SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
วิธีการทํางานเรื่อง : วิธีใช้งานกล้องจุลทรรศน์ Ci-L
ต่อเข้ากับชุดไฟ Intensilight พร้อมโปรแกรมวิเคราะห์
ภาพ NIS-D
รหัสเอกสาร WI-Mi-08:01
วันเริ่มใช้ 9 พฤษภาคม
2566
ฉบับที่ 2 แก้ไขครั้งที่ 1
หน้า 1/3
ผู้จัดทํา ดร.ทัศนีย์ ฤกษ์สุทธิรัตน์ ผู้ทบทวน
(ตําแหน่ง)
ดร.ภัทรนา แซ่จิว (ผู้ช่วยวิจัย)
ตําแหน่ง นักวิจัย ผู้อนุมัติ (ตําแหน่ง) ดร.ธิดารัตน์ รุจิรวรรธน์ (ผู้ช่วยวิจัย
(ผู้ชํานาญการ) / หัวหน้าหน่วยจุล
ชีววิทยา)
วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 วันที่ 9 พฤษภาคม 2566
1. อุปกรณ์ / สิ่งที่เกี่ยวข้อง :
1.1 กล้องจุลทรรศน์รุ่น Ci Series
1.2 คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูล
1.3 แหล่งกําเนิดแสง Mercury lamp
2. วิธีการทํางาน
วิธีใช้งานกล้องจุลทรรศน์ Ci-L ต่อเข้ากับชุดไฟ Intensilight พร้อมโปรแกรมวิเคราะห์ภาพ NIS-D
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
F
a
c
u
l
t
y
o
f
M
e
d
i
c
i
n
e
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
WI-Mi-08:01 ฉบับที่ 2 หน้า 2/3
วิธีการใช้งาน
2.1 เปดสวิทซไฟหลักที่ปุมเปดปดดานขวาของตัวกลอง (แสง LED ดานหนาของตัวเครื่องจะปรากฏขึ้น)
2.2 การใชเทคนิค Bright field
a. ปรับความสวางของหลอดไฟที่ปุมเรงหรี่ดานซายของตัวเครื่อง
b. ปรับเลือกทางเดินแสงใหเขาสูเลนสตา 100%
c. ปรับระดับความสูงของเลนสรวมแสงใหอยูในระดับที่เกือบสูงสุด
d. ใชเลนสวัตถุที่กำลังขยายคา เชน 4X และ 10X
e. เปด Field diaphragm ใหกวางประมาณ 80-90% และ Aperture diaphragm ใหมีขนาดเหมาะตามเลนสวัตถุที่ใชงานอยู
คือประมาณ 80% ของ N.A.ของเลนสวัตถุ
f. นำตัวอยางที่ตองการศึกษาวางบนสเตท (ให Coverglass อยูดานบน) เลื่อนหาพื้นที่ที่ตองการดู
g. ปรับวงแหวนชดเชยสายตา (Diopter) ตามแตคาสายตาของแตละบุคคล และปรับความหางของเลนสตาใหเหมาะสม (ใหเห็น
เปนวงกลมเพียงวงเดียว)
h. โฟกัสตัวอยางใหชัดเจน
i. ปรับเลือกกำลังขยายของเลนสวัตถุใหสูงขึ้นตามที่ตองการ
j. สำหรับการใชหัวเลนส 100X oil ไมอนุญาตใหใช slide ที่ไมมี cover slip เพื่อปองกันการเกิดความสกปรกที่หลุดมาจาก
ตัวสไลด
2.3 การใชเทคนิค Fluorescence
a. โฟกัสและหาพื้นที่ดวยเทคนิค Bright field
b. ปรับความสวางของหลอดไฟที่ปุมเรงหรี่ (ขอ 2a) ใหมืดที่สุดและปดสวิทซไฟหลัก (ขอ1)
c. ปดชัตเตอรที่ตัวกลอง; C = ชัตเตอรปดจะไมมีแสงออกมา
d. หมุนปุมฟวเตอรคิวบเลือกฟลเตอรชนิดที่ตองการ
e. ดันกานเปด Field diaphragm ที่บริเวณดานขางของ Epi-fluorescence
f. เปดสวิทซไฟของแหลงกำเนิดแสงฟลูออเรสเซนต
g. เปดชัตเตอรที่ตัวกลองและแหลงกำเนิดแสงฟลูออเรสเซนต; O = ชัตเตอรเปดจะมีแสงออกมา
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
F
a
c
u
l
t
y
o
f
M
e
d
i
c
i
n
e
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y
WI-Mi-08:01 ฉบับที่ 2 หน้า 3/3
h. ปรับเลือก ND ฟลเตอรที่ Epi-fluorescence; ดันกานเขาไปในตัวกลอง = ใชฟลเตอรนั้นๆ > ภาพจะมืดลง, ดึงกานออกจาก
ตัวกลอง = ไมใชฟลเตอรนั้นๆ > ภาพจะสวาง
i. ปรับเลือก ND ฟลเตอรที่แหลงกำเนิดแสงฟลูออเรสเซนต; 1”= 100% สวางที่สุด, 2”= 50% สวางลดลงครึ่งหนึ่ง
j. โฟกัสภาพและเลื่อนหาพื้นที่ตัวอยางตามตองการ เหมือนการใชงานตามปกติ
k. สำหรับการใชหัวเลนส 100X oil ไมอนุญาตใหใช slide ที่ไมมี cover slip เพื่อปองกันการเกิดความสกปรกที่หลุดมาจาก
ตัวสไลด
2.4 การใชงานชุดถายภาพ
a. เปิดสวิทซ์ไฟที่ตัวกล้อง ถ่ายภาพ DS-Ri2
b. เปิดคอมพิวเตอร์และโปรแกรมวิเคราะห์ภาพ NIS-D
2.5 เมื่อใช้งานเสร็จแล้วให้เปิดสวิทซ์
a. แหล่งกําเนิดแสงฟลูออเรสเซนต์
b. สวิทซ์ไฟหลักของกล้องจุลทรรศน์
c. เครื่องคอมพิวเตอร์
d. ตัวกล้องถ่ายภาพ DS-Ri2
**หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม https://minicore-rarc.blogspot.com/2018/05/upright-fluorescence-microscope.html
R
e
s
e
a
r
c
h
C
e
n
t
e
r
F
a
c
u
l
t
y
o
f
M
e
d
i
c
i
n
e
,
R
a
m
a
t
h
i
b
o
d
i
H
o
s
p
i
t
a
l
M
a
h
i
d
o
l
U
n
i
v
e
r
s
i
t
y

More Related Content

More from Tassanee Lerksuthirat

มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
Tassanee Lerksuthirat
 
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdfคู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
Tassanee Lerksuthirat
 

More from Tassanee Lerksuthirat (20)

Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)
 
Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
 
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdfSentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
 
Upright microscope location
Upright microscope locationUpright microscope location
Upright microscope location
 
Upright Lens
Upright LensUpright Lens
Upright Lens
 
Computer specification
Computer specificationComputer specification
Computer specification
 
MU saving seminar note
MU saving seminar noteMU saving seminar note
MU saving seminar note
 
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)
 
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdfCi-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
 
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOPFluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
 
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the WorkplaceLegal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
 
Research Ethics Discussion Mahidol U
Research Ethics Discussion Mahidol UResearch Ethics Discussion Mahidol U
Research Ethics Discussion Mahidol U
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
 
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdfคู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
 
Laboratory Policy Announcement 2023-2027.pdf
Laboratory Policy Announcement 2023-2027.pdfLaboratory Policy Announcement 2023-2027.pdf
Laboratory Policy Announcement 2023-2027.pdf
 
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratory
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratoryAppointing a team to oversee a microbiology research laboratory
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratory
 
Services from Occupationa Health and Safety
Services from Occupationa Health and SafetyServices from Occupationa Health and Safety
Services from Occupationa Health and Safety
 
Healthcare policy for working personnel
Healthcare policy for working personnelHealthcare policy for working personnel
Healthcare policy for working personnel
 
Working late policy
Working late policyWorking late policy
Working late policy
 

Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP

  • 1. วิธีการทํางานเรื่อง : วิธีใช้งานกล้องจุลทรรศน์ Ci-L ต่อเข้ากับชุดไฟ Intensilight พร้อมโปรแกรมวิเคราะห์ ภาพ NIS-D รหัสเอกสาร WI-Mi-08:01 วันเริ่มใช้ 9 พฤษภาคม 2566 ฉบับที่ 2 แก้ไขครั้งที่ 1 หน้า 1/3 ผู้จัดทํา ดร.ทัศนีย์ ฤกษ์สุทธิรัตน์ ผู้ทบทวน (ตําแหน่ง) ดร.ภัทรนา แซ่จิว (ผู้ช่วยวิจัย) ตําแหน่ง นักวิจัย ผู้อนุมัติ (ตําแหน่ง) ดร.ธิดารัตน์ รุจิรวรรธน์ (ผู้ช่วยวิจัย (ผู้ชํานาญการ) / หัวหน้าหน่วยจุล ชีววิทยา) วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 1. อุปกรณ์ / สิ่งที่เกี่ยวข้อง : 1.1 กล้องจุลทรรศน์รุ่น Ci Series 1.2 คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูล 1.3 แหล่งกําเนิดแสง Mercury lamp 2. วิธีการทํางาน วิธีใช้งานกล้องจุลทรรศน์ Ci-L ต่อเข้ากับชุดไฟ Intensilight พร้อมโปรแกรมวิเคราะห์ภาพ NIS-D R e s e a r c h C e n t e r F a c u l t y o f M e d i c i n e , R a m a t h i b o d i H o s p i t a l M a h i d o l U n i v e r s i t y
  • 2. WI-Mi-08:01 ฉบับที่ 2 หน้า 2/3 วิธีการใช้งาน 2.1 เปดสวิทซไฟหลักที่ปุมเปดปดดานขวาของตัวกลอง (แสง LED ดานหนาของตัวเครื่องจะปรากฏขึ้น) 2.2 การใชเทคนิค Bright field a. ปรับความสวางของหลอดไฟที่ปุมเรงหรี่ดานซายของตัวเครื่อง b. ปรับเลือกทางเดินแสงใหเขาสูเลนสตา 100% c. ปรับระดับความสูงของเลนสรวมแสงใหอยูในระดับที่เกือบสูงสุด d. ใชเลนสวัตถุที่กำลังขยายคา เชน 4X และ 10X e. เปด Field diaphragm ใหกวางประมาณ 80-90% และ Aperture diaphragm ใหมีขนาดเหมาะตามเลนสวัตถุที่ใชงานอยู คือประมาณ 80% ของ N.A.ของเลนสวัตถุ f. นำตัวอยางที่ตองการศึกษาวางบนสเตท (ให Coverglass อยูดานบน) เลื่อนหาพื้นที่ที่ตองการดู g. ปรับวงแหวนชดเชยสายตา (Diopter) ตามแตคาสายตาของแตละบุคคล และปรับความหางของเลนสตาใหเหมาะสม (ใหเห็น เปนวงกลมเพียงวงเดียว) h. โฟกัสตัวอยางใหชัดเจน i. ปรับเลือกกำลังขยายของเลนสวัตถุใหสูงขึ้นตามที่ตองการ j. สำหรับการใชหัวเลนส 100X oil ไมอนุญาตใหใช slide ที่ไมมี cover slip เพื่อปองกันการเกิดความสกปรกที่หลุดมาจาก ตัวสไลด 2.3 การใชเทคนิค Fluorescence a. โฟกัสและหาพื้นที่ดวยเทคนิค Bright field b. ปรับความสวางของหลอดไฟที่ปุมเรงหรี่ (ขอ 2a) ใหมืดที่สุดและปดสวิทซไฟหลัก (ขอ1) c. ปดชัตเตอรที่ตัวกลอง; C = ชัตเตอรปดจะไมมีแสงออกมา d. หมุนปุมฟวเตอรคิวบเลือกฟลเตอรชนิดที่ตองการ e. ดันกานเปด Field diaphragm ที่บริเวณดานขางของ Epi-fluorescence f. เปดสวิทซไฟของแหลงกำเนิดแสงฟลูออเรสเซนต g. เปดชัตเตอรที่ตัวกลองและแหลงกำเนิดแสงฟลูออเรสเซนต; O = ชัตเตอรเปดจะมีแสงออกมา R e s e a r c h C e n t e r F a c u l t y o f M e d i c i n e , R a m a t h i b o d i H o s p i t a l M a h i d o l U n i v e r s i t y
  • 3. WI-Mi-08:01 ฉบับที่ 2 หน้า 3/3 h. ปรับเลือก ND ฟลเตอรที่ Epi-fluorescence; ดันกานเขาไปในตัวกลอง = ใชฟลเตอรนั้นๆ > ภาพจะมืดลง, ดึงกานออกจาก ตัวกลอง = ไมใชฟลเตอรนั้นๆ > ภาพจะสวาง i. ปรับเลือก ND ฟลเตอรที่แหลงกำเนิดแสงฟลูออเรสเซนต; 1”= 100% สวางที่สุด, 2”= 50% สวางลดลงครึ่งหนึ่ง j. โฟกัสภาพและเลื่อนหาพื้นที่ตัวอยางตามตองการ เหมือนการใชงานตามปกติ k. สำหรับการใชหัวเลนส 100X oil ไมอนุญาตใหใช slide ที่ไมมี cover slip เพื่อปองกันการเกิดความสกปรกที่หลุดมาจาก ตัวสไลด 2.4 การใชงานชุดถายภาพ a. เปิดสวิทซ์ไฟที่ตัวกล้อง ถ่ายภาพ DS-Ri2 b. เปิดคอมพิวเตอร์และโปรแกรมวิเคราะห์ภาพ NIS-D 2.5 เมื่อใช้งานเสร็จแล้วให้เปิดสวิทซ์ a. แหล่งกําเนิดแสงฟลูออเรสเซนต์ b. สวิทซ์ไฟหลักของกล้องจุลทรรศน์ c. เครื่องคอมพิวเตอร์ d. ตัวกล้องถ่ายภาพ DS-Ri2 **หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม https://minicore-rarc.blogspot.com/2018/05/upright-fluorescence-microscope.html R e s e a r c h C e n t e r F a c u l t y o f M e d i c i n e , R a m a t h i b o d i H o s p i t a l M a h i d o l U n i v e r s i t y