เป็นของเหลวและของแข็งต้องดําเนินการลดการ
ปนเปื้อน/กําจัดเชื้อ ด้วยวิธีที่เคยได้รับการตรวจสอบประสิทธิภาพแล้ว ก่อน
นําไปทิ้ง โดยของเสียที่ผ่านการบําบัดแล้ว จะต้องไม่มียีน/ดีเอ็นเอที่สามารถ
ถ่ายทอดสู่สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมได้
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
การจัดการของเสียจากการทํางาน
ที่มีการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
งานประเภทที่ 1
• การกําจัดวัสดุและของเสียที่มีการปนเปื้อนจะต้องใช้วิธีการที่ผ่านการตรวจสอบ
ความถูกต้องแล้ว (validation)
• วัสดุที่ใช้ บรรจุจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมสามารถนําไปกําจัดเชื้อภายนอก
สถานที่ดําเนินการผลิตได้
• บริษัทที่ได้รับการว่าจ้างให้นําของเสียไปกําจัดต้องเป็นบริษัทที่ได้รับใบอนุญาต
ประกอบกิจการจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมและต้องทําการบันทึกรายละเอียด
วิธีการบําบัดและการกําจัดของเสียโดยบริษัทผู้รับจัดการของเสียไว้ด้วย
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
การจัดการของเสียจากการทํางาน
ที่มีการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
งานที่จัดอยู่ในประเภทที่ 2 หรือ 3
• การกําจัดวัสดุและของเสียที่มีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมในงาน
ประเภทนี้ต้องดําเนินการภายในพื้นที่ที่มีการใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมใน
สภาพควบคุม
• โดยต้องทําการกําจัดเชื้อในงานประเภทที่ 3 ที่ยังมีชีวิต ด้วยความร้อน ณ บริเวณ
ที่ดําเนินการ (heat sterilization on-site) ห้ามเคลื่อนย้าย วัสดุ
อุปกรณ์เพื่อนําไปกําจัดเชื้อภายนอกสภาพควบคุม
• สําหรับอากาศที่ระบายออก (exhaust air) จากระบบปิดในงานประเภทที่ 2
และ 3 ต้องผ่านการบําบัดเพื่อป
้ องกัน การหลุดรอดของเชื้อที่ยังมีชีวิต
• ในกรณีที่เป็นงานประเภทที่ 3 ต้องกําจัดเชื้อ ในนํ้าทิ้งจากอ่างล้างมือ และฝักบัว
อาบนํ้าหรือ นํ้าทิ้งจากส่วนอื่นๆ ด้วย
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
วิธีการกําจัดจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
• การเลือกวิธีการกําจัดเชื้อต้องพิจารณาให้เหมาะสมตามประเภทความเสี่ยงของ
จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม และวิธีที่ใช้ในการกําจัดเชื้อต้องเป็นวิธีที่ได้รับการ
ตรวจสอบความถูกต้อง
• นํ้าทิ้งจากกระบวนการผลิตสามารถบําบัดด้วยกระบวนการทางเคมีหรือความ
ร้อน หรือใช้ร่วมกันทั้งสองวิธีโดยอาจใช้แรงดันเข้าร่วมด้วย
• การใช้ความร้อนเป็นวิธีที่เหมาะสมกับการกําจัดนํ้าทิ้งในปริมาณมากจาก
กระบวนการผลิตและควรใช้แรงดันร่วมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดเชื้อ
• ทั้งนี้นํ้าเสียที่ได้รับการบําบัดด้วยสารเคมีแล้ว ต้องได้รับการตรวจสอบ
คุณลักษณะทางกายภาพและเคมีให้เป็นไปตามข้อกําหนด คุณลักษณะนํ้าทิ้ง
ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมก่อนนําไปทิ้ง (ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 เรื่อง
กําหนด คุณลักษณะของนํ้าทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน)
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ของเสียที่เป็นของแข็ง ต้องบําบัดโดยเครื่องนึ่งไอนํ้าความดันสูง (autoclave)
ภายใต้ อุณหภูมิ เวลา และความดัน ที่แสดงในตารางหรืออาจใช้วิธีการเผา
ภายในเตาเผาที่ได้มาตรฐาน
ค่ากําหนดขั้นตํ่าในการกําจัดจุลินทรีย์และของเสียที่มีการปนเปื้อน ด้วยเครื่องนึ่งไอนํ้าความดันสูง
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
กระบวนการทวนสอบ (verification)
และการตรวจสอบความถูกต้อง (validation)
ของการกําจัดจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
• กระบวนการที่ใช้ในการกําจัดจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม (เช่น การกําจัดเชื้อ
ด้วย ความร้อน หรือสารเคมี)ต้องผ่านการทวนสอบและการตรวจสอบความ
ถูกต้อง ภายใต้ภาวะที่ใช้ในการทํางานจริง
• การทวนสอบ (verification) ต้องมีการใช้ตัวชี้วัดทางชีวภาพ
(biological indicator) ที่เหมาะสมเป็นตัวเทียบเคียงในการควบคุม
และมีการทดสอบประสิทธิภาพวิธีที่ใช้ในการบําบัดของเสียอย่างสมํ่าเสมอ
• เก็บบันทึกข้อมูลการทดสอบไว้เพื่อเป็นหลักฐานเมื่อมีการตรวจสอบเป็น
ระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี (ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.2526 หมวด 3 การเก็บรักษา ยืม และทําลายหนังสือ)
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
กระบวนการทวนสอบ (verification)
และการตรวจสอบความถูกต้อง (validation)
ของการกําจัดจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
• การตรวจสอบความถูกต้อง (validation) ทําการทดสอบโดยจําลอง
สถานการณ์ สมมุติหากเกิดการหลุดรอดที่ร้ายแรงที่สุด โดยใช้เจ้าบ้านหรือเชื้อที่
มีคุณลักษณะเทียบเท่า
• ปัจจัยต่างๆที่ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องคือ อุณหภูมิและความเข้มข้น
ของสารเคมีที่ใช้ในการกําจัดเชื้อ ระยะเวลาที่มีการสัมผัส ความหนาแน่นและ
ปริมาตรของจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมในของเสียสําหรับเซลล์เป
้ าหมายแต่ละ
กรณี ด้วยความถี่ในการทําการตรวจสอบความถูกต้องขึ้นกับระดับความเสี่ยง
ของงาน (ควร ดําเนินการอย่างน้อยปีละ1ครั้ง ภายใต้ภาวะการทํางานปกติ)
• ทั้งนี้ต้องบันทึกรายละเอียด การตรวจสอบ เช่น ขั้นตอนการตรวจสอบความ
ถูกต้องและผลที่ได้จากการตรวจสอบ และ เก็บเอกสารทั้งหมดไว้เป็นเวลาอย่าง
น้อย 5 ปีตามข้อกําหนดของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ตัวอย่างตัวชี้วัดทางชีวภาพสําหรับการตรวจสอบประสิทธิภาพ
วิธีการกําจัดจุลินทรีย์โดยใช้ความร้อนและสารเคมี
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ข้อกําหนดทั่วไปในการทํางานที่มีการใช้จุลินทรีย์
ดัดแปลงพันธุกรรม
1. มีข้อกําหนดหรือวิธีปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษรและควบคุมให้มีการ
ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
2. มีการตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้กับจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมให้
ทํางาน อย่างมีประสิทธิภาพอย่างสมํ่าเสมอ
3. มีการตรวจการปนเปื้อน หรือหลุดรอดของจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมใน
บริเวณ ควบคุม และบริเวณใกล้เคียง
4. มีการกําจัดจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมและอาหารที่ใช้เพาะเลี้ยงก่อนทิ้ง
ออกสู่ภายนอกด้วยวิธีการที่เหมาะสม
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ข้อกําหนดทั่วไปในการทํางานที่มีการใช้จุลินทรีย์
ดัดแปลงพันธุกรรม
5. มีแผนรับเหตุฉุกเฉินและวิธีจัดการเมื่อมีการหกรั่วไหลหรือหลุดรอดของ
จุลินทรีย์ ดัดแปลงพันธุกรรม
6. มีการอบรมผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการ
ปฏิบัติงาน และระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน รวมทั้ง
การอบรมให้มีความพร้อมรับเหตุฉุกเฉิน
7. มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety officer)และ
คณะกรรมการ ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสถาบัน(Institutional
B
iosafety C
ommittee - IB
C
)
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ข้อมูลสําคัญทางวิทยาศาสตร์
ที่ใช้สําหรับประเมินความเสี่ยงของงาน
1. ข้อมูลเกี่ยวกับจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม
• ข้อมูลเกี่ยวกับเจ้าบ้านประกอบด้วยชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ และชื่อสายพันธุ์
รวมถึงการจําแนกตามอนุกรมวิธาน ลักษณะสมบัติ รายละเอียดก่อนการ
ดัดแปลงพันธุกรรมแนวโน้มการก่อโรคและโอกาสหรือความสามารถในการอยู่
รอดในสิ่งแวดล้อม
• ข้อมูลเกี่ยวกับพาหะและชิ้นดีเอ็นเอหรือยีนที่นําสู่เจ้าบ้าน ประกอบด้วย
ลักษณะสมบัติและประวัติของพาหะ วิธีการเตรียมและวิธีการเชื่อมต่อกับพาหะ
ความคงตัวในเจ้าบ้าน และความถี่ในการเคลื่อนย้ายของพาหะ
• ข้อมูลเกี่ยวกับจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมประกอบด้วย รายละเอียด การ
แสดงออกของชิ้นดีเอ็นเอหรือยีนที่นําเข้าสู่เจ้าบ้าน ลักษณะสมบัติเทียบกับ เจ้า
บ้าน และโอกาสหรือความสามารถในการอยู่รอดในสิ่งแวดล้อม
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ข้อมูลสําคัญทางวิทยาศาสตร์
ที่ใช้สําหรับประเมินความเสี่ยงของงาน 2
2. ข้อมูลเกี่ยวกับการทํางาน พิจารณาถึงความเสี่ยงในการก่อให้เกิดอันตราย
ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วยภาวะการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ดัดแปลง
พันธุกรรม ปริมาณจุลินทรีย์ที่ใช้ ขั้นตอนการแยกผลผลิต และกระบวนการทํา
ผลผลิตให้บริสุทธิ์
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
หลักการประเมินความเสี่ยง
(R
isk assessment)
สิ่งที่ต้องพิจารณาเพื่อประเมินความเสี่ยง
• สิ่งมีชีวิตพันธุ์ดั้งเดิม (parent organisms
or wild type) ก่อนที่จะนํามาทําเป็น
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม เช่น ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อสามัญ ที่นํามาพัฒนาเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลง
พันธุกรรม พาหะ (Vector) ที่ใช้ในการ
ถ่ายทอดสารพันธุกรรมเป็นแบบใด ได้มาจาก
สิ่งมีชีวิต ชนิดใด
• สิ่งมีชีวิตที่ทําหน้าที่เป็น donor สามารถ
ควบคุมการสร้างสารพันธุกรรมได้หรือไม่
• สิ่งมีชีวิตที่ดัดแปลงพันธุกรรมแล้ว
• ความเสี่ยงที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
รวมทั้งผลกระทบต่อสุขอนามัยของมนุษย์ เช่น
การเกิดพิษ ภูมิแพ้ หรือการก่อให้เกิดโรค
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
สิ่งที่ต้องพิจารณาประเมินความเสี่ยง
• กระบวนการประเมินความเสี่ยงของสิ่งมีชีวิตพันธุ์ดั้งเดิม (parent
organisms or wild type)
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
สิ่งที่ต้องพิจารณาประเมินความเสี่ยง
• กระบวนการประเมินความเสี่ยงในสิ่งมีชีวิตที่ทําหน้าที่เป็น donor
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
กระบวนการประเมินความเสี่ยงของ
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมใหม่
สิ่งที่ต้องพิจารณาประเมิน
ความเสี่ยง
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
• กระบวนการประเมินความ
เสี่ยงของสิ่งมีชีวิตดัดแปลง
พันธุกรรมต่อสภาพแวดล้อม
สิ่งที่ต้องพิจารณาประเมิน
ความเสี่ยง
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
S
pecimenstransportation
28
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
S
pecimenstransportation
29
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
WAS
TEMANAGEMENT
30
Source: http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/130596/1/WHO_HIS_SDS_2014.4_eng.pdf
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
31
B
iohazardousWaste
• Definition:
• Waste generated from biologically-cultured stocks
and plates, molecular material, blood, animal and
plant tissues etc.
• All sharps e.g. glass implements, needles, syringes,
blades, glass Pasteur pipettes
• Separate biological waste from chemical
hazardous waste
• Treat to eliminate biohazard by sterilization or
incineration
• Label correct, use biohazard tape
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
Typesof B
iohazardousWaste
• Dry Solid- No pourable liquids!
• Contaminated Containers such as:
• Petri Dishes
• Conical Tubes
• Contaminated Transfer Devices
• Pipette Tips
• Plastic Pipettes
• Sharps – Have the ability to cut or puncture.
• Glass pasteur pipettes
• Syringes with needles
• Needles
• Razor Blades
• Microscope slides
32
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
• Liquids – Pourable Wastes
• Stocks
• Media
• Blood
• Aspirated Liquid Wastes
Typesof B
iohazardousWaste
33
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
WasteC
ollection
• Dry Solids (No sharps!)
• Primary Containment:
Collect dry, solid waste in a “red
bag”. The red bag must have the
international biohazard symbol, the
word “biohazard” and a label
• Secondary Containment:
The red bag (primary containment)
must be stored in a rigid container
with a lid that is resistant to leaks
and punctures. The red bag must
be kept in the secondary container
during use, storage, and transport.
Source: http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/130596/1/WHO_HIS_SDS_2014.4_eng.pdf
34
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
Waste Collection
35
• Sharps
• Collect in a rigid puncture and leak
resistant properly labeled container.
• The words “Biohazardous waste”
• Must have International Biological Hazard
symbol
• Biohazardous Liquid Waste
(Temporary Storage)
• Collect in a non-breakable container with
lid and labeled with the international
biohazard symbol and the word
“Biohazard”.
• The container needs to be in secondary
containment.
• Treat the liquid by disinfecting it with a
10% bleach solution.
• Let the solution stand for 20 minutes.
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
G
eneral Methodsfor Disinfection
• Chemical agent
• ethylene oxide, ozone, chlorine bleach, glutaraldehyde,
formaldehyde, hydrogen peroxide
• Detergents
• Physical agent
• Ultrasonic and sonic vibration
• Irradiation
• Temperature: Heat, Drying, Freezing
• Filtration
36
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
E
B
O
VS
usceptibilityto Disinfectants
37
Source: Mitchell SW, et al. J Clin Microbiol, 1984:20,486-9; Elliott LH, et al. J Clin Microbiol, 1982:16,704-8; Sagripanti JL, et al. Arch Virol 2011:156,489-94.
• CHEMICAL INACTIVATION:
• 3% acetic acid
• 1% glutaraldehyde
• alcohol-based products
• bleach
• dilutions (1:10-1:100 for ≥10 minutes) of 5.25% household bleach (sodium
hypochlorite)
• calcium hypochlorite (bleach powder)
• PHYSICAL INACTIVATION:
• heating for 30 - 60 min at 60°C
• boiling for 5 min
• gamma irradiation (1.2 x106 rads to 1.27 x106 rads)
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
38
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
Alcohols
• usually ethanol, methanol or isopropanol
• are wiped over skin and allowed to
evaporate for quick disinfection
• non-corrosive
• have wide microbiocidal activity
• is not effective against fungal or bacterial
spores
• have limited activity
• due to evaporation, results in brief contact
times
• are more effective combined with purified
water
• 70% ethanol is effective against a wide
spectrum
• 80% ethanol + 5% isopropanol are required to
effectively inactivate lipid-enveloped viruses
39
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
O
xidizingagents
• Oxidize cell membrane of microorganisms
• results in a loss of structure and leads to cell lysis and death
• Sodium hypochlorite, Calcium hypochlorite, Hypobromite
• Sodium hypochlorite
• commonly used in household bleach and used to disinfect
drains, toilets, and other surfaces.
• various in more dilute form/concentration
• Commercial solutions with higher concentrations
40
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
P
henolics/G
ITC
• Phenolic
• is probably the oldest known disinfectant
• are active ingredients in some household
disinfectants
• It is rather corrosive to the skin and sometimes toxic
to sensitive people
• Used in the virus inactivation/extraction of viral RNA
• Guanidinium thiocyanate-phenol-chloroform
extraction
• Other inactivation agent as: Guanidinium
thiocyanate (GITC)
• is a chemical compound used as a general protein
denaturant
• most commonly used in the extraction of DNA and
RNA
41
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
CONTR
OLMETHODSAND
STRA
TEGIES
Portal of
Exit
Portal
of Entry
Transmission
Reservoir
Infectious
Agent
Host
Susceptibility
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
Infection C
ontrol:
• Includes all of the practices used to prevent the
spread of microorganisms that could cause
disease in a person.
• Infection control practices help to protect
clients and healthcare providers from disease by
reducing and/or eliminating sources of
infection.
• An example of infection control practices are:
• Handwashing
• Gloves, gowns, protective eyewear, masks (properly
fitted)
• Aseptic technique
• Private rooms, also negative pressure rooms
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
Unit 6 - Infection Control Measures Slide 6- 44
Isolation
Precautions
Patient
Transport
Linen & laundry Waste Management
Decontamination
PPE
Hand hygiene
Patient
placement
Isolation Precautions
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
Unit 6 - Infection Control Measures Slide 6- 45
1. Perform hand hygiene:
Before and after patient contact
After removing gloves or any other PPE item
After touching blood, body fluids, secretions,
excretions, and contaminated items, whether
or not gloves are worn
After contact with patient surroundings
2. Routine hand hygiene by alcohol hand rub
(preferably) or by washing hands with soap and
water
3. Perform hand hygiene after touching surgical
mask/ N 95 respirator or before touching the face
Hand hygiene
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
ขอขอบคุณ
ศาสตราจารย์ ดร.ศรีสิน คูสมิทธ์
รองศาสตราจารย์ ดร.ชลภัทร สุขเกษม
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7
Akanitt Jittmittraphap, Department of
Microbiology and Immunology, Faculty of
Tropical Medicine, Mahidol University 47
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
S
a
f
e
t
y
t
r
a
i
n
i
n
g
1
6
-
1
7
J
a
n
u
a
r
y
2
0
1
7

More Related Content

Similar to Biosafety

เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดsombat nirund
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
งาน2
งาน2งาน2
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
Knooknickk Pinpukvan
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แผนงาน นสธ.
 

Similar to Biosafety (11)

เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”แก้ว  กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
แก้ว กังสดาลอำไพ “อาหาร(ไม่ปลอดภัย) มิเห็นโลง...มิหลั่งน้ำตา”
 

More from Tassanee Lerksuthirat

External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMBExternal Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
Tassanee Lerksuthirat
 
Preparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussionPreparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussion
Tassanee Lerksuthirat
 
Ministerial Regulation
Ministerial RegulationMinisterial Regulation
Ministerial Regulation
Tassanee Lerksuthirat
 
Note: The aging brain
Note: The aging brainNote: The aging brain
Note: The aging brain
Tassanee Lerksuthirat
 
Meeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESIMeeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESI
Tassanee Lerksuthirat
 
Shorten link.pdf
Shorten link.pdfShorten link.pdf
Shorten link.pdf
Tassanee Lerksuthirat
 
Experimental design for biologists
Experimental design for biologistsExperimental design for biologists
Experimental design for biologists
Tassanee Lerksuthirat
 
Note in RIAC2023 (day 3)
Note in RIAC2023 (day 3)Note in RIAC2023 (day 3)
Note in RIAC2023 (day 3)
Tassanee Lerksuthirat
 
Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)
Tassanee Lerksuthirat
 
Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)
Tassanee Lerksuthirat
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
Tassanee Lerksuthirat
 
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdfSentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Tassanee Lerksuthirat
 
Upright microscope location
Upright microscope locationUpright microscope location
Upright microscope location
Tassanee Lerksuthirat
 
Upright Lens
Upright LensUpright Lens
Upright Lens
Tassanee Lerksuthirat
 
Computer specification
Computer specificationComputer specification
Computer specification
Tassanee Lerksuthirat
 
MU saving seminar note
MU saving seminar noteMU saving seminar note
MU saving seminar note
Tassanee Lerksuthirat
 
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Tassanee Lerksuthirat
 
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdfCi-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Tassanee Lerksuthirat
 
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOPFluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Tassanee Lerksuthirat
 
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOPFluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Tassanee Lerksuthirat
 

More from Tassanee Lerksuthirat (20)

External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMBExternal Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
 
Preparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussionPreparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussion
 
Ministerial Regulation
Ministerial RegulationMinisterial Regulation
Ministerial Regulation
 
Note: The aging brain
Note: The aging brainNote: The aging brain
Note: The aging brain
 
Meeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESIMeeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESI
 
Shorten link.pdf
Shorten link.pdfShorten link.pdf
Shorten link.pdf
 
Experimental design for biologists
Experimental design for biologistsExperimental design for biologists
Experimental design for biologists
 
Note in RIAC2023 (day 3)
Note in RIAC2023 (day 3)Note in RIAC2023 (day 3)
Note in RIAC2023 (day 3)
 
Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)
 
Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
 
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdfSentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
 
Upright microscope location
Upright microscope locationUpright microscope location
Upright microscope location
 
Upright Lens
Upright LensUpright Lens
Upright Lens
 
Computer specification
Computer specificationComputer specification
Computer specification
 
MU saving seminar note
MU saving seminar noteMU saving seminar note
MU saving seminar note
 
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)
 
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdfCi-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
 
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOPFluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
 
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOPFluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Biosafety