SlideShare a Scribd company logo
61 สารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว   เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงส
บาร์โค้ด 2 มิติ คือ
อะไร ?
           • เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์
           โค้ด 1
           • บรรจุข้อมูลได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน
           • บรรจุข้อมูลมากได้ประมาณ 4,000 ตัว
           อักษรหรือประมาณ 200
              เท่าของบาร์โค้ด 1 มิติในพื้นที่เท่ากัน
           • มีลักษณะเป็นแถบมีความหนา-บาง
           • การอ่านข้อมูลจะอาศัยหลักการสะท้อนแสง
           • เข้าไปเก็บใน คอมพิวเตอร์โดยตรง
           • ไม่ต้องผ่านการกดปุ่มที่แป้นพิมพ์
           • ระบบ Barcode เป็นมาตรฐานสากลที่นิยม
           ใช้ทั่วโลก
บาร์โค้ด 1 มิติ VS บาร์
              โค้ด 2 มิติ
     Barcode 1 มิติ                   Barcode 2 มิติ

• สัญลักษณ์รหัสแท่งที่ใช้แทน     • พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 1
ข้อมูลตัวเลข                     มิติ
• มีลักษณะเป็นแถบเส้นสีดำา       • ออกแบบให้บรรจุข้อมูลได้ทั้ง
สลับเส้นสีขาว                    แนวนอนและ
• ใช้แทนรหัสตัวเลขหรือตัว          แนวตั้ง
อักษร                            • บรรจุข้อมูลได้ 4,000 ตัว
• บรรจุข้อมูลได้ประมาณ 20 ตัว    อักษร จากเดิม 200
อักษร                              เท่าในพื้นที่เท่ากันหรือเล็ก
•พบทั่วไปที่ซเปอร์มาร์เกต ห้าง
             ู                   กว่า
สรรพสินค้า                       • ข้อมูลที่บรรจุนั้นสามารถใช้
  หรือบนหนังสือต่างๆ             ภาษาอื่นนอกจาก
                                   ภาษาอังกฤษ เช่น ภาษาญีปุ่น   ่
ความเป็นมา

• บาร์โค้ดสองมิตินับเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ถูกคิดค้น โดยบริษัท
ของญีปุ่น ชือว่า Denso-Wave
         ่    ่
    ในปี พ.ศ. 2537
• มีลักษณะพื้นฐานเป็นเพียงรูปภาพสองมิติที่ใช้แถบสีขาวดำา
แทนข้อความ หรือข้อมูลที่มี
    ความหลากหลายได้ถึง 4,296 - 7,089 ตัวอักษร
• ปัจจุบันมีการนำาบาร์โค้ดสองมิติมาประยุกต์ใช้งานอย่างแพร่
หลาย เนื่องจากความง่ายและ
    สะดวกในการเข้ารหัสเพื่อให้ข้อมูลที่ต้องการอยูในรูปแบบ
                                                 ่
บาร์โค้ด หรือการถอดรหัสจาก
    บาร์โค้ดเป็นข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ทั่วไปหรือโทรศัพท์มือ
ถือ
    ที่มีกล้องดิจตอลและโปรแกรมถอดรหัสซึ่งสามารถหามาติด
                 ิ
ตั้งได้ฟรี
คุณสมบัติของบาร์โค้ด 2 มิติ
• มีความสามารถในการเก็บข้อมูลได้มากกว่า
     * บาร์โค้ด 2 มิติสามารถพิมพ์ในพื้นที่ว่างขนาดเล็กได้ ขณะที่บาร์
โค้ดแบบเดิมทำาไม่ได้
• สามารถบันทึกข้อมูลได้มาก
     * ประสิทธิภาพในการรองรับการบันทึกข้อมูลได้มากถึง 1 KB.
หรือประมาณ 7,000 ตัวอักษร
• สามารถพิมพ์โค้ดลงไปที่ชนงานโดยตรงได้
                              ิ้
     * พิมพ์ข้อมูลด้วยการใช้เลเซอร์เจาะลงไปบนผิวเหล็กตามรูปร่าง
ของบาร์โค้ดที่ต้องการได้โดยตรง
• ฟังก์ชั่นการตรวจแก้ไขข้อผิดพลาดเพื่อป้องกันการสูญหายของ
ข้อมูลจากการขูดขีด
     * กรณีบาร์โค้ดมีรอยขูดขีดหรือชำารุด สามารถเรียกรหัสเข้าไป
ใหม่ได้ด้วยฟังก์ชั่นการตรวจแก้ไข
      ข้อผิดพลาด
     * สามารถติดตั้งฟังก์ชั่นการตรวจแก้ไขข้อผิดพลาดขณะป้อนรหัส
เมือตั้งค่าไว้แล้วสามารถป้อน
   ่
ประเภทของบาร์โค้ด 2 มิติ
บาร์โค้ด 2 มิติ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1. บาร์โค้ดแบบสแต็ก (Stacked Barcode)
• มีลักษณะคล้ายกับการนำาบาร์โค้ด 1 มิติมาวางซ้อนกันหลาย
แถว
• มีการทำางานโดยอ่านภาพถ่ายบาร์โค้ดแล้วปรับความกว้างของ
บาร์โค้ดก่อนทำาการถอดรหัส ซึ่ง
    การปรับความกว้างนี้ทำาให้สามารถถอดรหัสจากภาพที่เสีย
หายบางส่วนได้ โดยส่วนที่เสียหาย
    นั้นต้องไม่เสียหายเกินขีดจำากัดหนึ่งที่กำาหนดไว้
• การอ่านบาร์โค้ดแบบสแต็กสามารถอ่านได้ทิศทางเดียว เช่น
อ่านจากทางซ้ายไปขวาหรือ
    ทางขวาไปซ้าย และอ่านจากด้านบนลงล่างหรือจากด้านล่าง
ขึ้นบน เป็นต้น

ตัวอย่างบาร์โค้ดแบบสแต๊ก
• เป็นแถบสีดำาและสีขาวเรียงตัวกันหลายๆ แถว แถวแนวตั้งและแนว
 นอน ซึ่งประกอบด้วย 3 ถึง 90
    แถว และ 1 ถึง 30 คอลัมน์ สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 2,710
 ตัวเลข 1,850 ตัวอักษร หรือคันจิ
    554 ตัวอักษร
 • เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะสามารถอ่านได้ในทิศทางเดียว เช่น อ่านจาก
 ทางซ้ายไปขวาหรือทางขวาไปซ้าย
    และอ่านจากด้านบนลงล่างหรือจากด้านล่างขึ้นบน
 • โดยส่วนใหญ่บาร์โค้ดแบบ PDF417 จะนำาไปใช้กับงานที่ต้องการ
 ความละเอียด และถูกต้องมากเป็น
     พิเศษ




                        แสดงส่วนประกอบของบาร์โค้ด 2 มิติแบบ PDF4
ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ PDF417
2. บาร์โค้ดแบบเมตริกซ์ (Matrix Barcode)

• มีลักษณะหลากหลายและมีความเป็นสองมิติมากกว่าบาร์โค้ด
แบบแสต็กที่เหมือนนำาบาร์โค้ด 1
     มิติไปซ้อนกัน
• ลักษณะเด่นของบาร์โค้ดแบบเมตริกซ์คือมีรูปแบบค้นหา (Finder
Pattern) ทำาหน้าที่เป็นตัวอ้างอิง
     ตำาแหน่งในการอ่านและถอดรหัสข้อมูล
• ตัวอย่างบาร์โค้อมูลได้รวดเร็ซ์และสามารถอ่านบาร์โค้ดได้แม้บาร์
    ช่วยให้อ่านข้ ดแบบเมตริก ว
โค้ดเอียง โค้ดแบบอกลับหัว
  2.1 บาร์ หมุน หรื MaxiCode




           ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ MaxiCode
2.1 บาร์โค้ดแบบ MaxiCode (ต่อ)

• MaxiCode เป็นบาร์โค้ด 2 มิติแบบเมตริกซ์ ซึ่งพัฒนาโดย
บริษัท Oniplanar และนำาไปใช้โดย
   บริษัท ขนส่ง UPS (United Parcel Service)ประเทศ
สหรัฐอเมริกาในปี 2530
• ลักษณะบาร์โค้ดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาด 1.11 x 1.054 นิ้วส่วน
แทนรหัสข้อมูลมีลักษณะเป็นรูปหก
    เหลี่ยมทั้งหมด 866 โมดูล เรียงตัวกันใน 33 แถวรอบรูปแบบ
ค้นหา
• รูปแบบค้นหาของ MaxiCode มีลักษณะเป็นวงกลมซ้อนกันสาม
วงอยู่กลาง
   บาร์โค้ด MaxiCode
• สามารถบรรจุข้อมูลได้ 138 ตัวเลขหรือ 93 ตัวอักษร
• ถูกออกแบบให้สามารถอ่านได้อย่างรวดเร็ว จึงนำาไปประยุกต์ใช้
กับงานที่
    ต้องการความเร็วในการอ่านสูงเป็นส่วนใหญ่
2.2 บาร์โค้ดแบบ Data Matrix




           ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ Data Matrix

• Data Matrix ถูกพัฒนาโดยบริษัท RVSI Acuity CiMatrix
ประเทศสหรัฐอเมริกาเมือปี 2532
                        ่
• ลักษณะบาร์โค้ดมีทั้งรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสและสี่เหลี่ยมผืนผ้า
• สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 3,116 ตัวเลขหรือ 2,355 ตัว
อักษร แต่สำาหรับข้อมูล
    ประเภทอื่นได้แก่ขอมูลเลขฐานสองบรรจุได้ 1,556 ไบต์ (1 ไบต์
                      ้
เท่ากับเลขฐานสอง 8 หลัก) และ
    ตัวอักษรภาษาญีปุ่นบรรจุได้ 778 ตัวอักษร
                    ่
• รูปแบบค้นหาของบาร์โค้ดแบบ Data Matrix อยู่ที่ตำาแหน่งขอบ
ซ้ายและด้านล่างของบาร์โค้ด
• บาร์โค้ด Data Matrix ส่วนใหญ่ใช้ในงานที่มีพื้นที่จำากัดและต้อ
2.3 บาร์โค็ดแบบ QR Code (Quick Response Code)




             ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ QR Code

• QR Code เป็นบาร์โค้ด 2 มิติแบบเมตริกซ์ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย
บริษัท Nippon Denso ประเทศญีปุ่นใน
                               ่
   ปี 2537
• ลักษณะของบาร์โค้ดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สามารถบรรจุข้อมูลได้
มากที่สุด 7,089 ตัวเลขหรือ 4,296
   ตัวอักษร ข้อมูลเลขฐานสอง 2,953 ไบต์ และตัวอักษรญี่
   ปุ่น 1,817 ตัวอักษร
• รูปแบบค้นหาของ QR Code อยู่ที่มมทั้งสามของบาร์โค้ด คือ มุม
                                    ุ
ซ้ายบน มุมซ้ายล่าง และมุมขวา
   บน QR Code
ระบบบาร์โค้ดแบบสองมิติ (2D
Barcode)

• ระบบบาร์โค้ดแบบสองมิติ เป็น
ผลผลิตของบริษัท
    ของญีปุ่น ชื่อว่า Denso-Wave
           ่
คิดขึ้นในปี พ.ศ.
    2537
• ต่อมาได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
จนมีลักษณะที่
    แตกต่างกัน 5 แบบ
ตารางแสดงลักษณะและคุณสมบัติของบาร์โค้ด
สองมิติในแต่ละประเภท
                            DATA         MAXI                      AZTEC
               PDF417                                QR CODE
                           MATRIX        CODE                      CODE

                                                              Han Held
   ผู้พัฒนา     Symbol     CI Matrix
                                         UPS ()      DENSO () Products
  (ประเทศ)         ()         ()
                 Multi-                                          ()
  ชนิดโค้ด                  Matrix       Matrix       Matrix   Matrix
ขนาดความจุ        low
    ข้อมูล
                 1,850      2,355          93         4,296         3,067
(ตัวอักษรและ
   ตัวเลข)
               - ความจุ
                      - ความจุ         -อ่านข้อมูล - ความจุ       -ความจุ
  ลักษณะ       ข้อมูลสูง
                      ข้อมูลสูง        ได้อย่าง    ข้อมูลสูง      ข้อมูลสูง
   เฉพาะ              - ขนาด           รวดเร็ว     - ขนาดเล็ก
                      เล็ก                         - อ่านข้อมูล
            -         -โรงงาน          -           -
                                                   ได้อย่าง       -
การประยุกต์ สำานักงาน -                อุตสาหกรร รวดเร็ว
                                                   อุตสาหกรร      อุตสาหกร
     ใช้              อุตสาหกรร        มขนส่ง      มทุก           รมการบิน
                      มทางการ          สินค้า นำา  ประเภท         -
 มาตรฐาน      -AIMI, แพทย์
                        -AIMI,         เข้า และส่ง
                                          -AIMI,      -AIMI,      อุตสาหกร
                                                                    - AIMI
การประยุกต์ใช้กับการท่อง
         เที่ยว
     • ประยุกต์ใช้ในด้านสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์
       สถานที่ท่องเที่ยว เช่น หนังสือพิมพ์ โปสเตอร์
       อินเทอร์เน็ต แผ่นพับ หรือใบปลิว เป็นต้น มีการนำา
       บาร์โค้ดเข้ามาเป็นส่วนหนึงในสื่อโฆษณา เพื่อให้
                                  ่
       ผูพบเห็นเกิดความสนใจในสถานที่ทองเทียว และ
         ้                                ่     ่
       สามารถใช้มือถือที่มีกล้องอ่านบาร์โค้ดเพื่อเชื่อม
       ต่อลิงก์เข้าสู่เว็บไซต์ได้

     • การนำาบาร์โค้ดมาพิมพ์ลงบนนามบัตร นำาบาร์
       โค้ดมาใช้ในการบันทึกข้อมูลติดต่อลงมือถือ
       โดยตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งนามบัตรที่เกี่ยวกับ
       ทีพัก ผูที่ได้รับจะสามารถแสกนบาร์โค้ดแล้วลิงค์
         ่       ้                                ้
       เข้าสู่เว็บไซด์ได้เช่นกัน

     • เพือนำาทางมาสู่สถานที่ท่องเที่ยว สามารถ
          ่
ข้อดีของการใช้บาร์โค้ด


•   ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางาน
•   ประหยัดเวลา
•   ประหยัดทรัพยากรบุคคล
•   ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำางาน
•   ลดค่าใช้จาย
              ่
ปัญหาหรือภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นจากการ
             ใช้งานบาร์โค้ด 2 มิติ

การปลอมแปลง (Spoofing)

    เทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติได้รับความนิยมและมีการใช้งานอย่าง
แพรหลายจนอาจนำาบาร์โค้ด 2 มิตินี้มาใช้แทนนามบัตรในการให้
ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น อี-เมล์ หมายเลขโทรศัพท์มือถือ หรือชื่อ
เว็บไซต์ เป็นต้น การปลอมแปลงอาจเกิดขึ้นในลักษณะการปลอม
แปลงข้อมูลที่เข้ารหัสเป็นบาร์โค้ด 2มิติด้วยค่าที่ผิดๆเช่น
• เว็บไซต์ปลอมที่แฮกเกอร์ตั้งขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงชื่อเพียงเล็ก
น้อยจากเว็บไซต์จริง (ตัวอย่างการใช้
     ชื่อเว็บไซต์ www.thalcert.org แทน www.thaicert.org)
• ชื่อเว็บไซต์ปลอมที่ยาวเกินขนาดช่องที่หน้าจอโทรศัพท์มือถือ จน
การตรวจสอบทำาได้ยาก เป็นต้น
• การปลอมแปลงที่อาศัยข้อจำากัดของโทรศัพท์มือถือที่จะแสดงแต่
หัวเรื่องเว็บไซต์ (Title) ที่
    ถอดรหัสมาได้โดยไม่แสดงชือเว็บไซต์จริง (Uniform Resource
                                ่
Locators หรือ URL)
ฟิชชิ่ง (Phishing)

• ลักษณะฟิชชิงด้วยบาร์โค้ด 2 มิติที่อาจเกิดขึ้นคือ แฮกเกอร์ทำา
                 ่
การตั้งเว็บไซต์ปลอมขึนมาจากนั้นก็
                        ้
    สร้างบาร์โค้ด 2 มิติที่บรรจุชื่อเว็บไซต์ปลอมแนบไปพร้อมกับใบ
ประกาศหรือสื่อต่างๆโดย
    ข้อความในใบประกาศหรือสื่อต่างๆนั้น อาจบอกให้ต้องเข้าไป
เว็บไซต์ปลอมดังกล่าวเพื่ออัพเดต
    ข้อมูลหรือขอรับบริการกับทางบริษัท
• เมื่อเหยื่อทำาการเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ปลอม ข้อมูลของโทรศัพท์
มือถือของเหยื่อ เช่น หมายเลข
   โทรศัพทมือถือ รุ่นหรือ ยีห้อของโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น จะถูกส่ง
                             ่
โดยอัตโนมัติไปพร้อมกับข้อมูล
   ส่วนต้น (Header) ในการเชื่อมต่อกับเซิร์ฟเวอร์และถ้าเหยือ่
กรอกข้อมูลความลับของตัวเองแล้ว
   ส่งกลับไป ก็จะทำาให้แฮกเกอร์ได้ข้อมูลความลับไปทั้งหมด
                           ภาพแสดงแบบจำาลองการโจมตีของฟิชชิ่ง
ข่าวไวรัสหลอกลวง (Hoax)

• โดยทั่วไปมักเป็นข้อความข่าวที่ส่งผ่านกันทางอี-เมล์ หรือห้อง
สนทนาต่างๆ เพือก่อความ
                    ่
    วุ่นวายซึ่งข้อความเหล่านั้นไม่เป็นความจริงและไม่มอันตราย
                                                     ี
ตามที่ข้อความอ้างถึง แต่อาจมี
    บางข้อความที่สร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือเครื่องของผู้
หลงเชื่อไม่
• ข่าวไวรัสหลอกลวงเกี่ยวกับไฟล์ Jdbgmgr.EXE
• ข่าวไวรัสหลอกลวงเกี่ยวกับไฟล์ SULFNBK.EXE ที่หลอกลวง
ให้ผู้ใช้ที่หลงเชือลบไฟล์ที่
                  ่
    จำาเป็นต่อการทำางานของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ทิ้ง
• อาจเป็นข้อความของข่าวไวรัสหลอกลวงเอง หลอกลวงที่เป็น
อันตรายซึ่งอาจเกิดขึ้น เช่น

     1) โฆษณาในหน้าหนังสือพิมพ์ “รวมเทคนิค เคล็ดลับสำาห
รับโทรศัพท์มือถือ” -- ข้อความในบาร์โค้ด 2 มิติ “ลดค่าใช้บริการ
โทรศัพท์ต่อครั้งมากสุด 80% กด *#XXXX#” โดย *#XXXX#
มาลแวร์ (Malicious Software หรือ Malware)

• ในปี 2547 เริ่มมีการแพร่กระจายของมาลแวร์บนโทรศัพท์มือถือ
ในรูปแบบต่างๆ
• ส่วนมากจะเป็นพวกโทรจัน เช่น โทรจันที่ทำาการเปลี่ยนไอคอน
บนหน้าจอเครืองโทรศัพท์มือถือ
              ่
    โทรจันที่ส่งตัวเองออกทางบลูทูธ (Bluetooth)
• มีข้อจำากัดอย่างเช่นต้องเปิดการใช้งานบลูทูธ รองรับบริการส่ง
ข้อความมัลติมีเดีย (Multimedia
    Messaging Serviceหรือ MMS)หรือต้องรู้ที่อยู่เว็บไซต์ที่จะ
ดาวน์โหลดข้อมูล (ที่ไม่รู้ว่าเป็นมาล
    แวร์) เป็นต้น
• มีการแพร่กระจายมีอยูในวงที่จากัด แต่หากมีเทคโนโลยีของ
                             ่      ำ
บาร์โค้ด 2 มิติ การแพร่กระจายของ
    มาลแวร์บนโทรศัพท์มือถืออาจขยายวงกว้างขึ้นเทียบเท่า
มาลแวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปได้


        ตัวอย่างวิธีการแพร่กระจาย บาร์โค้ด 2 มิติของมาลแวร์
วิธีการป้องกันภัยคุกคามจากบาร์โค้ด 2 มิติ

1. ตรวจสอบแหล่งที่มาของบาร์โค้ดให้แน่ใจก่อนทำาการถอดรหัส
ทุกครั้ง
2. ใช้โปรแกรมในการถอดรหัสจากผู้ให้บริการหรือแหล่งที่น่า
เชื่อถือ
3. ปิดโปรแกรมถอดรหัสบาร์โค้ด 2 มิติทุกครั้งหลังการใช้งาน
เนื่องจากหากนำากล้องผ่าน
   บาร์โค้ดโดยไม่ตั้งใจ อาจทำาให้เกิดการเชื่อมต่ออัตโนมัติโดยที่
ผู้ใช้งานไม่รู้ตัว
4. หลังจากที่ถอดรหัสได้แล้ว ควรตรวจสอบข้อมูลที่ได้ให้ครบ
ถ้วนก่อน เช่น ชื่อเว็บไซต์ เป็นต้น
5. ไม่ควรเข้าเว็บไซต์ที่ได้จากการถอดรหัสบาร์โค้ดที่ไม่ทราบ
แหล่งที่มา หรือเว็บไซต์ที่ไม่น่า
   ไว้วางใจ
6. ระงับการดาวน์โหลดหรือติดตั้งโปรแกรม ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา
หรือมีที่มาที่ไม่น่าไว้วางใจ
ข้อเสนอแนะ



• บาร์โค้ดสองมิตินั้นมีทั้งข้อดีและข้อเสียอยูในตัวเอง ผู้ใช้งาน
                                             ่
ควรพิจารณาในการเลือกใช้ให้
   เป็นไปในทางที่ถูกต้อง
• จำาเป็นหาแนวทางในการป้องกันภัยคุกคามต่างๆที่จะเกิดขึ้น
เรียกได้ว่า
   ต้องมีความรอบคอบเป็นอย่างมากในการใช้งานเพราะปัจจุบัน
บาร์โค้ด
   สองมิติได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำาวันของ
มนุษย์ เรียกได้
   ว่าสามารถพบเห็นได้ทั่วไป เช่น การสแกนบาร์โค้ดสินค้าต่างๆ
เป็นต้น
อ้างอิง


• http://r64.wikidot.com/qr-code
• http://www.nstda.or.th/nstda-
knowledge/2866-2d-barcode
• https://docs.google.com/viewer?
a=v&q=cache:HQkn8mdz8LEJ:seminar-

anucha.googlecode.com/svn/trunk-5210121
097.doc
•
http://muangchum.blogspot.com/2010/08/
2-assignment1.html
จัดทำาโดย


52020024   นางสาวเสาวลักษณ์ ทองปลื้ม   มส.สารสนเทศศึกษา
52020329   นางสาวกรรณิกาย์ พรหมณี      มส.สารสนเทศศึกษา
52020571   นางสาวณัฐธิดา    คล้ายสุขโข    มส.สารสนเทศศึกษา
52020574   นางสาวธนัฎฐา     วัฒนศิริ    มส.สารสนเทศศึกษา
52020586   นายภูริต      เนตรดี      มส.สารสนเทศศึกษา
52020590   นางสาวรทินี      กั้นปลูก   มส.สารสนเทศศึกษา

More Related Content

What's hot

01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ตSmo Tara
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1tanaterm
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technologytanaterm
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technologytanaterm
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technologytanaterm
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
วริทธิ์ ลิ้มรุ่งเรือง
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์peeyamas parjaitum
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
Samart Phetdee
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศYongyut Nintakan
 
Operation Management 01
Operation Management 01Operation Management 01
Operation Management 01
Chill Ochawin
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ Tong Thitiphong
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
Pungka' Oil
 

What's hot (14)

01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต
 
Homework 5
Homework 5Homework 5
Homework 5
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technology
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technology
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technology
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
Operation Management 01
Operation Management 01Operation Management 01
Operation Management 01
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ

Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2mod2may
 
Web Standard
Web StandardWeb Standard
Web Standard
Boonlert Aroonpiboon
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอทีpatcha01
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
Boonlert Aroonpiboon
 
TOR ICT66_20230313.pdf
TOR ICT66_20230313.pdfTOR ICT66_20230313.pdf
TOR ICT66_20230313.pdf
PawachMetharattanara
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
Boonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
TuaLek Kitkoot
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
Boonlert Aroonpiboon
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
Cookie Bomber
 
Web Accessibility Coding
Web Accessibility CodingWeb Accessibility Coding
Web Accessibility Coding
Boonlert Aroonpiboon
 
How to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive Project
How to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive ProjectHow to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive Project
How to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive Project
Rachabodin Suwannakanthi
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Radompon.com
 
09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูลteaw-sirinapa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjintara022
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารYui Yui
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPattama Poyangyuen
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
Rachabodin Suwannakanthi
 

Similar to IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ (20)

ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบันห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
 
Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2
 
Web Standard
Web StandardWeb Standard
Web Standard
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
TOR ICT66_20230313.pdf
TOR ICT66_20230313.pdfTOR ICT66_20230313.pdf
TOR ICT66_20230313.pdf
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต!
 
Web Accessibility Coding
Web Accessibility CodingWeb Accessibility Coding
Web Accessibility Coding
 
How to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive Project
How to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive ProjectHow to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive Project
How to Design Metadata Standard for NECTEC Digital Archive Project
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล09 การจัดการข้อมูล
09 การจัดการข้อมูล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 

IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ

  • 1. 61 สารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงส
  • 2. บาร์โค้ด 2 มิติ คือ อะไร ? • เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์ โค้ด 1 • บรรจุข้อมูลได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน • บรรจุข้อมูลมากได้ประมาณ 4,000 ตัว อักษรหรือประมาณ 200 เท่าของบาร์โค้ด 1 มิติในพื้นที่เท่ากัน • มีลักษณะเป็นแถบมีความหนา-บาง • การอ่านข้อมูลจะอาศัยหลักการสะท้อนแสง • เข้าไปเก็บใน คอมพิวเตอร์โดยตรง • ไม่ต้องผ่านการกดปุ่มที่แป้นพิมพ์ • ระบบ Barcode เป็นมาตรฐานสากลที่นิยม ใช้ทั่วโลก
  • 3. บาร์โค้ด 1 มิติ VS บาร์ โค้ด 2 มิติ Barcode 1 มิติ Barcode 2 มิติ • สัญลักษณ์รหัสแท่งที่ใช้แทน • พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 1 ข้อมูลตัวเลข มิติ • มีลักษณะเป็นแถบเส้นสีดำา • ออกแบบให้บรรจุข้อมูลได้ทั้ง สลับเส้นสีขาว แนวนอนและ • ใช้แทนรหัสตัวเลขหรือตัว แนวตั้ง อักษร • บรรจุข้อมูลได้ 4,000 ตัว • บรรจุข้อมูลได้ประมาณ 20 ตัว อักษร จากเดิม 200 อักษร เท่าในพื้นที่เท่ากันหรือเล็ก •พบทั่วไปที่ซเปอร์มาร์เกต ห้าง ู กว่า สรรพสินค้า • ข้อมูลที่บรรจุนั้นสามารถใช้ หรือบนหนังสือต่างๆ ภาษาอื่นนอกจาก ภาษาอังกฤษ เช่น ภาษาญีปุ่น ่
  • 4. ความเป็นมา • บาร์โค้ดสองมิตินับเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ถูกคิดค้น โดยบริษัท ของญีปุ่น ชือว่า Denso-Wave ่ ่ ในปี พ.ศ. 2537 • มีลักษณะพื้นฐานเป็นเพียงรูปภาพสองมิติที่ใช้แถบสีขาวดำา แทนข้อความ หรือข้อมูลที่มี ความหลากหลายได้ถึง 4,296 - 7,089 ตัวอักษร • ปัจจุบันมีการนำาบาร์โค้ดสองมิติมาประยุกต์ใช้งานอย่างแพร่ หลาย เนื่องจากความง่ายและ สะดวกในการเข้ารหัสเพื่อให้ข้อมูลที่ต้องการอยูในรูปแบบ ่ บาร์โค้ด หรือการถอดรหัสจาก บาร์โค้ดเป็นข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ทั่วไปหรือโทรศัพท์มือ ถือ ที่มีกล้องดิจตอลและโปรแกรมถอดรหัสซึ่งสามารถหามาติด ิ ตั้งได้ฟรี
  • 5. คุณสมบัติของบาร์โค้ด 2 มิติ • มีความสามารถในการเก็บข้อมูลได้มากกว่า * บาร์โค้ด 2 มิติสามารถพิมพ์ในพื้นที่ว่างขนาดเล็กได้ ขณะที่บาร์ โค้ดแบบเดิมทำาไม่ได้ • สามารถบันทึกข้อมูลได้มาก * ประสิทธิภาพในการรองรับการบันทึกข้อมูลได้มากถึง 1 KB. หรือประมาณ 7,000 ตัวอักษร • สามารถพิมพ์โค้ดลงไปที่ชนงานโดยตรงได้ ิ้ * พิมพ์ข้อมูลด้วยการใช้เลเซอร์เจาะลงไปบนผิวเหล็กตามรูปร่าง ของบาร์โค้ดที่ต้องการได้โดยตรง • ฟังก์ชั่นการตรวจแก้ไขข้อผิดพลาดเพื่อป้องกันการสูญหายของ ข้อมูลจากการขูดขีด * กรณีบาร์โค้ดมีรอยขูดขีดหรือชำารุด สามารถเรียกรหัสเข้าไป ใหม่ได้ด้วยฟังก์ชั่นการตรวจแก้ไข ข้อผิดพลาด * สามารถติดตั้งฟังก์ชั่นการตรวจแก้ไขข้อผิดพลาดขณะป้อนรหัส เมือตั้งค่าไว้แล้วสามารถป้อน ่
  • 6. ประเภทของบาร์โค้ด 2 มิติ บาร์โค้ด 2 มิติ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. บาร์โค้ดแบบสแต็ก (Stacked Barcode) • มีลักษณะคล้ายกับการนำาบาร์โค้ด 1 มิติมาวางซ้อนกันหลาย แถว • มีการทำางานโดยอ่านภาพถ่ายบาร์โค้ดแล้วปรับความกว้างของ บาร์โค้ดก่อนทำาการถอดรหัส ซึ่ง การปรับความกว้างนี้ทำาให้สามารถถอดรหัสจากภาพที่เสีย หายบางส่วนได้ โดยส่วนที่เสียหาย นั้นต้องไม่เสียหายเกินขีดจำากัดหนึ่งที่กำาหนดไว้ • การอ่านบาร์โค้ดแบบสแต็กสามารถอ่านได้ทิศทางเดียว เช่น อ่านจากทางซ้ายไปขวาหรือ ทางขวาไปซ้าย และอ่านจากด้านบนลงล่างหรือจากด้านล่าง ขึ้นบน เป็นต้น ตัวอย่างบาร์โค้ดแบบสแต๊ก
  • 7. • เป็นแถบสีดำาและสีขาวเรียงตัวกันหลายๆ แถว แถวแนวตั้งและแนว นอน ซึ่งประกอบด้วย 3 ถึง 90 แถว และ 1 ถึง 30 คอลัมน์ สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 2,710 ตัวเลข 1,850 ตัวอักษร หรือคันจิ 554 ตัวอักษร • เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะสามารถอ่านได้ในทิศทางเดียว เช่น อ่านจาก ทางซ้ายไปขวาหรือทางขวาไปซ้าย และอ่านจากด้านบนลงล่างหรือจากด้านล่างขึ้นบน • โดยส่วนใหญ่บาร์โค้ดแบบ PDF417 จะนำาไปใช้กับงานที่ต้องการ ความละเอียด และถูกต้องมากเป็น พิเศษ แสดงส่วนประกอบของบาร์โค้ด 2 มิติแบบ PDF4 ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ PDF417
  • 8. 2. บาร์โค้ดแบบเมตริกซ์ (Matrix Barcode) • มีลักษณะหลากหลายและมีความเป็นสองมิติมากกว่าบาร์โค้ด แบบแสต็กที่เหมือนนำาบาร์โค้ด 1 มิติไปซ้อนกัน • ลักษณะเด่นของบาร์โค้ดแบบเมตริกซ์คือมีรูปแบบค้นหา (Finder Pattern) ทำาหน้าที่เป็นตัวอ้างอิง ตำาแหน่งในการอ่านและถอดรหัสข้อมูล • ตัวอย่างบาร์โค้อมูลได้รวดเร็ซ์และสามารถอ่านบาร์โค้ดได้แม้บาร์ ช่วยให้อ่านข้ ดแบบเมตริก ว โค้ดเอียง โค้ดแบบอกลับหัว 2.1 บาร์ หมุน หรื MaxiCode ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ MaxiCode
  • 9. 2.1 บาร์โค้ดแบบ MaxiCode (ต่อ) • MaxiCode เป็นบาร์โค้ด 2 มิติแบบเมตริกซ์ ซึ่งพัฒนาโดย บริษัท Oniplanar และนำาไปใช้โดย บริษัท ขนส่ง UPS (United Parcel Service)ประเทศ สหรัฐอเมริกาในปี 2530 • ลักษณะบาร์โค้ดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาด 1.11 x 1.054 นิ้วส่วน แทนรหัสข้อมูลมีลักษณะเป็นรูปหก เหลี่ยมทั้งหมด 866 โมดูล เรียงตัวกันใน 33 แถวรอบรูปแบบ ค้นหา • รูปแบบค้นหาของ MaxiCode มีลักษณะเป็นวงกลมซ้อนกันสาม วงอยู่กลาง บาร์โค้ด MaxiCode • สามารถบรรจุข้อมูลได้ 138 ตัวเลขหรือ 93 ตัวอักษร • ถูกออกแบบให้สามารถอ่านได้อย่างรวดเร็ว จึงนำาไปประยุกต์ใช้ กับงานที่ ต้องการความเร็วในการอ่านสูงเป็นส่วนใหญ่
  • 10. 2.2 บาร์โค้ดแบบ Data Matrix ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ Data Matrix • Data Matrix ถูกพัฒนาโดยบริษัท RVSI Acuity CiMatrix ประเทศสหรัฐอเมริกาเมือปี 2532 ่ • ลักษณะบาร์โค้ดมีทั้งรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสและสี่เหลี่ยมผืนผ้า • สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 3,116 ตัวเลขหรือ 2,355 ตัว อักษร แต่สำาหรับข้อมูล ประเภทอื่นได้แก่ขอมูลเลขฐานสองบรรจุได้ 1,556 ไบต์ (1 ไบต์ ้ เท่ากับเลขฐานสอง 8 หลัก) และ ตัวอักษรภาษาญีปุ่นบรรจุได้ 778 ตัวอักษร ่ • รูปแบบค้นหาของบาร์โค้ดแบบ Data Matrix อยู่ที่ตำาแหน่งขอบ ซ้ายและด้านล่างของบาร์โค้ด • บาร์โค้ด Data Matrix ส่วนใหญ่ใช้ในงานที่มีพื้นที่จำากัดและต้อ
  • 11. 2.3 บาร์โค็ดแบบ QR Code (Quick Response Code) ภาพแสดงบาร์โค้ด 2 มิติแบบ QR Code • QR Code เป็นบาร์โค้ด 2 มิติแบบเมตริกซ์ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย บริษัท Nippon Denso ประเทศญีปุ่นใน ่ ปี 2537 • ลักษณะของบาร์โค้ดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สามารถบรรจุข้อมูลได้ มากที่สุด 7,089 ตัวเลขหรือ 4,296 ตัวอักษร ข้อมูลเลขฐานสอง 2,953 ไบต์ และตัวอักษรญี่ ปุ่น 1,817 ตัวอักษร • รูปแบบค้นหาของ QR Code อยู่ที่มมทั้งสามของบาร์โค้ด คือ มุม ุ ซ้ายบน มุมซ้ายล่าง และมุมขวา บน QR Code
  • 12. ระบบบาร์โค้ดแบบสองมิติ (2D Barcode) • ระบบบาร์โค้ดแบบสองมิติ เป็น ผลผลิตของบริษัท ของญีปุ่น ชื่อว่า Denso-Wave ่ คิดขึ้นในปี พ.ศ. 2537 • ต่อมาได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนมีลักษณะที่ แตกต่างกัน 5 แบบ
  • 13. ตารางแสดงลักษณะและคุณสมบัติของบาร์โค้ด สองมิติในแต่ละประเภท DATA MAXI AZTEC PDF417 QR CODE MATRIX CODE CODE Han Held ผู้พัฒนา Symbol CI Matrix UPS () DENSO () Products (ประเทศ) () () Multi- () ชนิดโค้ด Matrix Matrix Matrix Matrix ขนาดความจุ low ข้อมูล 1,850 2,355 93 4,296 3,067 (ตัวอักษรและ ตัวเลข) - ความจุ - ความจุ -อ่านข้อมูล - ความจุ -ความจุ ลักษณะ ข้อมูลสูง ข้อมูลสูง ได้อย่าง ข้อมูลสูง ข้อมูลสูง เฉพาะ - ขนาด รวดเร็ว - ขนาดเล็ก เล็ก - อ่านข้อมูล - -โรงงาน - - ได้อย่าง - การประยุกต์ สำานักงาน - อุตสาหกรร รวดเร็ว อุตสาหกรร อุตสาหกร ใช้ อุตสาหกรร มขนส่ง มทุก รมการบิน มทางการ สินค้า นำา ประเภท - มาตรฐาน -AIMI, แพทย์ -AIMI, เข้า และส่ง -AIMI, -AIMI, อุตสาหกร - AIMI
  • 14. การประยุกต์ใช้กับการท่อง เที่ยว • ประยุกต์ใช้ในด้านสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ สถานที่ท่องเที่ยว เช่น หนังสือพิมพ์ โปสเตอร์ อินเทอร์เน็ต แผ่นพับ หรือใบปลิว เป็นต้น มีการนำา บาร์โค้ดเข้ามาเป็นส่วนหนึงในสื่อโฆษณา เพื่อให้ ่ ผูพบเห็นเกิดความสนใจในสถานที่ทองเทียว และ ้ ่ ่ สามารถใช้มือถือที่มีกล้องอ่านบาร์โค้ดเพื่อเชื่อม ต่อลิงก์เข้าสู่เว็บไซต์ได้ • การนำาบาร์โค้ดมาพิมพ์ลงบนนามบัตร นำาบาร์ โค้ดมาใช้ในการบันทึกข้อมูลติดต่อลงมือถือ โดยตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งนามบัตรที่เกี่ยวกับ ทีพัก ผูที่ได้รับจะสามารถแสกนบาร์โค้ดแล้วลิงค์ ่ ้ ้ เข้าสู่เว็บไซด์ได้เช่นกัน • เพือนำาทางมาสู่สถานที่ท่องเที่ยว สามารถ ่
  • 15.
  • 16. ข้อดีของการใช้บาร์โค้ด • ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางาน • ประหยัดเวลา • ประหยัดทรัพยากรบุคคล • ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำางาน • ลดค่าใช้จาย ่
  • 17. ปัญหาหรือภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นจากการ ใช้งานบาร์โค้ด 2 มิติ การปลอมแปลง (Spoofing) เทคโนโลยีบาร์โค้ด 2 มิติได้รับความนิยมและมีการใช้งานอย่าง แพรหลายจนอาจนำาบาร์โค้ด 2 มิตินี้มาใช้แทนนามบัตรในการให้ ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น อี-เมล์ หมายเลขโทรศัพท์มือถือ หรือชื่อ เว็บไซต์ เป็นต้น การปลอมแปลงอาจเกิดขึ้นในลักษณะการปลอม แปลงข้อมูลที่เข้ารหัสเป็นบาร์โค้ด 2มิติด้วยค่าที่ผิดๆเช่น • เว็บไซต์ปลอมที่แฮกเกอร์ตั้งขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงชื่อเพียงเล็ก น้อยจากเว็บไซต์จริง (ตัวอย่างการใช้ ชื่อเว็บไซต์ www.thalcert.org แทน www.thaicert.org) • ชื่อเว็บไซต์ปลอมที่ยาวเกินขนาดช่องที่หน้าจอโทรศัพท์มือถือ จน การตรวจสอบทำาได้ยาก เป็นต้น • การปลอมแปลงที่อาศัยข้อจำากัดของโทรศัพท์มือถือที่จะแสดงแต่ หัวเรื่องเว็บไซต์ (Title) ที่ ถอดรหัสมาได้โดยไม่แสดงชือเว็บไซต์จริง (Uniform Resource ่ Locators หรือ URL)
  • 18. ฟิชชิ่ง (Phishing) • ลักษณะฟิชชิงด้วยบาร์โค้ด 2 มิติที่อาจเกิดขึ้นคือ แฮกเกอร์ทำา ่ การตั้งเว็บไซต์ปลอมขึนมาจากนั้นก็ ้ สร้างบาร์โค้ด 2 มิติที่บรรจุชื่อเว็บไซต์ปลอมแนบไปพร้อมกับใบ ประกาศหรือสื่อต่างๆโดย ข้อความในใบประกาศหรือสื่อต่างๆนั้น อาจบอกให้ต้องเข้าไป เว็บไซต์ปลอมดังกล่าวเพื่ออัพเดต ข้อมูลหรือขอรับบริการกับทางบริษัท • เมื่อเหยื่อทำาการเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ปลอม ข้อมูลของโทรศัพท์ มือถือของเหยื่อ เช่น หมายเลข โทรศัพทมือถือ รุ่นหรือ ยีห้อของโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น จะถูกส่ง ่ โดยอัตโนมัติไปพร้อมกับข้อมูล ส่วนต้น (Header) ในการเชื่อมต่อกับเซิร์ฟเวอร์และถ้าเหยือ่ กรอกข้อมูลความลับของตัวเองแล้ว ส่งกลับไป ก็จะทำาให้แฮกเกอร์ได้ข้อมูลความลับไปทั้งหมด ภาพแสดงแบบจำาลองการโจมตีของฟิชชิ่ง
  • 19. ข่าวไวรัสหลอกลวง (Hoax) • โดยทั่วไปมักเป็นข้อความข่าวที่ส่งผ่านกันทางอี-เมล์ หรือห้อง สนทนาต่างๆ เพือก่อความ ่ วุ่นวายซึ่งข้อความเหล่านั้นไม่เป็นความจริงและไม่มอันตราย ี ตามที่ข้อความอ้างถึง แต่อาจมี บางข้อความที่สร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือเครื่องของผู้ หลงเชื่อไม่ • ข่าวไวรัสหลอกลวงเกี่ยวกับไฟล์ Jdbgmgr.EXE • ข่าวไวรัสหลอกลวงเกี่ยวกับไฟล์ SULFNBK.EXE ที่หลอกลวง ให้ผู้ใช้ที่หลงเชือลบไฟล์ที่ ่ จำาเป็นต่อการทำางานของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ทิ้ง • อาจเป็นข้อความของข่าวไวรัสหลอกลวงเอง หลอกลวงที่เป็น อันตรายซึ่งอาจเกิดขึ้น เช่น 1) โฆษณาในหน้าหนังสือพิมพ์ “รวมเทคนิค เคล็ดลับสำาห รับโทรศัพท์มือถือ” -- ข้อความในบาร์โค้ด 2 มิติ “ลดค่าใช้บริการ โทรศัพท์ต่อครั้งมากสุด 80% กด *#XXXX#” โดย *#XXXX#
  • 20. มาลแวร์ (Malicious Software หรือ Malware) • ในปี 2547 เริ่มมีการแพร่กระจายของมาลแวร์บนโทรศัพท์มือถือ ในรูปแบบต่างๆ • ส่วนมากจะเป็นพวกโทรจัน เช่น โทรจันที่ทำาการเปลี่ยนไอคอน บนหน้าจอเครืองโทรศัพท์มือถือ ่ โทรจันที่ส่งตัวเองออกทางบลูทูธ (Bluetooth) • มีข้อจำากัดอย่างเช่นต้องเปิดการใช้งานบลูทูธ รองรับบริการส่ง ข้อความมัลติมีเดีย (Multimedia Messaging Serviceหรือ MMS)หรือต้องรู้ที่อยู่เว็บไซต์ที่จะ ดาวน์โหลดข้อมูล (ที่ไม่รู้ว่าเป็นมาล แวร์) เป็นต้น • มีการแพร่กระจายมีอยูในวงที่จากัด แต่หากมีเทคโนโลยีของ ่ ำ บาร์โค้ด 2 มิติ การแพร่กระจายของ มาลแวร์บนโทรศัพท์มือถืออาจขยายวงกว้างขึ้นเทียบเท่า มาลแวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปได้ ตัวอย่างวิธีการแพร่กระจาย บาร์โค้ด 2 มิติของมาลแวร์
  • 21. วิธีการป้องกันภัยคุกคามจากบาร์โค้ด 2 มิติ 1. ตรวจสอบแหล่งที่มาของบาร์โค้ดให้แน่ใจก่อนทำาการถอดรหัส ทุกครั้ง 2. ใช้โปรแกรมในการถอดรหัสจากผู้ให้บริการหรือแหล่งที่น่า เชื่อถือ 3. ปิดโปรแกรมถอดรหัสบาร์โค้ด 2 มิติทุกครั้งหลังการใช้งาน เนื่องจากหากนำากล้องผ่าน บาร์โค้ดโดยไม่ตั้งใจ อาจทำาให้เกิดการเชื่อมต่ออัตโนมัติโดยที่ ผู้ใช้งานไม่รู้ตัว 4. หลังจากที่ถอดรหัสได้แล้ว ควรตรวจสอบข้อมูลที่ได้ให้ครบ ถ้วนก่อน เช่น ชื่อเว็บไซต์ เป็นต้น 5. ไม่ควรเข้าเว็บไซต์ที่ได้จากการถอดรหัสบาร์โค้ดที่ไม่ทราบ แหล่งที่มา หรือเว็บไซต์ที่ไม่น่า ไว้วางใจ 6. ระงับการดาวน์โหลดหรือติดตั้งโปรแกรม ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา หรือมีที่มาที่ไม่น่าไว้วางใจ
  • 22. ข้อเสนอแนะ • บาร์โค้ดสองมิตินั้นมีทั้งข้อดีและข้อเสียอยูในตัวเอง ผู้ใช้งาน ่ ควรพิจารณาในการเลือกใช้ให้ เป็นไปในทางที่ถูกต้อง • จำาเป็นหาแนวทางในการป้องกันภัยคุกคามต่างๆที่จะเกิดขึ้น เรียกได้ว่า ต้องมีความรอบคอบเป็นอย่างมากในการใช้งานเพราะปัจจุบัน บาร์โค้ด สองมิติได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำาวันของ มนุษย์ เรียกได้ ว่าสามารถพบเห็นได้ทั่วไป เช่น การสแกนบาร์โค้ดสินค้าต่างๆ เป็นต้น
  • 23. อ้างอิง • http://r64.wikidot.com/qr-code • http://www.nstda.or.th/nstda- knowledge/2866-2d-barcode • https://docs.google.com/viewer? a=v&q=cache:HQkn8mdz8LEJ:seminar- anucha.googlecode.com/svn/trunk-5210121 097.doc • http://muangchum.blogspot.com/2010/08/ 2-assignment1.html
  • 24. จัดทำาโดย 52020024 นางสาวเสาวลักษณ์ ทองปลื้ม มส.สารสนเทศศึกษา 52020329 นางสาวกรรณิกาย์ พรหมณี มส.สารสนเทศศึกษา 52020571 นางสาวณัฐธิดา คล้ายสุขโข มส.สารสนเทศศึกษา 52020574 นางสาวธนัฎฐา วัฒนศิริ มส.สารสนเทศศึกษา 52020586 นายภูริต เนตรดี มส.สารสนเทศศึกษา 52020590 นางสาวรทินี กั้นปลูก มส.สารสนเทศศึกษา