SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
การปรับปรุ งพันธุ์ข้าวให้ ต้านทานต่ อโรคไหม้

 รายวิชา 134736 การปรับปรุ งพันธุ์พชเพือความต้ านทานต่ อ
                                   ื ่
      สภาพความเครียดทีมาจากสิ่ งมีชีวตและไม่ มีชีวต
                       ่             ิ            ิ


                       จัดทาโดย
           นาย เจษฎากร หลวงมณี 555030023-5
            สาขาวิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์
                  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความสาคัญของข้ าว
      • ไทยเป็ นผูส่งออกรายใหญ่ของโลก
                  ้

      • เนื้อที่เก็บเกี่ยวของทั้งประเทศในปี 2554 คือ 68 ล้านไร่ แบ่งเป็ นนาปี 52
        ล้านไร่ และนาปรัง 16 ล้านไร่

      • แต่พ้ืนที่ปลูกข้าวส่ วนใหญ่ของไทยเป็ นนาน้ าฝน ในภาคเหนื อ (13 ล้าน
        ไร่ ) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (37 ล้านไร่ )


ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2012
ความสาคัญทางเศรษฐกิจของข้ าว

                       มูลค่ าการส่ งออกข้ าวของประเทศไทย (ล้ านบาท)
      250,000
                                        213,421   183,433   180,727     210,527
      200,000
                         126,872
      150,000
      100,000
        50,000
              -
                            2550        2551      2552      2553       2554

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2012
โรคไหม้ (Blast)
      • นอกจากปั ญหาจากเพลี้ย และหนอนกอข้าวแล้ว โรคไหม้เป็ นอีกปั จจัยที่
        ทาให้ผลผลิตของข้าวลดลงมา

      • เชื้อสาเหตุโรคไหม้ คือเชื้ อรา Pyricularia grisea Sacc.
        หรื อ Pyricularia oryzae. หรื อ Magnaporthe grisea

      • ระบาดมากในนาน้ าฝน พบส่ วนใหญ่ในภาคเหนือ และภาค
        ตะวันออกเฉียงเหนือ

ที่มา : กรมการข้าว
โรคไหม้ (Blast)
   •    ระบาดในช่วงที่มีความชื้นสู ง
   •    อุณหภูมิที่เหมาะต่อการเกิดโรคคือ 27-30 องศาเซลเซียส
   •    ถ้าปลูกข้าวหนาแน่น แปลงนามีสภาพอับลม แล้งกลางวันชื้นกลางคืน
   •    และให้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราที่สูงจะทาให้เกิดโรคได้ง่าย

                             ลักษณะอาการ
   • เมื่อเกิดที่ใบจะมีจุสีน้ าตาลคล้ายรู ปตา
   • เกิดที่คอรวงจะปรากฏรอยช้ าสี น้ าตาล ทาให้เปาะหักพับง่าย

ที่มา : กรมการข้าว                                   ภาพจาก http://www.ricethailand.go.th/brrd/tech/RB.htm
เทคนิคการคัดเลือกพันธุ์ต้านทานโรคไหม้ (Blast)
           การทดสอบและคัดเลือกพันธุ์ขาวต้านทานต่อโรคไหม้ทาได้ 2 วิธีคือ
                                     ้
         • การปลูกในสภาพแปลง
         • การปลูกเชื้อในเรื อนทดลอง




ที่มา : ทัศนี ย ์ 2540                         ภาพจาก http://app1.bedo.or.th/rice/EN/DiseaseInfo.aspx?id=9
โรคไหม้ (Blast)
                      การทดสอบในสภาพแปลง
 • จะต้องเตรี ยมแปลงเพาะเชื้อ โดยการใช้ขาวพันธุ์อ่อนแอปลูก 2-3
                                        ้
   สัปดาห์ก่อนการจะปลูกทดสอบความต้านทานของพันธุ์ที่เราต้องการ
 • วางแปลงให้ปลูกพันธุ์อ่อนแอขนาบแปลงเหนือลม 3 แถว ใต้ลม 2 แถว
 • และเมื่อทาการปลูกทดสอบพันธุ์ให้ปลูก พันธุ์อ่อนแอ 1 แถว ต่อ พันธุ์
   ทดสอบ 2 แถม โดยมีการใส่ พนธุ์ตานทานด้วย
                               ั ้
       พันธุ์ออนแอ พันธุ์ทดสอบ พันธุ์ต้านทาน
              ่                                   Infecter row

ทิศ
ทาง
ลม
การให้ คะแนนโรคไหม้ (Blast) ในสภาพแปลง
คะแนน                         อาการของต้นข้าว                         ระดับความต้านทาน
  0      ไม่มีรอยแผลของโรคบนใบข้าว                                            HR
  1      แผลเป็ นจุดสี น้ าตาลเล็กๆเท่าหัวเข็มหลุดไม่มีจุดสี เทาตรง           R
         กลางเนื้อใบเสี ยหายน้อยกว่า 1%
  2      แผลขยายเป็ นจุดกลมรี สี เทา ขอบแผลสี น้ าตาล ขนาด                    MR
         เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 มม. พบบนใบล่างๆ
  3      แผลขนาดเดียวกับระดับ 2 แต่พบมากขึ้นบนใบด้านบน                        MR
  4      แผลขยายเป็ นรู ปตาเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 มม. ขึ้นไป                      MS
  5      แผลรู ปตา พื้นที่ใบถูกทาลาย 2-10%                                    MS
  6      แผลรู ปตา พื้นที่ใบถูกทาลาย 11-25%                                   MS
  7      แผลขยายใหญ่ข้ ึน พื้นที่ใบถูกทาลาย 26-50%                             S
  8      แผลขยายใหญ่ พื้นที่ใบถูกทาลาย 51-75%                                 VS
  9      แผลขยายใหญ่ พื้นที่ใบถูกทาลาย 75%                                    VS
ภาพการประเมินคะแนนของโรค
โรคไหม้ (Blast)
                                การปลูกเชื้อ
•   จะทาเมื่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเกิดเชื้ อในธรรมชาติ
•   เพาะข้าวในกระบะปลูก สายพันธุ์ล่ะ 1 แถว โดยมีพนธุ์อ่อนแอมาตรฐาน
                                                      ั
    และต้านทานมาตรฐานร่ วมด้วย
•   ทาการปลูกเชื้อเมื่อข้าวอายุได้ 21 วัน
•   ทาการปลูกเชื้อด้วย P. oryzae ที่เลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงจนเกิดสปอร์
    แล้ว ทาการผสมน้ าด้วยความเข้มข้น 2x104 - 5x104 สปอร์ ต่อมิลลิลิตร
•   ในห้องทีควบคุมอุณหภูมิ 24-28 องศาเซลเซียส ความชื้ น 92%
•   ข้าวจะแสดงอาการใน 7 วันจึงทาการให้คะแนนการเกิดโรค
การให้ คะแนนโรคไหม้ (Blast) ในสภาพการปลูกเชื้อ
คะแนน                    อาการของต้นข้าว                ระดับความต้านทาน
   0  ไม่มีแผล                                                 HR
   1  แผลเป็ นจุดสี น้ าตาลเล็กๆ ไม่มีจุดสี เทาตรงกลาง          R
   3  แผลกลม หรื อรี ยาวเล็กน้อย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง          MR
      1-2 มม. ขอบแผลสี น้ าตาล
   5  แผลรี รูปไข่ หรื อรู ปตา ขนาดกว้าง 1-2 มม. ยาว           MS
      มากกว่า 3 มม.
   7  แผลรู ปตายาว และกว้างมากกว่าระดับ 5 ขอบแผลสี              S
      เหลืองน้ าตาล หรื อม่วง
   9  แผลยาวติดต่อกัน มีสีเทา หรื อค่อนข้างน้ าเงินม่วง        VS
      ไม่มีขอบแผลที่แน่นอน
โรคไหม้ (Blast)
• นอกจากการคัดเลือกพันธุ์โดยตรงด้วยวิธีการคัดเลือกในแปลง หรื อปลูก
  เชื้อในเรื อนทดลองแล้ว

• การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดานพันธุ์ศาสตร์ ได้เป็ นที่นิยมมากในปัจจุบน
                           ้                                       ั
  เพราะการคัดเลือกพันธุ์ดวยยีน (DNA Marker) ทาให้สามารถคัดเลือกได้
                         ้
  อย่างถูกต้องแม่นยาโดยไม่มีผลของสภาพแวดล้อมเข้ามาเกี่ยวข้อง
ที่มา : Huang et al. 2008

        ตัวอย่างแหล่งของเชื้อพันธุกรรมที่มีความต้านทานของข้าว




หมายเหตุ S; susceptible; R, resistant; ND, not determined OR = O. rufipogon; OB = O. barthii; OS = O. sativa.
ที่มา : Huang et al. 2008

        ตัวอย่างแหล่งของเชื้อพันธุกรรมที่มีความต้านทานของข้าว
ที่มา : Huang et al. 2008

        ตัวอย่างแหล่งของเชื้อพันธุกรรมที่มีความต้านทานของข้าว




 Disease reaction to M. grisea IK81-25 (AVR-pita) on wild rice and rice cultivars. R, resistant;S, susceptible.
ตัวอย่ างพันธุกรรมการถ่ ายทอดลักษณะความต้ านทาน
       แหล่งกาเนิด                      พันธุ์              ยีนควบคุมลักษณะต้ านทาน
       เกาหลี                           Doazi chall         Pi-i
                                        Jae Keum, Pal tal   Pi-a
       จีน                              Usen                Pi-a
                                        Choko-to            Pi-k, Pi-a
       ฟิ ลิปปิ นส์                     Tadukan             Pi-ta
       อินเดีย                          CO25                Pi-z, Pi-a
       เวียดนาม                         Tetep               Pi-k
       สหรัฐอเมริ กา                    Zenith              Pi-z, Pi-a
       รัสเซีย                          Roshia No.33        Pi-k
       อินโดนีเซีย                      Tjahaja             Pi-b, Pi-t
       มาเลเซีย                         Milek Kuning        Pi-b
ที่มา : Ou 1985 อ้างใน ทัศนี ย ์ 2540
ความหลากหลายของเชื้อสาเหตุโรคไหม้
• พูนศักดิ์ และคณะ (2554) ได้ทาการศึกษาความหลากหลายของเชื้ อ
  Magnaporthe grisea (Hebert) Barr. ที่เป็ นสาเหตุโรคไหม้ในภาคเหนือ และ
  ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ตั้งแต่ปี 2548 – 2552

• พบว่า สามารถแยกได้ 552 สายพันธุ์ จากประชากรทั้งสิ้ น 2,293 ไอโซเลท

• และยีนต้านทานที่แสดงความต้านทานได้ดีมากต่อโรคไหม้ได้แก่ Pi kh – Pi
  9, Pi ta2 – Pi 1CL, และPi 1CL – Pi 9 ยีนต้ านทานเหล่ านีควรจะได้ นามาใช้
                                                          ้
  ในการพัฒนาพันธุ์ข้าวให้ ต้านทานต่ อโรคไหม้ ในเขตพืนที่นาน้ าฝนต่ อไป
                                                       ้
ตัวอย่ างของงานปรับปรุงพันธุต้านทานที่ประสบผลสาเร็จ
             และความก้าวหน้ าจนถึงปัจจุบัน

• Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica
  rice mutant R917

• Ming Xian Zhang, Jian Long Xu, Rong Ting Luo, De Shi and Zhi Kang
  Li 2002.
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
             a japonica rice mutant R917
• วัตถุประสงค์
  ศึกษาเพื่อคัดเลือกพันธุ์ตานทานที่เกิดจากการกลายพันธุ์ ต่อโรคไหม้และ
                           ้
  วิเคราะห์ความสามารถในการถ่ายทอดไปสู่ รุ่นต่อไปเพื่อใช้ในการ
  ปรับปรุ งพันธุ์ตานทานโรคไหม้
                  ้
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
              a japonica rice mutant R917
วิธีทาการทดลอง
• ทาการผสมข้ามระหว่างพันธุ์ Chengte 232 ทีมียน Pi-zt กับพันธุ์ Xiushui 37
                                                   ี
    เพื่อสร้าง F1
• นา F1 มาฉายรังสี ที่ 10 krad of 60Co γ -ray จะได้ M1
• นา M1 มาทาการปลูกแล้วทาการเก็บเมล็ดรวม จะได้เมล็ด M2
• ปลูกเมล็ด M2 จนได้ระยะกล้าแล้วทาการปลูกเชื้อเพื่อคัดพันธุ์ตานทาน
                                                                 ้
• เมื่อได้ตนที่ตานทานนาไปย้ายปลูก แล้วทาการคัดแบบเดิมจนถึง M8
              ้ ้
• เมื่อถึงรุ่ น M8 สามารถคัดพันธุ์ R917 ได้ จากนั้นนามาปลูกเชื้อเพื่อทดสอบ
    ความต้านทาน
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
              a japonica rice mutant R917
การทดสอบความต้ านทานของสายพันธุ์ R917
1. ทาการปลูกเชื้อในระยะกล้า ด้วยสายละลาย 200 ml ซึ่ งมีสปอร์ ของเชื้อ
    จานวน 2∼2.5 × 104 spores ml-1 ด้วยเชื้อที่หมด 6 race ในพื้นที่ 1
    ลูกบาศก์เมตร เก็บคะแนนความต้านทานหลังจาก 6-7 วันหลังการปลูกเชื้อ
    และเก็บอีกครั้งหลังจากออกดอก 20-25 วัน

2. ปลูกทดสอบในแปลง 9 สถานที่ในจังหวัดเจ้อเจียง ของจีน ที่มีการระบาด
   ของโรคไหม้ และทาการปลูกเชื้อด้วย 138 strains ปลูกทดสอบ 2 ปี
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
              a japonica rice mutant R917
ผลการทดสอบความต้ านทานของสายพันธุ์ R917 ในแปลง




  การทดสอบในสภาพแปลง 9 สถานที่ 2 ปี ด้วยเชื้อ 138 strains พบว่า R917
  ต้านทานต่อ 136 จาก 138 strains
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
                a japonica rice mutant R917
ผลการทดสอบความต้ านทานของ
สายพันธุ์ R917 ด้ วยการปลูกเชื้อ

เมื่อปลูกเชื้ อด้วยเชื้ อ 6 race พบว่า
พันธุ์ R917 มีความต้านทานต่อ 6 race
                          ั ่
19 strain ในขณะที่พนธุ์พอ และแม่ที่ปลูก
เปรี ยบเทียบอ่อนแอต่อ 6 race 19 strain
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
              a japonica rice mutant R917
การทดสอบการถ่ ายทอดความต้ านทานของสายพันธุ์ R917
• ทาการสร้างลูกผสม 6 คู่เพื่อดูความสามารถในการถ่ายทอดของลักษณะ
   ต้านทานโรคไหม้ ในลูกรุ่ น F2 เพื่อดูอตราส่ วนพันธุ กรรม
                                        ั

• โดย Nonghu 6 ผสมข้ามกับ R917, Chengte 232 และ Xiushui 37 ทั้งหมด
  แสดงความต้านทานต่อเชื้อ race ZB13, ZC15 and ZE3

• ขณะที่ R917 ผสมข้ามกัย Chengte 232 และ Xiushui 37 แสดงความ
  ต้านทานต่อ race ZB13, ZC15 and ZE3 ขณะที่คู่ผสมระหว่าง R917 และ
  Toride 1 แสดงความต้านทานต่อ race ZC15 and ZE3
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
                a japonica rice mutant R917
การนาสายพันธุ์ R917 ไปใช้ ในการปรับปรุ งพันธุ์
• ทาการผสมข้ามโดยใช้ R917 เป็ นพันธุ์ และใช้พนธุ์อ่อนแอ Bing 861 เป็ นพันธุ์
                                               ั
   รับ ทาการคัดเลือกพันธุ์ตานทานโดยการปลูกเชื้อ 18 strain จากทั้งจีนและญี่ปุ่น
                           ้

• สามารถคัดลูกที่เป็ นพันธุ์ตานทาน ได้ R9425, R9427 และ R9484 สามารถ
                               ้
  ต้านทานต่อเชื้ อทั้ง 18 strains, และสายพันธุ์ R9421, R9485 มีความต้านทานต่อ
  17 strains เช่นเดียวกับ R917 ซึ่งเป็ นพันธุ์ให้

• นอกจากนี้ยงได้สายพันธุ์ลูกที่ได้รับการจดทะเบียนพันธุ์ คือ Yuanjing 7 ที่มี
             ั
  ผลผลิตสู งและมีความต้านทานต่อ 18 strain
Genetic analysis and breeding use of blast resistance in
                a japonica rice mutant R917

ตารางแสดงสายพันธุ์ทได้ จากการนาสายพันธุ์ R917 ไปใช้ ในการปรับปรุ งพันธุ์
                   ี่
ที่มา : ฐานข้อมูลพันธุ์ขาวรับรองของไทย
                        ้

                        การเผยแพร่ และการใช้ พนธุ์ต้านทาน
                                              ั
        ปั จจุบนประเทศไทยมีการจดทะเบียนพันธุ์ขาวต้านทานโรคไหม้ ได้แก่
               ั                              ้
        •    ปราจีนบุรี 1                •   ดอกพะยอม        •   พลายงามปราจีนบุรี
        •    ปราจีนบุรี 2                •   สันป่ าตอง 1    •   นางฉลอง
        •    สุรินทร์ 1                  •   ซิวแม่ จน ั     •   ข้าวเจ้าหอมคลองหลวง 1
        •    สุ พรรณบุรี 90              •   แพร่ 1          •   เหนียวสันป่ าตอง
        •    ข้าวหอมแดง                  •   เจ้าฮ่อ         •   กข33 (หอมอุบล 80)
        •    น้ ารู                      •   พิษณุโลก 60-2   •   ลูกแดงปั ตตานี
        •    สุพรรณบุรี 3                •   ขาวโป่ งไคร้    •   เหนียวอุบล 2
        •    สุพรรณบุรี 2                •   กูเ้ มืองหลวง   •   กาผาย 15
        •    สุพรรณบุรี 1                •   ปทุมธานี 1      •   หางยี 71
แนวทางการปรับปรุ งพันธุ์ข้าวในอนาคต
            ของสานักวิจัยและพัฒนาข้ าว
1. เพิมศักยภาพผลผลิต
       ่
• ปรับปรุ งรู ปแบบทรงต้น
• ข้าวนาชลประทาน New plant type, heterosis
• ข้าวนาน้ าฝน – ต้นเตี้ยลง ฟางแข็ง ไม่ไวต่อช่วงแสง
2. รักษาเสถียรภาพผลผลิต
• เพิ่มความต้านทานต่อโรค แมลง สภาพอากาศแปรปรวน
• ร้อน หนาว น้ าท่วม
• ลดการสู ญเสี ยระหว่างการเก็บเกี่ยว –เช่น ร่ วงยาก
3. ข้ าวทีมีคุณสมบัตเิ ฉพาะ สาหรับตลาดเฉพาะ
          ่
                                                      ที่มา : สุ นิยม 2555

More Related Content

What's hot

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้Mint'moy Mimi
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์PinNii Natthaya
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราsinchai jumpasuk
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
Biology Lab: Plant DNA Extraction
Biology Lab:  Plant DNA ExtractionBiology Lab:  Plant DNA Extraction
Biology Lab: Plant DNA ExtractionNapasorn Juiin
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามิน
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามินแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามิน
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามินCoverslide Bio
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

What's hot (20)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
Biology Lab: Plant DNA Extraction
Biology Lab:  Plant DNA ExtractionBiology Lab:  Plant DNA Extraction
Biology Lab: Plant DNA Extraction
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามิน
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามินแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามิน
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง วิตามิน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

Similar to การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT

บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชWeeraphon Parawach
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกkuanjai saelee
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6juckit009
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72june41
 

Similar to การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT (20)

บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT

  • 1. การปรับปรุ งพันธุ์ข้าวให้ ต้านทานต่ อโรคไหม้ รายวิชา 134736 การปรับปรุ งพันธุ์พชเพือความต้ านทานต่ อ ื ่ สภาพความเครียดทีมาจากสิ่ งมีชีวตและไม่ มีชีวต ่ ิ ิ จัดทาโดย นาย เจษฎากร หลวงมณี 555030023-5 สาขาวิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. ความสาคัญของข้ าว • ไทยเป็ นผูส่งออกรายใหญ่ของโลก ้ • เนื้อที่เก็บเกี่ยวของทั้งประเทศในปี 2554 คือ 68 ล้านไร่ แบ่งเป็ นนาปี 52 ล้านไร่ และนาปรัง 16 ล้านไร่ • แต่พ้ืนที่ปลูกข้าวส่ วนใหญ่ของไทยเป็ นนาน้ าฝน ในภาคเหนื อ (13 ล้าน ไร่ ) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (37 ล้านไร่ ) ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2012
  • 3. ความสาคัญทางเศรษฐกิจของข้ าว มูลค่ าการส่ งออกข้ าวของประเทศไทย (ล้ านบาท) 250,000 213,421 183,433 180,727 210,527 200,000 126,872 150,000 100,000 50,000 - 2550 2551 2552 2553 2554 ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2012
  • 4. โรคไหม้ (Blast) • นอกจากปั ญหาจากเพลี้ย และหนอนกอข้าวแล้ว โรคไหม้เป็ นอีกปั จจัยที่ ทาให้ผลผลิตของข้าวลดลงมา • เชื้อสาเหตุโรคไหม้ คือเชื้ อรา Pyricularia grisea Sacc. หรื อ Pyricularia oryzae. หรื อ Magnaporthe grisea • ระบาดมากในนาน้ าฝน พบส่ วนใหญ่ในภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มา : กรมการข้าว
  • 5. โรคไหม้ (Blast) • ระบาดในช่วงที่มีความชื้นสู ง • อุณหภูมิที่เหมาะต่อการเกิดโรคคือ 27-30 องศาเซลเซียส • ถ้าปลูกข้าวหนาแน่น แปลงนามีสภาพอับลม แล้งกลางวันชื้นกลางคืน • และให้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราที่สูงจะทาให้เกิดโรคได้ง่าย ลักษณะอาการ • เมื่อเกิดที่ใบจะมีจุสีน้ าตาลคล้ายรู ปตา • เกิดที่คอรวงจะปรากฏรอยช้ าสี น้ าตาล ทาให้เปาะหักพับง่าย ที่มา : กรมการข้าว ภาพจาก http://www.ricethailand.go.th/brrd/tech/RB.htm
  • 6. เทคนิคการคัดเลือกพันธุ์ต้านทานโรคไหม้ (Blast) การทดสอบและคัดเลือกพันธุ์ขาวต้านทานต่อโรคไหม้ทาได้ 2 วิธีคือ ้ • การปลูกในสภาพแปลง • การปลูกเชื้อในเรื อนทดลอง ที่มา : ทัศนี ย ์ 2540 ภาพจาก http://app1.bedo.or.th/rice/EN/DiseaseInfo.aspx?id=9
  • 7. โรคไหม้ (Blast) การทดสอบในสภาพแปลง • จะต้องเตรี ยมแปลงเพาะเชื้อ โดยการใช้ขาวพันธุ์อ่อนแอปลูก 2-3 ้ สัปดาห์ก่อนการจะปลูกทดสอบความต้านทานของพันธุ์ที่เราต้องการ • วางแปลงให้ปลูกพันธุ์อ่อนแอขนาบแปลงเหนือลม 3 แถว ใต้ลม 2 แถว • และเมื่อทาการปลูกทดสอบพันธุ์ให้ปลูก พันธุ์อ่อนแอ 1 แถว ต่อ พันธุ์ ทดสอบ 2 แถม โดยมีการใส่ พนธุ์ตานทานด้วย ั ้ พันธุ์ออนแอ พันธุ์ทดสอบ พันธุ์ต้านทาน ่ Infecter row ทิศ ทาง ลม
  • 8. การให้ คะแนนโรคไหม้ (Blast) ในสภาพแปลง คะแนน อาการของต้นข้าว ระดับความต้านทาน 0 ไม่มีรอยแผลของโรคบนใบข้าว HR 1 แผลเป็ นจุดสี น้ าตาลเล็กๆเท่าหัวเข็มหลุดไม่มีจุดสี เทาตรง R กลางเนื้อใบเสี ยหายน้อยกว่า 1% 2 แผลขยายเป็ นจุดกลมรี สี เทา ขอบแผลสี น้ าตาล ขนาด MR เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 มม. พบบนใบล่างๆ 3 แผลขนาดเดียวกับระดับ 2 แต่พบมากขึ้นบนใบด้านบน MR 4 แผลขยายเป็ นรู ปตาเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 มม. ขึ้นไป MS 5 แผลรู ปตา พื้นที่ใบถูกทาลาย 2-10% MS 6 แผลรู ปตา พื้นที่ใบถูกทาลาย 11-25% MS 7 แผลขยายใหญ่ข้ ึน พื้นที่ใบถูกทาลาย 26-50% S 8 แผลขยายใหญ่ พื้นที่ใบถูกทาลาย 51-75% VS 9 แผลขยายใหญ่ พื้นที่ใบถูกทาลาย 75% VS
  • 10. โรคไหม้ (Blast) การปลูกเชื้อ • จะทาเมื่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเกิดเชื้ อในธรรมชาติ • เพาะข้าวในกระบะปลูก สายพันธุ์ล่ะ 1 แถว โดยมีพนธุ์อ่อนแอมาตรฐาน ั และต้านทานมาตรฐานร่ วมด้วย • ทาการปลูกเชื้อเมื่อข้าวอายุได้ 21 วัน • ทาการปลูกเชื้อด้วย P. oryzae ที่เลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงจนเกิดสปอร์ แล้ว ทาการผสมน้ าด้วยความเข้มข้น 2x104 - 5x104 สปอร์ ต่อมิลลิลิตร • ในห้องทีควบคุมอุณหภูมิ 24-28 องศาเซลเซียส ความชื้ น 92% • ข้าวจะแสดงอาการใน 7 วันจึงทาการให้คะแนนการเกิดโรค
  • 11. การให้ คะแนนโรคไหม้ (Blast) ในสภาพการปลูกเชื้อ คะแนน อาการของต้นข้าว ระดับความต้านทาน 0 ไม่มีแผล HR 1 แผลเป็ นจุดสี น้ าตาลเล็กๆ ไม่มีจุดสี เทาตรงกลาง R 3 แผลกลม หรื อรี ยาวเล็กน้อย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง MR 1-2 มม. ขอบแผลสี น้ าตาล 5 แผลรี รูปไข่ หรื อรู ปตา ขนาดกว้าง 1-2 มม. ยาว MS มากกว่า 3 มม. 7 แผลรู ปตายาว และกว้างมากกว่าระดับ 5 ขอบแผลสี S เหลืองน้ าตาล หรื อม่วง 9 แผลยาวติดต่อกัน มีสีเทา หรื อค่อนข้างน้ าเงินม่วง VS ไม่มีขอบแผลที่แน่นอน
  • 12. โรคไหม้ (Blast) • นอกจากการคัดเลือกพันธุ์โดยตรงด้วยวิธีการคัดเลือกในแปลง หรื อปลูก เชื้อในเรื อนทดลองแล้ว • การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดานพันธุ์ศาสตร์ ได้เป็ นที่นิยมมากในปัจจุบน ้ ั เพราะการคัดเลือกพันธุ์ดวยยีน (DNA Marker) ทาให้สามารถคัดเลือกได้ ้ อย่างถูกต้องแม่นยาโดยไม่มีผลของสภาพแวดล้อมเข้ามาเกี่ยวข้อง
  • 13. ที่มา : Huang et al. 2008 ตัวอย่างแหล่งของเชื้อพันธุกรรมที่มีความต้านทานของข้าว หมายเหตุ S; susceptible; R, resistant; ND, not determined OR = O. rufipogon; OB = O. barthii; OS = O. sativa.
  • 14. ที่มา : Huang et al. 2008 ตัวอย่างแหล่งของเชื้อพันธุกรรมที่มีความต้านทานของข้าว
  • 15. ที่มา : Huang et al. 2008 ตัวอย่างแหล่งของเชื้อพันธุกรรมที่มีความต้านทานของข้าว Disease reaction to M. grisea IK81-25 (AVR-pita) on wild rice and rice cultivars. R, resistant;S, susceptible.
  • 16. ตัวอย่ างพันธุกรรมการถ่ ายทอดลักษณะความต้ านทาน แหล่งกาเนิด พันธุ์ ยีนควบคุมลักษณะต้ านทาน เกาหลี Doazi chall Pi-i Jae Keum, Pal tal Pi-a จีน Usen Pi-a Choko-to Pi-k, Pi-a ฟิ ลิปปิ นส์ Tadukan Pi-ta อินเดีย CO25 Pi-z, Pi-a เวียดนาม Tetep Pi-k สหรัฐอเมริ กา Zenith Pi-z, Pi-a รัสเซีย Roshia No.33 Pi-k อินโดนีเซีย Tjahaja Pi-b, Pi-t มาเลเซีย Milek Kuning Pi-b ที่มา : Ou 1985 อ้างใน ทัศนี ย ์ 2540
  • 17. ความหลากหลายของเชื้อสาเหตุโรคไหม้ • พูนศักดิ์ และคณะ (2554) ได้ทาการศึกษาความหลากหลายของเชื้ อ Magnaporthe grisea (Hebert) Barr. ที่เป็ นสาเหตุโรคไหม้ในภาคเหนือ และ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ตั้งแต่ปี 2548 – 2552 • พบว่า สามารถแยกได้ 552 สายพันธุ์ จากประชากรทั้งสิ้ น 2,293 ไอโซเลท • และยีนต้านทานที่แสดงความต้านทานได้ดีมากต่อโรคไหม้ได้แก่ Pi kh – Pi 9, Pi ta2 – Pi 1CL, และPi 1CL – Pi 9 ยีนต้ านทานเหล่ านีควรจะได้ นามาใช้ ้ ในการพัฒนาพันธุ์ข้าวให้ ต้านทานต่ อโรคไหม้ ในเขตพืนที่นาน้ าฝนต่ อไป ้
  • 18. ตัวอย่ างของงานปรับปรุงพันธุต้านทานที่ประสบผลสาเร็จ และความก้าวหน้ าจนถึงปัจจุบัน • Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 • Ming Xian Zhang, Jian Long Xu, Rong Ting Luo, De Shi and Zhi Kang Li 2002.
  • 19. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 • วัตถุประสงค์ ศึกษาเพื่อคัดเลือกพันธุ์ตานทานที่เกิดจากการกลายพันธุ์ ต่อโรคไหม้และ ้ วิเคราะห์ความสามารถในการถ่ายทอดไปสู่ รุ่นต่อไปเพื่อใช้ในการ ปรับปรุ งพันธุ์ตานทานโรคไหม้ ้
  • 20. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 วิธีทาการทดลอง • ทาการผสมข้ามระหว่างพันธุ์ Chengte 232 ทีมียน Pi-zt กับพันธุ์ Xiushui 37 ี เพื่อสร้าง F1 • นา F1 มาฉายรังสี ที่ 10 krad of 60Co γ -ray จะได้ M1 • นา M1 มาทาการปลูกแล้วทาการเก็บเมล็ดรวม จะได้เมล็ด M2 • ปลูกเมล็ด M2 จนได้ระยะกล้าแล้วทาการปลูกเชื้อเพื่อคัดพันธุ์ตานทาน ้ • เมื่อได้ตนที่ตานทานนาไปย้ายปลูก แล้วทาการคัดแบบเดิมจนถึง M8 ้ ้ • เมื่อถึงรุ่ น M8 สามารถคัดพันธุ์ R917 ได้ จากนั้นนามาปลูกเชื้อเพื่อทดสอบ ความต้านทาน
  • 21. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 การทดสอบความต้ านทานของสายพันธุ์ R917 1. ทาการปลูกเชื้อในระยะกล้า ด้วยสายละลาย 200 ml ซึ่ งมีสปอร์ ของเชื้อ จานวน 2∼2.5 × 104 spores ml-1 ด้วยเชื้อที่หมด 6 race ในพื้นที่ 1 ลูกบาศก์เมตร เก็บคะแนนความต้านทานหลังจาก 6-7 วันหลังการปลูกเชื้อ และเก็บอีกครั้งหลังจากออกดอก 20-25 วัน 2. ปลูกทดสอบในแปลง 9 สถานที่ในจังหวัดเจ้อเจียง ของจีน ที่มีการระบาด ของโรคไหม้ และทาการปลูกเชื้อด้วย 138 strains ปลูกทดสอบ 2 ปี
  • 22. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 ผลการทดสอบความต้ านทานของสายพันธุ์ R917 ในแปลง การทดสอบในสภาพแปลง 9 สถานที่ 2 ปี ด้วยเชื้อ 138 strains พบว่า R917 ต้านทานต่อ 136 จาก 138 strains
  • 23. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 ผลการทดสอบความต้ านทานของ สายพันธุ์ R917 ด้ วยการปลูกเชื้อ เมื่อปลูกเชื้ อด้วยเชื้ อ 6 race พบว่า พันธุ์ R917 มีความต้านทานต่อ 6 race ั ่ 19 strain ในขณะที่พนธุ์พอ และแม่ที่ปลูก เปรี ยบเทียบอ่อนแอต่อ 6 race 19 strain
  • 24. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 การทดสอบการถ่ ายทอดความต้ านทานของสายพันธุ์ R917 • ทาการสร้างลูกผสม 6 คู่เพื่อดูความสามารถในการถ่ายทอดของลักษณะ ต้านทานโรคไหม้ ในลูกรุ่ น F2 เพื่อดูอตราส่ วนพันธุ กรรม ั • โดย Nonghu 6 ผสมข้ามกับ R917, Chengte 232 และ Xiushui 37 ทั้งหมด แสดงความต้านทานต่อเชื้อ race ZB13, ZC15 and ZE3 • ขณะที่ R917 ผสมข้ามกัย Chengte 232 และ Xiushui 37 แสดงความ ต้านทานต่อ race ZB13, ZC15 and ZE3 ขณะที่คู่ผสมระหว่าง R917 และ Toride 1 แสดงความต้านทานต่อ race ZC15 and ZE3
  • 25. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 การนาสายพันธุ์ R917 ไปใช้ ในการปรับปรุ งพันธุ์ • ทาการผสมข้ามโดยใช้ R917 เป็ นพันธุ์ และใช้พนธุ์อ่อนแอ Bing 861 เป็ นพันธุ์ ั รับ ทาการคัดเลือกพันธุ์ตานทานโดยการปลูกเชื้อ 18 strain จากทั้งจีนและญี่ปุ่น ้ • สามารถคัดลูกที่เป็ นพันธุ์ตานทาน ได้ R9425, R9427 และ R9484 สามารถ ้ ต้านทานต่อเชื้ อทั้ง 18 strains, และสายพันธุ์ R9421, R9485 มีความต้านทานต่อ 17 strains เช่นเดียวกับ R917 ซึ่งเป็ นพันธุ์ให้ • นอกจากนี้ยงได้สายพันธุ์ลูกที่ได้รับการจดทะเบียนพันธุ์ คือ Yuanjing 7 ที่มี ั ผลผลิตสู งและมีความต้านทานต่อ 18 strain
  • 26. Genetic analysis and breeding use of blast resistance in a japonica rice mutant R917 ตารางแสดงสายพันธุ์ทได้ จากการนาสายพันธุ์ R917 ไปใช้ ในการปรับปรุ งพันธุ์ ี่
  • 27. ที่มา : ฐานข้อมูลพันธุ์ขาวรับรองของไทย ้ การเผยแพร่ และการใช้ พนธุ์ต้านทาน ั ปั จจุบนประเทศไทยมีการจดทะเบียนพันธุ์ขาวต้านทานโรคไหม้ ได้แก่ ั ้ • ปราจีนบุรี 1 • ดอกพะยอม • พลายงามปราจีนบุรี • ปราจีนบุรี 2 • สันป่ าตอง 1 • นางฉลอง • สุรินทร์ 1 • ซิวแม่ จน ั • ข้าวเจ้าหอมคลองหลวง 1 • สุ พรรณบุรี 90 • แพร่ 1 • เหนียวสันป่ าตอง • ข้าวหอมแดง • เจ้าฮ่อ • กข33 (หอมอุบล 80) • น้ ารู • พิษณุโลก 60-2 • ลูกแดงปั ตตานี • สุพรรณบุรี 3 • ขาวโป่ งไคร้ • เหนียวอุบล 2 • สุพรรณบุรี 2 • กูเ้ มืองหลวง • กาผาย 15 • สุพรรณบุรี 1 • ปทุมธานี 1 • หางยี 71
  • 28. แนวทางการปรับปรุ งพันธุ์ข้าวในอนาคต ของสานักวิจัยและพัฒนาข้ าว 1. เพิมศักยภาพผลผลิต ่ • ปรับปรุ งรู ปแบบทรงต้น • ข้าวนาชลประทาน New plant type, heterosis • ข้าวนาน้ าฝน – ต้นเตี้ยลง ฟางแข็ง ไม่ไวต่อช่วงแสง 2. รักษาเสถียรภาพผลผลิต • เพิ่มความต้านทานต่อโรค แมลง สภาพอากาศแปรปรวน • ร้อน หนาว น้ าท่วม • ลดการสู ญเสี ยระหว่างการเก็บเกี่ยว –เช่น ร่ วงยาก 3. ข้ าวทีมีคุณสมบัตเิ ฉพาะ สาหรับตลาดเฉพาะ ่ ที่มา : สุ นิยม 2555