SlideShare a Scribd company logo
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ด 1 มิติ และ 2 มิติ (QR Code) 
Page 1 of 52 Pages 
สำหรับกระบวนการผลิต
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ด 1 มิติ และ 2 มิติ (QR Code) 
Page 2 of 52 Pages 
สำหรับกระบวนการผลิต 
เนื้อหาการสัมมนา 
• เทคโนโลยี 1D และ 2D Barcode 
• Barcode แบบต่างๆ 
• แนวทางการเลือก Barcode ให้เหมาะกับการใช้งาน 
• การสร้าง 1D และ 2 D Barcode 
• การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 3 of 52 Pages 
เทคโนโลยี 1D/2D Barcode 
Data Matrix 
CodaBar QR Code
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
บาร์โค้ด หรือ “รหัสแท่งสากล” ประกอบด้วยเส้นมืดและเส้นสว่าง ซึ่ง 
ใช้แทนตัวเลขหรือตัวอักษร เพื่อสะดวกในการอ่านข้อมลูเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ 
Page 4 of 52 Pages 
เทคโนโลยีบาร์โค้ด 1 มิติ 
- เพิ่มความสะดวกรวดเร็ว 
- ลดความผิดพลาดในการคีย์ข้อมูล
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 5 of 52 Pages 
เทคโนโลยีบาร์โค้ด 1 มิติ 
เทคโนโลยีบาร์โค้ดได้เข้ามาช่วยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ 
- ด้านการค้า: จัดเก็บรายชื่อ รหัส และราคาสินค้า, Point of Sale 
- ด้านคลังสินค้า:ช่วยลดความผิดพลาดในกระบวนการจัดการสินค้าคงคลัง 
Refer to: www.technologystudent.com
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
บาร์โค้ด 1 มิติ ( 1 Dimension Barcode ) 
• บาร์โค้ด 1 มิติสามารถบรรจุข้อมูลได้ประมาณ 20 ตัวอักษร 
• การใช้งานบาร์โค้ดมักใช้รวมกับฐานข้อมูลคือเมื่ออ่านบาร์โค้ดและถอดรหัส 
แล้วจึงนำรหัสที่ได้ใช้เรียกข้อมลูจากฐานข้อมลูอีกต่อหนึ่ง 
• บาร์โค้ด 1 มิติมีหลายชนิด เช่น UPC, EAN-13 หรือ ISBN ซึ่งบาร์โค้ด 1 มิติ 
เหล่านี้สามารถพบได้ตามสินค้าทั่วไปในซุเปอร์มาร์เก็ตหรือห้างสรรพสินค้า 
Page 6 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 7 of 52 Pages 
บาร์โค้ด 1 มิติ ( 1 Dimension Barcode ) 
ตัวอย่างบาร์โค้ดระบบ EAN ที่ใช้ 
ในประเทศไทย 
หมายเลข 1 สัญลักษณ์แท่งสีเข้มสลับสีอ่อนสำหรับอ่านด้วยเครื่องสแกนเนอร์ 
หมายเลข 2 885: ตัวเลข 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย (ใช้ร่วมกันในประเทศไทย) 
หมายเลข 3 0000 : ตัวเลข 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต หรือรหัสสมาชิก 
หมายเลข 4 11111: 5 ตัวถัดมาเป็นรหัสสินค้า 
หมายเลข 5 2 : ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลขตรวจสอบเลข 12 หลักข้างหน้าว่ากำหนด 
ถูกต้องหรือไม่ ถ้าตัวสุดท้ายผิด บาร์โค้ดตัวนั้นจะอ่านไม่ออกสื่อความหมายไม่ได้
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 8 of 52 Pages 
บาร์โค้ด 1 มิติ ( 1 Dimension Barcode ) 
การขอมีรหัสบาร์โค้ด 
การขอมีรหัสบาร์โค้ดสามารถยื่นขอได้ที่ สถาบันรหัสสากล 
สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 
http://gs1thailand.org/main/
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
เทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติ 
• สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาข้อจำกัดด้านการจัดเก็บข้อมูลของบาร์โค้ดแบบแท่ง 
• สามารถบรรจุข้อมูลได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน 
• บรรจุข้อมูลได้มากถึง 4,000 ตัวอักษร หรือ 200 เท่าของบาร์โค้ด 1 มิติ 
• ข้อมูลที่บรรจุสามารถใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้ 
เช่น ภาษาญี่ปุ่น จีน หรือภาษาเกาหลี 
• สามารถถอดรหัสได้แม้ภาพบาร์โค้ดบางส่วนมีการเสียหาย 
• เครื่องอ่านมีทั้งแบบ CCD, เลเซอร์ จนถึงโทรศัพท์แบบมีกล้องที่ติดตั้งโปรแกรมถอดรหัสไว้ 
• ตัวอย่างบาร์โค้ด 2 มิติ เช่น PDF417, MaxiCode, Data Matrix และ QR Code 
Page 9 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 10 of 52 Pages 
บาร์โค้ด 2 มิติ (2D Barcode) 
แบบเมตริกซ์ (Matrix Barcode) 
แบบสแต๊ก (Stacked Barcode)
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 11 of 52 Pages 
บาร์โค้ดแบบ Data Matrix 
• พัฒนาโดยบริษัท RVSI Acuity CiMatrix ประเทศ 
สหรัฐอเมริกาเมื่อปี 2535 
• สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 3,116 ตัวเลขหรือ 
2,355 ตัวอักษร 
• ถ้าเป็นอักษรญี่ปุ่นบรรจุได้ 778 ตัวอักษร 
• รูปแบบการค้นหา (Finder Pattern)จะอยู่ด้านซ้ายล่าง 
ของบาร์โค้ด 
• ใช้ในงานที่พื้นจำกัดและต้องการบาร์โค้ดขนาดเล็ก
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 12 of 52 Pages 
บาร์โค้ดแบบ QR Code ( Quick Response Code ) 
• พัฒนาโดยบริษัท Nippon Denso ประเทศญี่ปุ่นในปี 
2537 
• สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 7,089 ตัวเลขหรือ 
4,296 ตัวอักษร 
• ตัวอักษรญี่ปุ่น 1,817 ตัวอักษร 
• รูปแบบค้นหา (Finder Pattern) ของ QR Code อยู่ที่ 
มุมซ้ายบน มุมซ้ายล่าง และมุมขวาบน 
• ใช้งานที่ต้องการบรรจุข้อมูลจำวนมากลงในบาร์โค้ด 
และต้องการอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ดอย่างรวดเร็ว
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 13 of 52 Pages 
บาร์โค้ดแบบ Maxi Code 
• พัฒนาโดยบริษัท Oniplanar และนำไปใช้โดย 
บริษัทขนส่ง UPS (United Parcel Service) 
ประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 2530 
• บรรจุข้อมูลได้ 138 ตัวเลขหรือ 93 ตัวอักษร 
• มีรูปแบบการค้นหา (Finder Pattern) อยู่ตรงกลาง 
บาร์โค้ด 
• บาร์โค้ดชนิดนี้ถูกออกแบบให้สามารถอ่านได้ 
อย่างรวดเร็ว จึงนำไปประยุกต์ใช้กับงานที่มี 
ความต้องการเร็วในการอ่านสูงเป็นส่วนใหญ่
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 14 of 52 Pages 
บาร์โค้ดแบบ PDF417 ( Portable Data File ) 
• พัฒนาโดยบริษัท Symbol Technologies ประเทศสหรัฐอเมริกา ขึ้นในปี 2535 
• สามารถบรรจุข้อมูลได้มากสุดถึง 2,710 ตัวเลข 1,850 ตัวอักษร คันจิ 554 
ตัวอักษร 
• เครื่องอ่านบาร์โค๊ดสามารถอ่านได้ในทิศทางเดียว
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 15 of 52 Pages 
ตารางเปรียบเทียบบาร์โค้ด 2 มิติชนิดต่างๆ
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติมาใช้งาน 
- ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ มีการติดบาร์โค้ดบนชิ้นส่วนอะไหล่ยนต์ต่างๆ เพื่อเก็บ 
ข้อมลูของอะไหล่ชิ้นนั้น เช่น ชื่อรุ่น รหัสอะไหล่ และประเภทของอะไหล่ เป็นต้น 
- ด้านกระบวนการผลิตสินค้า มีการติดบาร์โค้ด 2 มิติบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ 
เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ของแผงวงจรนั้น 
Page 16 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 17 of 52 Pages 
การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติมาใช้งาน 
การนำรหัส Barcode มากัดด้วยเลเซอร์หรือการ 
ตอกด้วยหัวเข็มลงบนสินค้าอุตสาหกรรมนั้น 
เรียกว่า DPM (Direct part marking)
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
- ด้านการขนส่งสินค้า มีการพิมพ์บาร์โค้ดบนใบส่งสินค้า เพื่อใช้บาร์โค้ดในการ 
จัดเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลการขนส่ง รหัสของสินค้า และจำนวน 
สินค้า เป็นต้น 
Page 18 of 52 Pages 
การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติมาใช้งาน 
Refer to: www.technologystudent.com
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 19 of 52 Pages 
การสร้าง 1D และ 2D Barcode 
เราสามารถสร้าง QR Code ได้เอง โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย โดยภาษาทางการ 
จะเรียกกันว่า QR Code Generator ปัจจุบันจะเป็น QR Code Generator อยู่บนเว็บไซต์ 
ซึ่งสามารถเข้าไปสร้าง 1D Barcode หรือ 2D Barcode ผ่านทางหน้าเว็บไซค์เหล่านี้ได้ 
เช่น 
http://qrcode.kaywa.com 
http://www.racoindustries.com/barcodegenerator/ 
เป็นต้น
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การสร้าง 1D และ 2D Barcode จาก Application สำเร็จรูป 
Page 20 of 52 Pages 
อ้างอิงจาก http://qrcode.kaywa.com/ 
Website ที่สามารถเข้า 
ไปสร้าง QR-CODE 
ได้
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การสร้าง 1D และ 2D Barcode จาก Application สำเร็จรูป 
Page 21 of 52 Pages 
อ้างอิงจาก http://www.racoindustries.com/barcodegenerator/ 
Website ที่สามารถเข้า 
ไปสร้าง ทั้ง 1D และ 
2D Barcode ได้
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
เปรียบเทียบบาร์โค้ด 1 มิติกับบาร์โค้ด 2 มิติ 
ความสามารถ บาร์โค้ด 1 มิติ บาร์โค้ด 2 มิติ 
ความจุของข้อมูล ประมาณ 20 ตัวอักษร ประมาณ 4000 ตัวอักษร หรือ 200 เท่าของ 
บาร์โค้ด 1 มิตินพื้นที่เท่ากันหรือเล็กกว่า 
Page 22 of 52 Pages 
การใช้งาน ต้องใช้งานร่วมกับฐานข้อมูลเพื่อเรียกข้อมูล 
ออกมาใช้ 
สามารถแสดงข้อมูลได้โดยไม่ต้องเรียกใช้จาก 
ฐานข้อมูล หรือจำเป็นก็สามารถเรียกใช้ได้ 
อุปกรณ์ในการถอดรหัส เครื่องอ่าน CCD หรือเครื่องอ่านแบบเลเซอร์ เครื่องอ่าน CCD หรือเครื่องอ่านเลเซอร์ 
เหมือนกับบาร์โค้ด 1 มิติ จนถึงโทรศัพท์มือถือ 
แบบมีกล้องถ่ายรูปในตัวที่มีการติดตั้ง 
โปรแกรมถอดรหัสไว้ 
ภาษาที่รองรับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้ 
การป้องกันข้อมูลสูญหาย ไม่สามารถกู้ข้อมูลได้ ถ้าบาร์โค้ด 1 มิติถูกลบ 
หรือจางหายบางส่วน 
สามารถกู้ข้อมูลได้ตามระดัลการป้องกัน 
ถึงแม้ว่าบาร์โค้ด 2 มิติจะมีบางส่วนที่เลือน 
หายไป
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 23 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม 
แยกตามชนิดของบาร์โค้ด 
• เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบ 1D 
• เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบ 2D 
แยกตามชนิดของเซนเซอร์ 
• Pen type Scanner 
• CCD Scanner (Charge couple device) 
• Laser Scanner 
- Omnidirectional Scanner 
• Imaging Scanner
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 24 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม 
Pen type Barcode Scanner 
• มีลักษณะเหมือนปากกา 
• ใช้การลากเพื่ออ่านค่า 
• ปัจจุบันไม่นิยม เนื่องจากการอ่านบาร์โค้ดทำได้ช้า
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 25 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม 
CCD Barcode Scanner 
• มีเซนเซอร์รับการสะท้อนแสงเป็นแนวยาว แต่มีเพียงไม่กี่จุด (น้อยกว่าในกล้องดิจิตอล) 
• ช่องอ่านจะกว้างรับกับความยาวของบาร์โค้ด 
• ไม่สามารถอ่านในระยะไกลเกิน 1 นิ้ว เนื่องจากเซนเซอร์จะรับแสงในระยะใกล้เท่านั้น
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 26 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม 
Laser Scanner 
• มีเส้นสแกนเป็นแสงเลเซอร์ซึ่งมีความเข้มแสงสูง เพื่อจับความถี่แสงสะท้อนกลับ 
• ความแม่นยำสูง 
• สแกนไกลได้สูงสุด 60 – 80 ซม. 
• ปัจจุบันนิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากราคาที่ลดลง และปัญหาน้อย
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 27 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม 
Laser Scanner - Omnidirectional Scanner 
• มีเส้นสแกนเป็นแสงเลเซอร์มากกว่า 10 เส้น เรียงตัดกันไปมาคล้ายตาข่าย 
• อ่านบาร์โค้ดได้หลายทิศทาง
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 28 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม 
Imager Scanner 
• มีกล้องอยู่ตรงกลาง ใช้เทคโนโลยี CCD แต่มีความละเอียดสูงขึ้น ราคาสูง 
• สามารถอ่านบาร์โค้ดที่คุณภาพการพิมพ์ต่ำได้ 
• สามารถสแกนได้ทุกทิศทาง 360 องศา
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 29 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม 
หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค๊ด 
Light Source 
(แหล่งกำเนิดแสง) 
Detector 
(ตัวรับแสง) 
Decode 
(ตัวถอดรหัส) 
Data 
(ข้อมูล) 
สัญญาณไฟฟ้า 
แสงสะท้อนกลับ 
1. เครื่องอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค๊ด 
2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค้ด 
3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า 
4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได้
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
แนวทางการเลือกเครื่องอ่านบาร์โค้ดให้เหมาะกับการใช้งาน 
- จะนำเครื่องอ่านบาร์โค้ดไปใช้งานในลักษณะและสิ่งแวดล้อมแบบใด ?? 
- จะต้องอ่านบาร์โค้ดอย่างต่อเนื่องหรือไม่ ?? 
- พื้นผิวของวัสดุที่จะอ่านบาร์โค้ดเป็นอย่างไร ?? (เงา มัน พื้นผิวโค้ง อยู่ในที่แคบ) 
- ระยะระหว่างบาร์โค้ดกับเครื่องอ่านใกล้หรือไกล ?? 
- เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะต้องนำไปเชื่อมต่อในลักษณะใด ?? 
- จำเป็นต้องใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบพกพาหรือยึดติดกับที่ ?? 
Page 30 of 52 Pages 
เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต 
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการนำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในกระบวนการผลิต 
- มีระบบการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร 
• ไฟล์เอกสาร 
• เก็บแบบ File Sharing 
• ระบบฐานข้อมูล 
- โครงสร้างในการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร 
• Data Dictionary 
- ระบบที่มีอยู่สามารถรองรับการนำบาร์โค้ดเข้ามาใช้งานได้หรือไม่ 
• มีระบบ ERP อยู่หรือไม่ 
Page 31 of 52 Pages 
1. ระบบทมีี่อยู่ในปัจจุบัน
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต 
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการนำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในกระบวนการผลิต 
Page 32 of 52 Pages 
2. เป้าหมายที่จะนำบาร์โค้ดไปใช้ 
- จะนำบาร์โค้ดไปประยุกใช้งานในส่วนไหน 
• คลังสินค้า 
• กระบวนการผลิต 
• การขนส่งสินค้า 
• การซื้อขายสินค้า 
- ส่วนที่จะนำบาร์โค้ดไปประยุกต์ใช้นั้น เกิดปัญหาอะไร 
- จะเลือกบาร์โค้ดแบบใด เพื่อใช้ในการแก้ปัญหานั้นๆ
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต 
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการนำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในกระบวนการผลิต 
Page 33 of 52 Pages 
3. การเลือกบาร์โค้ด 
- จะเอาบาร์โค้ดรูปแบบใดมาใช้งาน 
- ต้องเก็บข้อมูลในบาร์โค้ดเป็นจำนวนมากหรือไม่ 
- บาร์โค้ดที่ใช้ต้องมีความคงทนเพียงใด 
- ต้องการใช้ฐานข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูลหรือไม่
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 34 of 52 Pages 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor 
- การรายงานผลการผลิต 
- การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
- การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 35 of 52 Pages 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor 
การรายงานผลการผลิต 
ระบบบาร์โค้ดเพื่อช่วย 
รายงานผลการผลิตในแต่ 
ละสายการผลิต 
ผลิตได้เท่าไหร่ ?? เป็นของดีของเสียเท่าไหร่ ??
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
Page 36 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
หมายเลข 
ใบสั่งผลิต 
(Job Order) 
Page 37 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
หมายเลขใบสั่งผลิต, รหัสชิ้นงาน, รายละเอียดชิ้นงานที่ผลิต, จำนวน, ของดี, ของเสีย, Lot Number 
Page 38 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
Page 39 of 52 Pages 
Interface Ethernet Database 
หมายเลขใบสั่งผลิต, รหัสชิ้นงาน, รายละเอียดชิ้นงานที่ผลิต, จำนวน, ของดี, ของเสีย, Lot Number 
Ethernet 
Ethernet 
Planning ERP Inventory MRP
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
Page 40 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 41 of 52 Pages 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor 
การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
- การควบคุมวัตถุดิบ 
- การควบคุมกระบวนการผลิต
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
Page 42 of 52 Pages 
- การควบคุมวัตถุดิบ 
ประยุกต์ใช้บาร์โค๊ดในการควบคุมการรับเข้า และเบิกจ่าย 
วัตถุดิบโดยควบคุมด้วยบาร์โค้ดทั้งกระบวนการโดยทใี่นบาร์โค้ดจะ 
บรรจุข้อมูลของวัตถุดิบและข้อมูลล๊อตไว้ด้วย เพื่อให้สามารถสอบกลับ 
แหล่งที่มาของวัตถุดิบนั้นๆ ได้
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
คลังสินค้าสำเร็จรูป 
Page 43 of 52 Pages 
จัดซื้อ 
เอกสารใบสั่งซื้อ 
การควบคุมวัตถุดิบ 
คลังวัตถุดิบ การผลิต
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
Page 44 of 52 Pages 
- การควบคุมกระบวนการผลิต 
ประยุกต์ใช้บาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อเก็บข้อมูลการผลิต ในแต่ละ 
Operation เพื่อใช้เป็นข้อมูลตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ 
ผ่านกระบวนการต่างๆ
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ 
ใช้บาร์โค้ดในการตรวจสอบและควบคุมการผลิต 
แต่ละฐานการผลิต (Operation) Refer to: www.technologystudent.com 
Page 45 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ การควบคุมกระบวนการผลิต 
Page 46 of 52 Pages 
Conveyor Conveyor 
Workstation1 Workstation2 
หมายเลขใบสั่งผลิต, รหัสชิ้นงาน, Workstation, จำนวน, จำนวนชิ้นงานดี, จำนวนชิ้นงานเสีย 
Conveyor 
Workstation4 Workstation3
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor -การตรวจสอบคุณภาพการผลิต 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ การควบคุมกระบวนการผลิต 
Page 47 of 52 Pages 
SQL Language 
Database Provider 
Database 
Barcode Reader 
- ODBC 
- OLE DB 
- ADO 
- ADO.NET
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 48 of 52 Pages 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor 
การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ 
Refer to: www.vanderlande.com
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 49 of 52 Pages 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor 
- การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 50 of 52 Pages 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor 
- การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ 
แนวคิดและการประยุกต์ใช้ รหัสวัตถุดิบ 
(Item Number)
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 51 of 52 Pages 
การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 52 of 52 Pages
Thai-German Institute 
สถาบันไทย-เยอรมัน 
Page 53 of 52 Pages 
สถาบันไทย – เยอรมัน 
โทรศัพท์: 0-3821-5033-39, 0-3893-0100 
Website: www.tgi.or.th 
ERP Society 
Website: https://www.facebook.com/ERP.Society 
By Modern Manufacturing Section 
Machinery and Automation System Center 
Thai – German Institute

More Related Content

What's hot

01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ตSmo Tara
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1tanaterm
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technologytanaterm
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technologytanaterm
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technologytanaterm
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
วริทธิ์ ลิ้มรุ่งเรือง
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์peeyamas parjaitum
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
Samart Phetdee
 
Operation Management 01
Operation Management 01Operation Management 01
Operation Management 01
Chill Ochawin
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ Tong Thitiphong
 

What's hot (12)

Homework 5
Homework 5Homework 5
Homework 5
 
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technology
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technology
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technology
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
Operation Management 01
Operation Management 01Operation Management 01
Operation Management 01
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Viewers also liked

Privacy Issues on Online Social Networks
Privacy Issues on Online Social NetworksPrivacy Issues on Online Social Networks
Privacy Issues on Online Social NetworksSirapat Boonkrong
 
Wireshark(ครั้งที่1)
Wireshark(ครั้งที่1)Wireshark(ครั้งที่1)
Wireshark(ครั้งที่1)
Sawitree Weerapong
 
มอง AEC ในมุมบวก for Construction Industry
มอง AEC ในมุมบวก for Construction Industryมอง AEC ในมุมบวก for Construction Industry
มอง AEC ในมุมบวก for Construction Industry
Pongsawat Krishnamra
 
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยมอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยPongsawat Krishnamra
 
Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)Sawitree Weerapong
 
Wireshark Tutorial
Wireshark TutorialWireshark Tutorial
Wireshark Tutorial
Coursenvy.com
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIMกระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIMSKETCHUP HOME
 
Wireshark Traffic Analysis
Wireshark Traffic AnalysisWireshark Traffic Analysis
Wireshark Traffic Analysis
David Sweigert
 
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
Big Data Engineering, Faculty of Engineering, Dhurakij Pundit University
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
SKETCHUP HOME
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
SKETCHUP HOME
 
Wireshark
WiresharkWireshark
Wireshark
Sourav Roy
 
Wireshark - presentation
Wireshark - presentationWireshark - presentation
Wireshark - presentation
Kateryna Haskova
 
Preprocessing with RapidMiner Studio 6
Preprocessing with RapidMiner Studio 6Preprocessing with RapidMiner Studio 6
Network Packet Analysis with Wireshark
Network Packet Analysis with WiresharkNetwork Packet Analysis with Wireshark
Network Packet Analysis with Wireshark
Jim Gilsinn
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
SKETCHUP HOME
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
Piyaboon Nilkaew
 

Viewers also liked (20)

Privacy Issues on Online Social Networks
Privacy Issues on Online Social NetworksPrivacy Issues on Online Social Networks
Privacy Issues on Online Social Networks
 
Thai Research
Thai ResearchThai Research
Thai Research
 
Wireshark(ครั้งที่1)
Wireshark(ครั้งที่1)Wireshark(ครั้งที่1)
Wireshark(ครั้งที่1)
 
มอง AEC ในมุมบวก for Construction Industry
มอง AEC ในมุมบวก for Construction Industryมอง AEC ในมุมบวก for Construction Industry
มอง AEC ในมุมบวก for Construction Industry
 
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยมอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
มอง AEC ในมุมบวกสำหรับผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทย
 
Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)
 
Wireshark Tutorial
Wireshark TutorialWireshark Tutorial
Wireshark Tutorial
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIMกระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
 
Wireshark Traffic Analysis
Wireshark Traffic AnalysisWireshark Traffic Analysis
Wireshark Traffic Analysis
 
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
Introduction to Data Analytics with RapidMiner Studio 6 (ภาษาไทย)
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
 
Wireshark
WiresharkWireshark
Wireshark
 
Wireshark - presentation
Wireshark - presentationWireshark - presentation
Wireshark - presentation
 
Preprocessing with RapidMiner Studio 6
Preprocessing with RapidMiner Studio 6Preprocessing with RapidMiner Studio 6
Preprocessing with RapidMiner Studio 6
 
Network Packet Analysis with Wireshark
Network Packet Analysis with WiresharkNetwork Packet Analysis with Wireshark
Network Packet Analysis with Wireshark
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 

Similar to Barcode technology

Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2mod2may
 
01 ipst microbox
01 ipst microbox01 ipst microbox
01 ipst microbox
Strisuksa Roi-Et
 
เมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆเมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆJen D
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอทีpatcha01
 
Web Accessibility Coding
Web Accessibility CodingWeb Accessibility Coding
Web Accessibility Coding
Boonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลparinee
 
09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูลteaw-sirinapa
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
Beerza Kub
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
Project present
Project presentProject present
Project present
Niyyin Chantani
 
Web Accessibility
Web AccessibilityWeb Accessibility
Web Accessibility
Boonlert Aroonpiboon
 
Web Accessibility
Web AccessibilityWeb Accessibility
Web Accessibility
Boonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
Satapon Yosakonkun
 

Similar to Barcode technology (20)

Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2
 
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบันห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
 
Video conference2
Video conference2Video conference2
Video conference2
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
01 ipst microbox
01 ipst microbox01 ipst microbox
01 ipst microbox
 
เมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆเมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆ
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
S3 Auto id
S3 Auto idS3 Auto id
S3 Auto id
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
Web Accessibility Coding
Web Accessibility CodingWeb Accessibility Coding
Web Accessibility Coding
 
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลบทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
Project present
Project presentProject present
Project present
 
Web Accessibility
Web AccessibilityWeb Accessibility
Web Accessibility
 
Com
ComCom
Com
 
Web Accessibility
Web AccessibilityWeb Accessibility
Web Accessibility
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 

More from BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute

รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติรายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 
ใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติ
BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 
ใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติ
BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 
ใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติ
BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 
Information technology in modern logistics and supply chain management
Information technology in modern logistics and supply chain managementInformation technology in modern logistics and supply chain management
Information technology in modern logistics and supply chain management
BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 
การคัดเลือก ERP
การคัดเลือก ERPการคัดเลือก ERP
การคัดเลือก ERP
BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERPหลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute
 

More from BOONLUE BOONKONG :Thai-German Institute (8)

รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติรายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
 
ใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้สร้าง,System integrator และผู้ขายระบบอัตโนมัติ
 
ใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้วิจัยและพัฒนาระบบอัตโนมัติ
 
ใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติ
ใบสมัครสำหรับผู้ประยุกต์ใช้ระบบอัตโนมัติ
 
Information technology in modern logistics and supply chain management
Information technology in modern logistics and supply chain managementInformation technology in modern logistics and supply chain management
Information technology in modern logistics and supply chain management
 
การคัดเลือก ERP
การคัดเลือก ERPการคัดเลือก ERP
การคัดเลือก ERP
 
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERPหลักสูตรฝึกอบรม ERP
หลักสูตรฝึกอบรม ERP
 
Erp selection guide
Erp selection guideErp selection guide
Erp selection guide
 

Barcode technology

  • 1. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ด 1 มิติ และ 2 มิติ (QR Code) Page 1 of 52 Pages สำหรับกระบวนการผลิต
  • 2. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ด 1 มิติ และ 2 มิติ (QR Code) Page 2 of 52 Pages สำหรับกระบวนการผลิต เนื้อหาการสัมมนา • เทคโนโลยี 1D และ 2D Barcode • Barcode แบบต่างๆ • แนวทางการเลือก Barcode ให้เหมาะกับการใช้งาน • การสร้าง 1D และ 2 D Barcode • การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต
  • 3. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 3 of 52 Pages เทคโนโลยี 1D/2D Barcode Data Matrix CodaBar QR Code
  • 4. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน บาร์โค้ด หรือ “รหัสแท่งสากล” ประกอบด้วยเส้นมืดและเส้นสว่าง ซึ่ง ใช้แทนตัวเลขหรือตัวอักษร เพื่อสะดวกในการอ่านข้อมลูเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ Page 4 of 52 Pages เทคโนโลยีบาร์โค้ด 1 มิติ - เพิ่มความสะดวกรวดเร็ว - ลดความผิดพลาดในการคีย์ข้อมูล
  • 5. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 5 of 52 Pages เทคโนโลยีบาร์โค้ด 1 มิติ เทคโนโลยีบาร์โค้ดได้เข้ามาช่วยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ - ด้านการค้า: จัดเก็บรายชื่อ รหัส และราคาสินค้า, Point of Sale - ด้านคลังสินค้า:ช่วยลดความผิดพลาดในกระบวนการจัดการสินค้าคงคลัง Refer to: www.technologystudent.com
  • 6. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน บาร์โค้ด 1 มิติ ( 1 Dimension Barcode ) • บาร์โค้ด 1 มิติสามารถบรรจุข้อมูลได้ประมาณ 20 ตัวอักษร • การใช้งานบาร์โค้ดมักใช้รวมกับฐานข้อมูลคือเมื่ออ่านบาร์โค้ดและถอดรหัส แล้วจึงนำรหัสที่ได้ใช้เรียกข้อมลูจากฐานข้อมลูอีกต่อหนึ่ง • บาร์โค้ด 1 มิติมีหลายชนิด เช่น UPC, EAN-13 หรือ ISBN ซึ่งบาร์โค้ด 1 มิติ เหล่านี้สามารถพบได้ตามสินค้าทั่วไปในซุเปอร์มาร์เก็ตหรือห้างสรรพสินค้า Page 6 of 52 Pages
  • 7. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 7 of 52 Pages บาร์โค้ด 1 มิติ ( 1 Dimension Barcode ) ตัวอย่างบาร์โค้ดระบบ EAN ที่ใช้ ในประเทศไทย หมายเลข 1 สัญลักษณ์แท่งสีเข้มสลับสีอ่อนสำหรับอ่านด้วยเครื่องสแกนเนอร์ หมายเลข 2 885: ตัวเลข 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย (ใช้ร่วมกันในประเทศไทย) หมายเลข 3 0000 : ตัวเลข 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต หรือรหัสสมาชิก หมายเลข 4 11111: 5 ตัวถัดมาเป็นรหัสสินค้า หมายเลข 5 2 : ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลขตรวจสอบเลข 12 หลักข้างหน้าว่ากำหนด ถูกต้องหรือไม่ ถ้าตัวสุดท้ายผิด บาร์โค้ดตัวนั้นจะอ่านไม่ออกสื่อความหมายไม่ได้
  • 8. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 8 of 52 Pages บาร์โค้ด 1 มิติ ( 1 Dimension Barcode ) การขอมีรหัสบาร์โค้ด การขอมีรหัสบาร์โค้ดสามารถยื่นขอได้ที่ สถาบันรหัสสากล สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย http://gs1thailand.org/main/
  • 9. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน เทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติ • สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาข้อจำกัดด้านการจัดเก็บข้อมูลของบาร์โค้ดแบบแท่ง • สามารถบรรจุข้อมูลได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน • บรรจุข้อมูลได้มากถึง 4,000 ตัวอักษร หรือ 200 เท่าของบาร์โค้ด 1 มิติ • ข้อมูลที่บรรจุสามารถใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้ เช่น ภาษาญี่ปุ่น จีน หรือภาษาเกาหลี • สามารถถอดรหัสได้แม้ภาพบาร์โค้ดบางส่วนมีการเสียหาย • เครื่องอ่านมีทั้งแบบ CCD, เลเซอร์ จนถึงโทรศัพท์แบบมีกล้องที่ติดตั้งโปรแกรมถอดรหัสไว้ • ตัวอย่างบาร์โค้ด 2 มิติ เช่น PDF417, MaxiCode, Data Matrix และ QR Code Page 9 of 52 Pages
  • 10. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 10 of 52 Pages บาร์โค้ด 2 มิติ (2D Barcode) แบบเมตริกซ์ (Matrix Barcode) แบบสแต๊ก (Stacked Barcode)
  • 11. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 11 of 52 Pages บาร์โค้ดแบบ Data Matrix • พัฒนาโดยบริษัท RVSI Acuity CiMatrix ประเทศ สหรัฐอเมริกาเมื่อปี 2535 • สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 3,116 ตัวเลขหรือ 2,355 ตัวอักษร • ถ้าเป็นอักษรญี่ปุ่นบรรจุได้ 778 ตัวอักษร • รูปแบบการค้นหา (Finder Pattern)จะอยู่ด้านซ้ายล่าง ของบาร์โค้ด • ใช้ในงานที่พื้นจำกัดและต้องการบาร์โค้ดขนาดเล็ก
  • 12. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 12 of 52 Pages บาร์โค้ดแบบ QR Code ( Quick Response Code ) • พัฒนาโดยบริษัท Nippon Denso ประเทศญี่ปุ่นในปี 2537 • สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 7,089 ตัวเลขหรือ 4,296 ตัวอักษร • ตัวอักษรญี่ปุ่น 1,817 ตัวอักษร • รูปแบบค้นหา (Finder Pattern) ของ QR Code อยู่ที่ มุมซ้ายบน มุมซ้ายล่าง และมุมขวาบน • ใช้งานที่ต้องการบรรจุข้อมูลจำวนมากลงในบาร์โค้ด และต้องการอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ดอย่างรวดเร็ว
  • 13. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 13 of 52 Pages บาร์โค้ดแบบ Maxi Code • พัฒนาโดยบริษัท Oniplanar และนำไปใช้โดย บริษัทขนส่ง UPS (United Parcel Service) ประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 2530 • บรรจุข้อมูลได้ 138 ตัวเลขหรือ 93 ตัวอักษร • มีรูปแบบการค้นหา (Finder Pattern) อยู่ตรงกลาง บาร์โค้ด • บาร์โค้ดชนิดนี้ถูกออกแบบให้สามารถอ่านได้ อย่างรวดเร็ว จึงนำไปประยุกต์ใช้กับงานที่มี ความต้องการเร็วในการอ่านสูงเป็นส่วนใหญ่
  • 14. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 14 of 52 Pages บาร์โค้ดแบบ PDF417 ( Portable Data File ) • พัฒนาโดยบริษัท Symbol Technologies ประเทศสหรัฐอเมริกา ขึ้นในปี 2535 • สามารถบรรจุข้อมูลได้มากสุดถึง 2,710 ตัวเลข 1,850 ตัวอักษร คันจิ 554 ตัวอักษร • เครื่องอ่านบาร์โค๊ดสามารถอ่านได้ในทิศทางเดียว
  • 15. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 15 of 52 Pages ตารางเปรียบเทียบบาร์โค้ด 2 มิติชนิดต่างๆ
  • 16. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติมาใช้งาน - ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ มีการติดบาร์โค้ดบนชิ้นส่วนอะไหล่ยนต์ต่างๆ เพื่อเก็บ ข้อมลูของอะไหล่ชิ้นนั้น เช่น ชื่อรุ่น รหัสอะไหล่ และประเภทของอะไหล่ เป็นต้น - ด้านกระบวนการผลิตสินค้า มีการติดบาร์โค้ด 2 มิติบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ เก็บข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ของแผงวงจรนั้น Page 16 of 52 Pages
  • 17. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 17 of 52 Pages การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติมาใช้งาน การนำรหัส Barcode มากัดด้วยเลเซอร์หรือการ ตอกด้วยหัวเข็มลงบนสินค้าอุตสาหกรรมนั้น เรียกว่า DPM (Direct part marking)
  • 18. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน - ด้านการขนส่งสินค้า มีการพิมพ์บาร์โค้ดบนใบส่งสินค้า เพื่อใช้บาร์โค้ดในการ จัดเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลการขนส่ง รหัสของสินค้า และจำนวน สินค้า เป็นต้น Page 18 of 52 Pages การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติมาใช้งาน Refer to: www.technologystudent.com
  • 19. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 19 of 52 Pages การสร้าง 1D และ 2D Barcode เราสามารถสร้าง QR Code ได้เอง โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย โดยภาษาทางการ จะเรียกกันว่า QR Code Generator ปัจจุบันจะเป็น QR Code Generator อยู่บนเว็บไซต์ ซึ่งสามารถเข้าไปสร้าง 1D Barcode หรือ 2D Barcode ผ่านทางหน้าเว็บไซค์เหล่านี้ได้ เช่น http://qrcode.kaywa.com http://www.racoindustries.com/barcodegenerator/ เป็นต้น
  • 20. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การสร้าง 1D และ 2D Barcode จาก Application สำเร็จรูป Page 20 of 52 Pages อ้างอิงจาก http://qrcode.kaywa.com/ Website ที่สามารถเข้า ไปสร้าง QR-CODE ได้
  • 21. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การสร้าง 1D และ 2D Barcode จาก Application สำเร็จรูป Page 21 of 52 Pages อ้างอิงจาก http://www.racoindustries.com/barcodegenerator/ Website ที่สามารถเข้า ไปสร้าง ทั้ง 1D และ 2D Barcode ได้
  • 22. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน เปรียบเทียบบาร์โค้ด 1 มิติกับบาร์โค้ด 2 มิติ ความสามารถ บาร์โค้ด 1 มิติ บาร์โค้ด 2 มิติ ความจุของข้อมูล ประมาณ 20 ตัวอักษร ประมาณ 4000 ตัวอักษร หรือ 200 เท่าของ บาร์โค้ด 1 มิตินพื้นที่เท่ากันหรือเล็กกว่า Page 22 of 52 Pages การใช้งาน ต้องใช้งานร่วมกับฐานข้อมูลเพื่อเรียกข้อมูล ออกมาใช้ สามารถแสดงข้อมูลได้โดยไม่ต้องเรียกใช้จาก ฐานข้อมูล หรือจำเป็นก็สามารถเรียกใช้ได้ อุปกรณ์ในการถอดรหัส เครื่องอ่าน CCD หรือเครื่องอ่านแบบเลเซอร์ เครื่องอ่าน CCD หรือเครื่องอ่านเลเซอร์ เหมือนกับบาร์โค้ด 1 มิติ จนถึงโทรศัพท์มือถือ แบบมีกล้องถ่ายรูปในตัวที่มีการติดตั้ง โปรแกรมถอดรหัสไว้ ภาษาที่รองรับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้ การป้องกันข้อมูลสูญหาย ไม่สามารถกู้ข้อมูลได้ ถ้าบาร์โค้ด 1 มิติถูกลบ หรือจางหายบางส่วน สามารถกู้ข้อมูลได้ตามระดัลการป้องกัน ถึงแม้ว่าบาร์โค้ด 2 มิติจะมีบางส่วนที่เลือน หายไป
  • 23. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 23 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม แยกตามชนิดของบาร์โค้ด • เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบ 1D • เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบ 2D แยกตามชนิดของเซนเซอร์ • Pen type Scanner • CCD Scanner (Charge couple device) • Laser Scanner - Omnidirectional Scanner • Imaging Scanner
  • 24. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 24 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม Pen type Barcode Scanner • มีลักษณะเหมือนปากกา • ใช้การลากเพื่ออ่านค่า • ปัจจุบันไม่นิยม เนื่องจากการอ่านบาร์โค้ดทำได้ช้า
  • 25. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 25 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม CCD Barcode Scanner • มีเซนเซอร์รับการสะท้อนแสงเป็นแนวยาว แต่มีเพียงไม่กี่จุด (น้อยกว่าในกล้องดิจิตอล) • ช่องอ่านจะกว้างรับกับความยาวของบาร์โค้ด • ไม่สามารถอ่านในระยะไกลเกิน 1 นิ้ว เนื่องจากเซนเซอร์จะรับแสงในระยะใกล้เท่านั้น
  • 26. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 26 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม Laser Scanner • มีเส้นสแกนเป็นแสงเลเซอร์ซึ่งมีความเข้มแสงสูง เพื่อจับความถี่แสงสะท้อนกลับ • ความแม่นยำสูง • สแกนไกลได้สูงสุด 60 – 80 ซม. • ปัจจุบันนิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากราคาที่ลดลง และปัญหาน้อย
  • 27. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 27 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม Laser Scanner - Omnidirectional Scanner • มีเส้นสแกนเป็นแสงเลเซอร์มากกว่า 10 เส้น เรียงตัดกันไปมาคล้ายตาข่าย • อ่านบาร์โค้ดได้หลายทิศทาง
  • 28. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 28 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม Imager Scanner • มีกล้องอยู่ตรงกลาง ใช้เทคโนโลยี CCD แต่มีความละเอียดสูงขึ้น ราคาสูง • สามารถอ่านบาร์โค้ดที่คุณภาพการพิมพ์ต่ำได้ • สามารถสแกนได้ทุกทิศทาง 360 องศา
  • 29. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 29 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค๊ด Light Source (แหล่งกำเนิดแสง) Detector (ตัวรับแสง) Decode (ตัวถอดรหัส) Data (ข้อมูล) สัญญาณไฟฟ้า แสงสะท้อนกลับ 1. เครื่องอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค๊ด 2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค้ด 3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า 4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได้
  • 30. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน แนวทางการเลือกเครื่องอ่านบาร์โค้ดให้เหมาะกับการใช้งาน - จะนำเครื่องอ่านบาร์โค้ดไปใช้งานในลักษณะและสิ่งแวดล้อมแบบใด ?? - จะต้องอ่านบาร์โค้ดอย่างต่อเนื่องหรือไม่ ?? - พื้นผิวของวัสดุที่จะอ่านบาร์โค้ดเป็นอย่างไร ?? (เงา มัน พื้นผิวโค้ง อยู่ในที่แคบ) - ระยะระหว่างบาร์โค้ดกับเครื่องอ่านใกล้หรือไกล ?? - เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะต้องนำไปเชื่อมต่อในลักษณะใด ?? - จำเป็นต้องใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบพกพาหรือยึดติดกับที่ ?? Page 30 of 52 Pages เครื่องอ่านบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม
  • 31. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต สิ่งที่ต้องพิจารณาในการนำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในกระบวนการผลิต - มีระบบการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร • ไฟล์เอกสาร • เก็บแบบ File Sharing • ระบบฐานข้อมูล - โครงสร้างในการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร • Data Dictionary - ระบบที่มีอยู่สามารถรองรับการนำบาร์โค้ดเข้ามาใช้งานได้หรือไม่ • มีระบบ ERP อยู่หรือไม่ Page 31 of 52 Pages 1. ระบบทมีี่อยู่ในปัจจุบัน
  • 32. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต สิ่งที่ต้องพิจารณาในการนำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในกระบวนการผลิต Page 32 of 52 Pages 2. เป้าหมายที่จะนำบาร์โค้ดไปใช้ - จะนำบาร์โค้ดไปประยุกใช้งานในส่วนไหน • คลังสินค้า • กระบวนการผลิต • การขนส่งสินค้า • การซื้อขายสินค้า - ส่วนที่จะนำบาร์โค้ดไปประยุกต์ใช้นั้น เกิดปัญหาอะไร - จะเลือกบาร์โค้ดแบบใด เพื่อใช้ในการแก้ปัญหานั้นๆ
  • 33. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต สิ่งที่ต้องพิจารณาในการนำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในกระบวนการผลิต Page 33 of 52 Pages 3. การเลือกบาร์โค้ด - จะเอาบาร์โค้ดรูปแบบใดมาใช้งาน - ต้องเก็บข้อมูลในบาร์โค้ดเป็นจำนวนมากหรือไม่ - บาร์โค้ดที่ใช้ต้องมีความคงทนเพียงใด - ต้องการใช้ฐานข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูลหรือไม่
  • 34. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 34 of 52 Pages การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต - การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์
  • 35. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 35 of 52 Pages การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor การรายงานผลการผลิต ระบบบาร์โค้ดเพื่อช่วย รายงานผลการผลิตในแต่ ละสายการผลิต ผลิตได้เท่าไหร่ ?? เป็นของดีของเสียเท่าไหร่ ??
  • 36. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ Page 36 of 52 Pages
  • 37. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ หมายเลข ใบสั่งผลิต (Job Order) Page 37 of 52 Pages
  • 38. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ หมายเลขใบสั่งผลิต, รหัสชิ้นงาน, รายละเอียดชิ้นงานที่ผลิต, จำนวน, ของดี, ของเสีย, Lot Number Page 38 of 52 Pages
  • 39. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ Page 39 of 52 Pages Interface Ethernet Database หมายเลขใบสั่งผลิต, รหัสชิ้นงาน, รายละเอียดชิ้นงานที่ผลิต, จำนวน, ของดี, ของเสีย, Lot Number Ethernet Ethernet Planning ERP Inventory MRP
  • 40. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การรายงานผลการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ Page 40 of 52 Pages
  • 41. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 41 of 52 Pages การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor การตรวจสอบคุณภาพการผลิต - การควบคุมวัตถุดิบ - การควบคุมกระบวนการผลิต
  • 42. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ Page 42 of 52 Pages - การควบคุมวัตถุดิบ ประยุกต์ใช้บาร์โค๊ดในการควบคุมการรับเข้า และเบิกจ่าย วัตถุดิบโดยควบคุมด้วยบาร์โค้ดทั้งกระบวนการโดยทใี่นบาร์โค้ดจะ บรรจุข้อมูลของวัตถุดิบและข้อมูลล๊อตไว้ด้วย เพื่อให้สามารถสอบกลับ แหล่งที่มาของวัตถุดิบนั้นๆ ได้
  • 43. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ คลังสินค้าสำเร็จรูป Page 43 of 52 Pages จัดซื้อ เอกสารใบสั่งซื้อ การควบคุมวัตถุดิบ คลังวัตถุดิบ การผลิต
  • 44. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ Page 44 of 52 Pages - การควบคุมกระบวนการผลิต ประยุกต์ใช้บาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อเก็บข้อมูลการผลิต ในแต่ละ Operation เพื่อใช้เป็นข้อมูลตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ ผ่านกระบวนการต่างๆ
  • 45. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ ใช้บาร์โค้ดในการตรวจสอบและควบคุมการผลิต แต่ละฐานการผลิต (Operation) Refer to: www.technologystudent.com Page 45 of 52 Pages
  • 46. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การตรวจสอบคุณภาพการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ การควบคุมกระบวนการผลิต Page 46 of 52 Pages Conveyor Conveyor Workstation1 Workstation2 หมายเลขใบสั่งผลิต, รหัสชิ้นงาน, Workstation, จำนวน, จำนวนชิ้นงานดี, จำนวนชิ้นงานเสีย Conveyor Workstation4 Workstation3
  • 47. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor -การตรวจสอบคุณภาพการผลิต แนวคิดและการประยุกต์ใช้ การควบคุมกระบวนการผลิต Page 47 of 52 Pages SQL Language Database Provider Database Barcode Reader - ODBC - OLE DB - ADO - ADO.NET
  • 48. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 48 of 52 Pages การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ Refer to: www.vanderlande.com
  • 49. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 49 of 52 Pages การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ แนวคิดและการประยุกต์ใช้
  • 50. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 50 of 52 Pages การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดใน Shop Floor - การเบิกจ่ายวัตถุดิบและส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ แนวคิดและการประยุกต์ใช้ รหัสวัตถุดิบ (Item Number)
  • 51. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 51 of 52 Pages การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดในกระบวนการผลิต
  • 53. Thai-German Institute สถาบันไทย-เยอรมัน Page 53 of 52 Pages สถาบันไทย – เยอรมัน โทรศัพท์: 0-3821-5033-39, 0-3893-0100 Website: www.tgi.or.th ERP Society Website: https://www.facebook.com/ERP.Society By Modern Manufacturing Section Machinery and Automation System Center Thai – German Institute