SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
1
โครงการ “หนองพลวงห่วงใย ผู้สูงวัยแข็งแฮง”
หลักการและเหตุผลในการจัดทาโครงการ
“บ้านหนองพลวง หมู่ที่ 5 ต.หนองพลวง อ.ประทาย จ.นครราชสีมา” เป็นพื้นที่เป้าหมายในการจัดทา
โครงการ มีข้อมูลพื้นฐานชุมชน ดังนี้
1.จานวนครัวเรือนและประชากรในชุมชน จานวนทั้งหมด 104 ครัวเรือน ประชากรรวมประมาณ
657 คน ในจานวนนี้ แบ่งออกเป็น กลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจานวน 80 คน จานวนผู้มีวัยระหว่าง 51-
59 ปี ประมาณ 50 คน พ่อบ้าน แม่บ้าน วัยแรงงานประมาณ 350 คน ส่วนที่เหลือเป็นวัยเด็กและเยาวชน อายุ
ไม่เกิน 25 ปี
2.ด้านอาชีพและรายได้ อาชีพหลักของชุมชน คือ การเกษตรกรรม ทานา ปลูกผัก ซึ่งมากกว่าร้อยละ
95 เป็นการทาเกษตรเชิงเดี่ยว ใช้สารเคมีทางการเกษตร ทาให้เกษตรกรประสบปัญหาหนี้สินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า
20,000 ต่อครัวเรือน และส่งผลต่อสภาพความเป็นกรดและการปนเปื้อนสารเคมีในดิน และต่อผู้บริโภค
3.ด้านศาสนา ในชุมชนมีศาสนสถาน 2 แห่ง คือ วัดบ้านหนองพลวง ทางพุทธศาสนา และวัด
คาทอลิกบ้านหนองพลวง ทางคริสตศาสนา โดยมีประชากรที่นับถือศาสนาพุทธประมาณร้อยละ 65 และที่ตั้ง
ของศาสนสถานห่างกันประมาณ 100 เมตร ซึ่งต่างให้การอบรมด้านศีลธรรมและปฏิบัติพิธีกรรม อยู่ร่วมกัน
อย่างสันติ สามัคคี
4.สถานที่สาคัญอื่น ๆ ในชุมชน ประกอบด้วย 1.ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 2.องค์การ
บริหารส่วนตาบลหนองพลวง ซึ่งตั้งอยู่ในรั้วเดียวกัน และ 3.สถานีอนามัยตาบลหนองพลวง ตั้งอยู่ห่าง
ออกไปจากชุมชนประมาณ 500 เมตร
ทั้งนี้ หากพิจารณาจากข้อมูลพื้นฐานดังกล่าวพบว่าชุมชนมีลักษณะคล้ายคลึงกับชุมชนในภูมิภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือทั่ว ๆ ไป อย่างไรก็ดี จากการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของกลุ่ม อสม. ประจาชุมชน
พบว่าปัจจุบันบ้านหนองพลวงกาลังเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพ และคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ
กล่าวคือ
1.สถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ ปัจจุบันจานวนผู้สูงอายุและวัย
เตรียมสู่วัยสูงอายุ ที่มีอายุระหว่าง 51-59 ปี มีจานวนรวมกันทั้งสิ้น 130 คน และมีความเจ็บป่วยสาคัญ เรียง
ตามลาดับ ดังนี้ 1.โรคเบาหวาน 2.โรคความดันโลหิตสูง 3.โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 4.โรคซึมเศร้า เครียด
วิตกกังวล และ 5.โรคปวดข้อ กระดูก ซึ่งเกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารที่มี
โทษ / ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และขาดการออกกาลังกายที่เพียงพอและเหมาะสม ที่น่าเป็นห่วงคือการ
พบว่าแนวโน้มการเจ็บป่วยดังกล่าวเกิดในวัยที่เร็วขึ้น ก่อนถึงอายุ 60 ปี ซึ่งมีผู้เจ็บป่วยแล้วกว่า 20 คน และ
เพิ่มจานวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วย
2
2.การขาดการดูแลด้านสุขภาพจากสมาชิกในครอบครัวและชุมชน พบว่า ผู้สูงอายุที่อยู่ลาพัง หรืออยู่
กับคู่สมรสมีจานวน 3 ครอบครัว ผู้สูงอายุที่อยู่กับบุตรหลานวัยเยาว์มีจานวน 10 ครอบครัว และผู้สูงอายุที่ต้อง
อยู่ลาพังในช่วงกลางวันเนื่องจากสมาชิกไปทางาน / ไปเรียน มีถึงกว่าร้อยละ 70 ในขณะที่จากการสอบถาม
บุตรหลานผู้สูงอายุก็พบว่ากว่าร้อยละ 80 ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการให้การดูแลสุขภาพที่ถูกต้องแก่
ผู้สูงอายุ และมากกว่าร้อยละ 70 ขาดการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุในครอบครัว โดยเป็นที่น่าสังเกตว่า
วัยรุ่นเป็นกลุ่มที่ขาดการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุมากกว่าวัยอื่น ๆ ขณะเดียวกัน ชุมชนก็ขาดการจัดการ
ด้านสิทธิและสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุ ขาดการเยี่ยมเยียนและแบ่งปันกันดังเช่นอดีตที่ผ่านมา ซึ่งทาให้การ
ดาเนินชีวิตในวัยสูงอายุเป็นไปอย่างยากลาบากมากขึ้น ต้องพึ่งพาตนเอง และกลุ่ม อสม. สูง
3.การขาดการยอมรับและมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของชุมชน ในอดีตผู้สูงอายุจะเป็นแหล่งความรู้และ
ภูมิปัญญาของชุมชน เช่นในด้านพืชสมุนไพรท้องถิ่นซึ่งเป็นประโยชน์มากเมื่อประมาณ 20-30 ปีที่ผ่านมาเมื่อ
การสาธารณสุขยังมิได้เข้ามาอยู่ใกล้ชุมชน ด้านอาชีพการเกษตรกรรมด้วยพืชพันธุ์ท้องถิ่น หรือในด้านการ
สั่งสอนและปลูกฝังคุณธรรมตามหลักฮีต 12 ครอง 14
ปัจจุบัน เมื่อเจ็บป่วยเยาวชนและวัยพ่อบ้านแม่บ้านต้องเดินทางเข้าไปซื้อยาสมัยใหม่ในเมือง ซึ่ง
เสียเวลาและค่าใช้จ่ายสูง ที่น่าห่วงมากขึ้น คือการนิยมยาชุดหลากสีซึ่งมีสารเสตียรอยด์ที่ก่อให้เกิดมะเร็ง
เช่นเดียวกับการปลูกพืชเชิงเดี่ยวและทานาที่ใช้ปุ๋ย ยาฆ่าแมลงและฮอร์โมน โดยปราศจากความรู้ถึง
ผลกระทบต่อสุขภาพ และขาดการคานึงถึงภาระหนี้สิน ในขณะที่การขาดภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรมที่ทาให้
เด็กเยาวชนยึดติดกับการบริโภคนิยมที่นาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์และยาเสพติด เป็นต้น
จากสถานการณ์ปัญหาทั้ง 3 ประการดังกล่าว อันทาให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้ม
เจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น การขาดการดาเนินชีวิตในครอบครัวและชุมชนอย่างมีศักดิ์ศรีและคุณภาพ ในขณะที่
กลุ่มอื่น ๆ ก็ต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ และการสูญเสียมรดก อัตลักษณ์ของชุมชน ที่จะนาไปสู่การ
ล่มสลายของครัวเรือนและชุมชนได้ในที่สุด กลุ่ม อสม. จึงร่วมกันวิเคราะห์และออกแบบโครงการดังกล่าว
ขึ้น โดยการสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุให้มีจานวนมาก
ขึ้น และเพียงพอต่อการให้บริการที่มีคุณภาพ ทั่วถึงแก่ผู้สูงอายุ การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสารเคมีทางการเกษตร
และการสร้างเสริมสุขภาพอย่างง่าย ๆ ด้วยการโภชนาการที่ประหยัด มีคุณค่าและเหมาะสมต่อวัย การส่งเสริม
การดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยค้นหาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และที่สาคัญ คือการมุ่ง
ลดความเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุด้วยกิจกรรมที่ต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและถูกต้องตาม
แนวทางสาธารณสุข ด้วยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน โดยเพิ่มบทบาทการพึ่งพาและช่วยเหลือกันในกลุ่ม
ผู้สูงอายุด้วยกันด้วย อันในที่สุด จะทาให้ผู้สูงอายุดารงชีวิตในครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ มี
ศักดิ์ศรี มีสุขภาพแข็งแรง และทุกคนในชุมชนมีสุขภาพดี ดาเนินชีวิตเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง มั่นคงอย่างยั่งยืน
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุ
2.เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างด้านการเกษตรกรรมปลอดสารพิษและโภชนาการเพื่อการซ่อมเสริมสุขภาพที่
เหมาะสมต่อวัยสูงอายุ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์โครงการ
1.การเกิดแกนนา อสม., และสตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ในชุมชนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2.การเกิดแกนนาครัวเรือน จานวน 50 ครัวเรือน ที่เป็นตัวอย่างด้านสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการ
เกษตรกรรมปลอดสารพิษ และการโภชนาการซ่อมเสริมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3.ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และซ่อมเสริมสุขภาพสมาชิกในกลุ่ม โดยการช่วยหนุนเสริมของ
อาสาสมัครและครอบครัว อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
4.ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการออกเยี่ยมและบริการด้านสุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมีคุณภาพจากสมาชิก
ในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
ประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมายหลักและกลุ่มเป้าหมายรอง ดังนี้
1.กลุ่มเป้าหมายหลัก รวมจานวนทั้งสิ้น 212 คน ประกอบด้วย
1.1.สมาชิกกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านหนองพลวง จานวน 12 คน
1.2.สตรีแม่บ้านที่มีหน้าที่ด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพสมาชิกในครอบครัวรวมจานวน50คน
1.3.ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จานวน 80 คน
1.4.ผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีอายุระหว่าง 51-59 ปี จานวน 20 คน
1.5.พ่อบ้านเกษตรกรที่มีอายุระหว่าง 26-59 ปี จานวน 50 คน
2.กลุ่มเป้าหมายรอง รวมจานวนทั้งสิ้น 57 คน ประกอบด้วย
2.1.พระสงฆ์ (ศาสนาพุทธ) และบาทหลวง (ศาสนาคริสต์) จานวน 2 ท่าน
2.2.ผู้ใหญ่บ้าน (1 คน) และสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล (2 คน)
2.3.ผู้บริหาร / คณาจารย์จากสถานศึกษาของชุมชน จานวน 2 คน
4
2.4.เด็กและเยาวชนในชุมชน จานวน 50 คน
พื้นที่เป้าหมาย
ชุมชนบ้านหนองพลวง หมู่ที่ 5 ต.หนองพลวง อ.ประทาย จ.นครราชสีมา
ระยะเวลาโครงการ
1 ปี ระหว่าง 1 มกราคม - 31 ธันวาคม พ.ศ.2554
กิจกรรม
(อยู่ในเอกสารหน้าถัดไป)
5
1.การจัดอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุ
สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 การเกิดแกนนา อสม., และสตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม
แนวคิดกิจกรรม : สมาชิก อสม. มีหน้าที่หลักในการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ ขณะเดียวกันสตรีแม่บ้านก็มีหน้าที่สาคัญในการดูแลสุขอนามัยของสมาชิกใน
ครอบครัว โดยเฉพาะด้านการประกอบอาหารและสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานต่อการมีสุขภาพดีได้อย่างง่าย ๆ การอบรมเพื่อให้ทั้ง 2 กลุ่มได้ร่วมกันปฏิบัติ
หน้าที่ประจาวันของตนโดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มากขึ้น จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ สามารถทาได้จริง และต่อเนื่องยั่งยืน เช่นเดียวกับผู้สูงอายุที่จะได้รับ
การดูแลอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและด้วยความเข้าใจในบริบทของแต่ละบุคคลด้วย
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน
จานวน 68 คน ประกอบด้วย
1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 62 คน
ได้แก่
1.1.สมาชิกกลุ่มอาสาสมัคร
สาธารณสุขชุมชนบ้านหนองพลวง
จานวน 12 คน
1.2.สตรีแม่บ้านที่มีหน้าที่ด้าน
โภชนาการและการดูแลสุขภาพสมาชิก
ในครอบครัว จานวน 50 คน
2.กลุ่มวิทยากรและพี่เลี้ยง จานวน 6
*จัดกิจกรรม 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน รวม 2 วัน
*หัวข้อและรูปแบบการอบรม มีแนวทางดังนี้
ครั้งที่ 1
1. “การแนะนาโครงการและกิจกรรม” โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการ
2.การให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่อง “สถานการณ์ผู้สูงอายุในสังคมไทยอีสาน วิกฤติ โอกาส และรูปแบบการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตผู้สูงอายุ”
3.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม กับตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพรชุมชน เรื่อง “กาย อารมณ์ และ
จิตใจ ในความเปลี่ยนแปลงสู่วัยผู้สูงอายุ”
*แบ่งกลุ่มเพื่อร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและซักถามข้อมูลเพิ่มเติม
4.การให้ความรู้ สาธิตและฝึกปฏิบัติ 3 กลุ่มกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมครัวเรือนผู้สูงอายุ ได้แก่
6
คน ได้แก่
2.1.วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 2
คน
2.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร
ชุมชน จานวน 1 คน
2.2.พี่เลี้ยงกิจกรรม จานวน 3 คน
4.1.การปฏิบัติสุขอนามัย และการจัดการสภาพแวดล้อมครัวเรือนส่วนบุคคล
4.2.การปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้สูงอายุ
4.3.การพยาบาลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
5.การประชุมกลุ่มใหญ่เพื่อสรุปผลความรู้ในกิจกรรมและการนาไปเผยแพร่ปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน
ครั้งที่ 2
1.การให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่อง “5 อ. ต่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ”
2.การให้ความรู้ สาธิตและฝึกปฏิบัติ เรื่อง “เมนูท้องถิ่นอีสาน สู่การโภชนาการซ่อม-เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ”
3.การให้ความรู้ เรื่อง “คุณธรรม จริยธรรม และบทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ”
4.การจัดทัศนศึกษาด้วยการออกเยี่ยมและฝึกปฏิบัติการสนทนา สัมภาษณ์และเก็บข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน โดยเลือก
กรณีศึกษาที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง และผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง
5.การนาเสนอข้อมูลการออกเยี่ยมสู่ที่ประชุมใหญ่ และกาหนดบทบาทการเป็นผู้นาในกิจกรรมของโครงการ
6.พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นอาสาสมัคร
สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนของตน
การมอบเกียรติบัตรและแต่งตั้งเป็นอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
*การติดตามประเมินผลการนาความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมไปปฏิบัติ และกิจกรรมของกลุ่มภายหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม
จัดทาเป็นเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ
7
2.การจัดประชุมกลุ่ม (อบรมต่อเนื่องประจาเดือน) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุ
สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 การเกิดแกนนา อสม., และสตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม
แนวคิดกิจกรรม : ปัจจุบันผู้สูงอายุในสังคมไทย โดยเฉพาะในภูมิภาคอีสานประสบกับปัญหาในมิติต่าง ๆ ที่มีความซับซ้อน เกี่ยวพัน และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไป
ตามกระแสโลกาภิวัฒน์ จาเป็นที่ผู้ผ่านการอบรมจะต้องมีกิจกรรมกลุ่มเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องจากการจัดอบรม การจัดประชุมกลุ่ม และการอบรมต่อเนื่องทุกเดือนนี้
จะทาให้สมาชิกมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมมือกันดาเนินการในลักษณะ “ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ” ซึ่งความเข้มแข็งดังกล่าวจะนาไปสู่ความต่อเนื่องและยั่งยืน
ในการปฏิบัติงานต่อไปภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน
จานวน 64 คน ประกอบด้วย
1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 62 คน
ได้แก่
1.1.สมาชิกกลุ่มอาสาสมัคร
สาธารณสุขชุมชนบ้านหนองพลวง
จานวน 12 คน
1.2.สตรีแม่บ้านที่มีหน้าที่ด้าน
โภชนาการและการดูแลสุขภาพสมาชิก
ในครอบครัว จานวน 50 คน
2.ที่ปรึกษากลุ่ม จานวน 2 คน ได้แก่
*จัดกิจกรรมเดือนละ 1 ครั้ง ครั้งละหนึ่งวัน รวม 6 ครั้ง ตลอดโครงการ
*แบ่งกลุ่มอาสาสมัครฯ ออกเป็น 6 กลุ่ม โดยให้ อสม. เป็นหัวหน้าและพี่เลี้ยงแต่ละกลุ่ม
*รูปแบบการจัดประชุม (อบรมต่อเนื่อง) ได้แก่
1.การนาเสนอข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุจากการออกเยี่ยมและติดตามประเมินผลในครัวเรือน
2.การนาเสนอข้อมูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยให้แต่ละกลุ่มผลัดกันนาเสนอ กลุ่มละ 1 เรื่อง (ตัวอย่างหัว
เรื่อง เช่น รูปแบบการออกกาลังกายประยุกต์ที่เหมาะสมวัย, เมนูท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ, โรคระบาด และโรคอุบัติใหม่, สมุนไพร
ท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ, หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อประสานในการพัฒนาคุณภาพและสุขภาพผู้สูงอายุ, นวตกรรม/ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
เพื่อผู้สูงอายุ หรือเรื่องอื่น ๆ ที่กลุ่มมีความเห็นร่วมกันว่าเป็นประโยชน์และเหมาะสมต่อบริบทชุมชน)
*เก็บรวบรวมข้อมูลในรูปแบบเอกสารรูปเล่มเพื่อเก็บเป็นองค์ความรู้ของชุมชนพร้อมเผยแพร่ต่อไป
3.การวางแผนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ
4.การสรุปประเมินผลภาพรวมโครงการ และบทบาทของกลุ่มภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ
8
2.1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบล
หนองพลวง
2.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร
ชุมชน
3.การจัดอบรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัวผู้สูงอายุตัวอย่างในชุมชน
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างด้านการเกษตรกรรมปลอดสารพิษและโภชนาการเพื่อการซ่อมเสริมสุขภาพที่เหมาะสมต่อวัยสูงอายุ ตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 การเกิดแกนนาครัวเรือน จานวน 50 ครัวเรือน ที่เป็นตัวอย่างด้านสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการเกษตรกรรมปลอด
สารพิษ และการโภชนาการซ่อมเสริมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดกิจกรรม : ประชากรวัยแรงงาน ได้แก่ พ่อบ้านและแม่บ้าน เป็นกลุ่มที่ทาหน้าที่ในการหารายได้และดูแลทุกข์สุขของสมาชิกในครอบครัว หากกลุ่มดังกล่าวมี
ความตระหนักและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างถูกต้องจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกคนในครอบครัว การส่งเสริมให้พ่อบ้านทาการเกษตรปลอดสารพิษ ลด
รายจ่ายและอันตรายจากสารเคมี มีพืชผักปลอดสารพิษไว้บริโภค และการส่งเสริมให้แม่บ้านสามารถจัดเตรียมอาหารซ่อม-เสริมที่มีคุณค่าจากพืชผักสมุนไพรท้องถิ่น
ที่เพาะปลูกไว้ จะทาให้เกิดครอบครัวตัวอย่างปลอดสารพิษ ดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะนาไปสู่สุขภาพกาย และจิตที่ดีของสมาชิกทุกคน เป็น
แบบอย่างแก่ทุกครัวเรือนในชุมชนต่อไป
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน
จานวน 106 คน ประกอบด้วย
1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 100 คน
ได้แก่
1.1.พ่อบ้านเกษตรกรและสตรี
*แบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 50 ครัวเรือน (100 คน) อบรมกลุ่มละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน รวม 2 ครั้ง เป็นเวลา 2
วัน
*หัวข้อและรูปแบบการจัดกิจกรรม มีแนวทางได้แก่
1.การให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่อง “คุณค่าของครอบครัว และบทบาทของสามี-ภรรยาในวิถีท้องถิ่นอีสาน”
9
แม่บ้าน จานวน 50 คู่ รวม 100 คน
2.กลุ่มวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม
จานวน 6 คน ได้แก่
2.1.วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 2
คน
2.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร
ชุมชน จานวน 1 คน
2.3.พี่เลี้ยง ได้แก่ หน่วยงานเจ้าของ
โครงการ รวม 3 คน
2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม กับตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพรชุมชน เรื่อง “มุมมองของผู้สูงวัย
และความร่วมมือร่วมใจของบุตรหลาน เพื่อสร้างครอบครัวแห่งความสุข”
*แบ่งกลุ่มเพื่อร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและกาหนดบทบาทหน้าที่ในการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุและ
ความสุขของครอบครัว
3.กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติเพื่อการมีสุขภาพดี ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยแบ่งออกเป็นฐานกิจกรรม จานวน 3
ฐาน ได้แก่
3.1.ฐานภูมิปัญญาเกษตรกรรมปลอดสารพิษ เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนปลูกพืชผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ
3.2.ฐานภูมิปัญญาเมนูท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนผลิตอาหารเพื่อโภชนาการซ่อม-เสริมสุขภาพ
3.3.ฐานภูมิปัญญาการออกกาลังกาย เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนใช้พืชสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ลดรายจ่าย
4.กิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสามี ภรรยา (การขอโทษ และการสัญญาที่จะกระทาหน้าที่ของตนอย่างดีเพื่อ
ความสุขในครอบครัวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
5.การปฏิญาณตนต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
เพื่อถวายสัจอธิษฐานการมุ่งเป็นแบบอย่างคู่สมรสเพื่อความสุขของครอบครัว ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
*การติดตามประเมินผลการนาความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมไปปฏิบัติในครอบครัว ภายหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม จัดทาเป็น
เอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ
4.การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น
สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 4 ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการออกเยี่ยมและบริการด้านสุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมีคุณภาพจากสมาชิกในชุมชน
10
แนวคิดกิจกรรม : การให้ผู้สูงอายุในชุมชนทุกคนได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพโดยสมาชิกในชุมชน เป็นความมุ่งหมายสาคัญที่จะนาไปสู่ความต่อเนื่องและยั่งยืนต่อ
การดารงชีวิตในชุมชนได้อย่างมีคุณภาพของผู้สูงอายุ เพื่อไปสู่ความมุ่งหมายดังกล่าว จาเป็นที่จะต้องจัดตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการขึ้น โดยเชิญผู้นาและ
ตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนเข้ามาร่วมดาเนินการ รวมทั้งการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมให้คาแนะนาปรึกษาและสนับสนุนด้านต่าง ๆ
อันจะเป็นพลังแห่งการบูรณาการสู่การขับเคลื่อนของทุกคนทุกฝ่ายในชุมชนต่อไป
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน
จานวน 15 คน ประกอบด้วย
1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบลหนอง
พลวง 1 คน
2.เกษตรอาเภอประทาย / พัฒนากร
อาเภอ 1 คน
3.บาทหลวง 1 ท่าน
4.พระสงฆ์วัดหนองพลวง 1 รูป
5.ผู้อานวยการโรงเรียน / ตัวแทน 1
ท่าน
6.ผู้ใหญ่บ้าน / กานัน 1 คน
7.สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล 1
คน
8.ตัวแทนผู้สูงอายุ 1 คน
9.ตัวแทนพ่อบ้าน 1 คน
10.ตัวแทนแม่บ้าน 1 คน
*หน่วยงานเจ้าของโครงการประสานงานเพื่อเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานดังกล่าวเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการบริหาร
โครงการ
*กาหนดจัดประชุมคณะกรรมการ รวม 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน รวม 4 วันตลอดโครงการ
*หัวข้อการประชุม ได้แก่ การชี้แจงรายละเอียดโครงการและกิจกรรม การวางแผนการจัดกิจกรรม การรายงานผลการจัด
กิจกรรม การติดตามประเมินและสรุปผลรายกิจกรรมและภาพรวมโครงการ การร่วมเผยแพร่ผลงานโครงการ และการ
สนับสนุนต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงาน
*รูปแบบการจัดประชุม ได้แก่ การจัดประชุมในห้องประชุม / พื้นที่เป้าหมายชุมชน (แล้วแต่สะดวก) โดยให้ความสาคัญต่อ
การมีส่วนร่วมของทุกคนเพื่อร่วมเป็นภาคีเครือข่ายต่อไปแม้เมื่อโครงการแล้วเสร็จ
*บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการฯ ได้แก่
1.การเข้าร่วมประชุม รวม 4 ครั้งตลอดโครงการ
2.การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และวางแผนการดาเนินงาน
3.การกาหนดรูปแบบการณรงค์โดยให้จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ
ให้ศาสนสถานทั้งพุทธศาสนาและคริสตศาสนา โดยพระสงฆ์ / บาทหลวง เทศนาธรรมะความกตัญญูและเสริมสร้าง
ความสุขในครอบครัวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
4.การจัดทาป้ายโปสเตอร์รณรงค์สร้างความตระหนักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ติดประชาสัมพันธ์ไว้ในพื้นที่สาธารณะ
11
11.ตัวแทนเยาวชน 1 คน
12.กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข จานวน
4 คน ได้แก่ หัวหน้า, รองหัวหน้า,
เลขานุการและเหรัญญิก
ของชุมชน จานวน 5 แผ่น (ข้อความ “ลูกหลานหนองพลวงห่วงใย ผู้สูงวัยแข็งแรง”)
5.การส่งเสริมให้จัดตั้งสวัสดิการชุมชนเพื่อผู้สูงอายุ และการประสานกับหน่วยงานภาครัฐเพื่อให้ผู้สูงอายุทุกคนได้รับ
สวัสดิการที่รัฐจัดขึ้น
6.การติดตาม ประเมินและสรุปผลรายกิจกรรม
7.การประเมินและสรุปผลภาพรวมโครงการ เพื่อจัดทารายงานโครงการฉบับสมบูรณ์ส่ง สสส. และแก่หน่วยงานต่าง ๆ
เพื่อการเผยแพร่ผลงานโครงการ จานวน 7 ฉบับ ได้แก่ สถานีอนามัยตาบลหนองพลวง, อบต.หนองพลวง, โรงเรียนบ้าน
หนองพลวง, วัดหนองพลวง, วัดแม่พระเสด็จเยี่ยม (วัดคริสต์), ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน และแก่หน่วยงานเจ้าของโครงการ
8.การร่วมเผยแพร่ผลงานโครงการแก่หน่วยงานต่าง ๆ
9.การสนับสนุนด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ เทคนิควิธี วัสดุอุปกรณ์ วิทยากร ฯลฯ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงาน
*ให้ผู้รับผิดชอบโครงการ / เลขานุการโครงการเป็นเลขานุการของคณะกรรมการโดยตาแหน่ง
*การติดตามประเมินผลการร่วมเป็นภาคีเครือข่ายและกิจกรรมของกลุ่มคณะกรรมการฯ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ
5.การสารวจและจัดทาข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น
สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 4 ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการออกเยี่ยมและบริการด้านสุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมีคุณภาพจากสมาชิกในชุมชน
แนวคิดกิจกรรม : การมีข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุเป็นพื้นฐานสาคัญในการสร้างเสริมสุขภาพ และการติดตามประเมินผลพัฒนาการสุขภาพ รวมทั้งการกาหนดแผนงาน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระยะยาวต่อไป การจัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้นในโครงการ จะช่วยให้ชุมชนซึ่งที่ผ่านมายังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ และ
งบประมาณในการดาเนินงาน สามารถใช้ประโยชน์จากกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อคุณภาพและสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน
จานวน 162 คน ประกอบด้วย *ข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ ได้แก่
12
1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 100 คน
ได้แก่
1.1.ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้น
ไป จานวน 80 คน
1.2.ผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีอายุ
ระหว่าง 51-59 ปี จานวน 20 คน
2.กลุ่มผู้ทาการสารวจข้อมูล จานวน 62
คน ได้แก่
2.1.อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้สูงอายุในโครงการ
3.ที่ปรึกษาและพี่เลี้ยงกิจกรรม จานวน
2 คน ได้แก่
3.1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบล
หนองพลวง
3.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร
ชุมชน
1.ข้อมูลสรุปสถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านหนองพลวง จานวน 1 ฉบับ
2.สมุดสุขภาพประจาตัวผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ จานวน 100 ฉบับ
3.แผนที่ผู้สูงอายุในชุมชน
(หัวข้อและรายละเอียดของข้อมูลดังกล่าว อยู่ในเอกสารแนบที่ 1)
*อาสาสมัครฯ แบ่งกลุ่ม โดยให้ อสม. เป็นหัวหน้ากลุ่ม เพื่อทาการออกเยี่ยมและสารวจข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ
*การนาข้อมูลที่ได้เข้าสู่ที่ประชุมเพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปและจัดทาเป็นเอกสารดังมีรายละเอียดอยู่ในเอกสารแนบ
ที่ 1
*การติดตามประเมินผลภาพรวมกิจกรรม จัดทาเป็นเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ
13
6.การจัดกิจกรรม “ชมรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง” เพื่อให้บริการด้านสุขภาพพื้นฐานแก่ผู้สูงอายุ โดยบทบาทของผู้สูงอายุ และ
อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น
สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และซ่อมเสริมสุขภาพสมาชิกในกลุ่ม โดยการช่วยหนุนเสริมของอาสาสมัคร
และครอบครัว อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
แนวคิดกิจกรรม : การให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุโดยการออกเยี่ยมในครัวเรือน และโดยการรวมกลุ่มในชุมชน จะทาให้ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการ
บริการด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง รวดเร็ว ประหยัด เป็นกันเอง และเกิดกาลังใจในการดาเนินชีวิต เนื่องจากตระหนักถึงความห่วงใยจากบุตรหลานในชุมชนซึ่งเป็นผู้
ให้บริการ ขณะเดียวกันกลุ่มผู้ให้บริการก็จะได้รับประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติจริง ทาให้สามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืนต่อไป
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน
จานวน 162 คน ประกอบด้วย
1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 100 คน
ได้แก่
1.1.ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้น
ไป จานวน 80 คน
1.2.ผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีอายุ
ระหว่าง 51-59 ปี จานวน 20 คน
2.กลุ่มผู้ให้บริการด้านสุขภาพ จานวน
62 คน ได้แก่
2.1.อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพ
*กิจกรรม ดังกล่าว ประกอบด้วย
1.การออกเยี่ยมให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
2.การรวมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุเพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม และรับบริการด้านสุขภาพจาก
อาสาสมัคร เดือนละ 1 ครั้ง
ทั้งนี้มีรูปแบบการดาเนินงาน ของแต่ละกิจกรรม ดังนี้
1.การออกเยี่ยมให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
รูปแบบ.
1.1.อาสาสมัครฯ ที่แบ่งกลุ่มออกเยี่ยมผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุในพื้นที่ความรับผิดชอบของตน
1.2.การให้คาแนะนาในการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุแต่ละคน
รวมทั้งโรคตามฤดูกาล, โรคอุบัติใหม่ และสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
1.3.การสาธิตและช่วยผู้สูงอายุ และบุตรหลานในการปฏิบัติสุขอนามัย / การพยาบาลผู้สูงอายุ / การจัดการสภาพแวดล้อม
14
ผู้สูงอายุในโครงการ
3.กลุ่มที่ปรึกษาและพี่เลี้ยงกิจกรรม
จานวน 2 คน ได้แก่
3.1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบล
หนองพลวง
3.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร
ชุมชน
ครัวเรือน / การออกกาลังกาย เป็นต้น
1.4.การจดบันทึกข้อมูลพัฒนาการสุขภาพในสมุดสุขภาพประจาตัวผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ
2.การรวมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุเพื่อรับบริการด้านสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง
รูปแบบ.
2.1.อาสาสมัครฯ เชิญชวนผู้สูงอายุ ผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ และบุตรหลานเข้าร่วมกิจกรรม
2.2.การนาเสนอข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน จากการออกเยี่ยมติดตามประเมินผลในรอบเดือน
2.3.กิจกรรมกลุ่มในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพระหว่างผู้สูงอายุ ผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ และอาสาสมัครฯ โดยเน้นให้
ผู้สูงอายุเป็นผู้ร่วมกันนาเสนอปัญหาด้านสุขภาพ และรูปแบบการป้องกันแก้ไข ตลอดจนการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม
ผู้สูงอายุในการมีส่วนช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือกันและกันในกลุ่ม โดยให้อาสาสมัครฯ มีบทบาทในการเสริมหรือ
สนับสนุนในส่วนที่ขาด ซึ่งจะทาให้กลุ่มผู้สูงอายุมีศักยภาพและความเข้มแข็งในการสร้างเสริมสุขภาพของตนและเพื่อน
ผู้สูงอายุได้ต่อไป
2.4.การตรวจวินิจฉัยความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการ
สอบถามการปฏิบัติพฤติกรรมด้านสุขภาพ
2.5.การสาธิตและฝึกปฏิบัติกิจกรรมที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุและบุตรหลาน
นากลับไปปฏิบัติในครัวเรือนของตนได้
2.6.การให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้ร่วมกาหนดเกณฑ์การตัดสิน และร่วมกันค้นหาเพื่อมอบเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชู
เกียรติ ดังนี้
ก.ผู้สูงอายุสุขภาพดีตัวอย่าง จานวน 10 คน
ข.บุตรหลานผู้สูงอายุตัวอย่าง จานวน 10 คน
15
*การติดตามประเมินผลภาพรวมพัฒนาการสุขภาพจากการจัดกิจกรรม จัดทาเป็นเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหาร
โครงการ
การประเมินผล
การประเมินผลมีรูปแบบการดาเนินงาน ดังนี้
วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ผ่าน วัน/เวลาที่ประเมิน ผู้รับผิดชอบ
1 . เ พื่ อ ส ร้ า ง
อาสาสมัครสร้าง
เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ
ผู้สูงอายุในกลุ่ม
สตรีแม่บ้านและ
บุตรหลานผู้สูงอายุ
1.การเกิดแกนนา อสม., และ
สตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน
ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริม
สุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.ผู้เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มี
ความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตามสิ่งที่
อบรมได้อย่างถูกต้อง
2.มีผู้ผ่านการอบรมเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมใน
ฐานะอาสาสมัครฯ ตลอดโครงการไม่น้อย
กว่าร้อยละ 80
1.ในวันสุดท้ายของการอบรม
2.ติดตามพฤติกรรมการปฏิบัติ
หน้าที่เดือนละ 1 ครั้ง และ
ประเมินผลภาพรวมการปฏิบัติ
หน้าที่ของอาสาสมัครฯ ใน
โครงการ ภายในวันสุดท้ายของ
ระยะเวลาโครงการ (ใช้การ
ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม)
1.ประธาน, รองประธาน
และเลขานุการกลุ่ม
อ า ส า ส มั ค ร ฯ
2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ตาบล, และตัวแทน
ผู้สูงอายุร่วมเป็นที่ปรึกษา
วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ผ่าน วัน/เวลาที่ประเมิน ผู้รับผิดชอบ
2.เ พื่ อ ส ร้ า ง
ครัวเรือนตัวอย่าง
ด้ า น ก า ร
เกษตรกรรมปลอด
1.การเกิดแกนนาครัวเรือน
จานวน 50 ครัวเรือน ที่เป็น
ตัวอย่างด้านสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้สูงอายุด้วยการเกษตรกรรม
1.ครัวเรือนที่เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ
80 สามารถลดการใช้สารเคมีทาง
การเกษตรในพืชผักสาหรับการบริโภคใน
ครัวเรือน
เดือนละ 1 ครั้งภายหลังการอบรม 1.ประธาน, รองประธาน
และเลขานุการกลุ่ม
อ า ส า ส มั ค ร ฯ
2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
16
ส า ร พิ ษ แ ล ะ
โภชนาการเพื่อการ
ซ่อมเสริมสุขภาพ
ที่เหมาะสมต่อวัย
สู ง อ า ยุ ต า ม
ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
ป ล อ ด ส า ร พิ ษ แ ล ะ ก า ร
โภชนาการซ่อมเสริมตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.ครัวเรือนที่เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ
80 ปรุงอาหารที่สุก สะอาด และมีคุณค่า
ทางโภชนาการให้กับสมาชิกในครอบครัว
ได้รับประทาน
3.พ่อบ้าน แม่บ้าน และสมาชิกใน
ครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุใน
ครอบครัวอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง (เช่น
ทาบุญ ตักบาตร, การรับประทานอาหาร,
การออกกาลังกาย เป็นต้น)
ตาบล, ตัวแทนพ่อบ้าน
ตัว แทนแม่บ้านและ
ตัวแทนผู้สูงอายุร่วมเป็นที่
ปรึกษา
วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ผ่าน วัน/เวลาที่ประเมิน ผู้รับผิดชอบ
3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมี
สุขภาพทั้งกายและ
ทางจิตที่ดีขึ้น
1.ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่ม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และซ่อมเสริม
สุขภาพสมาชิกในกลุ่ม โดยการ
ช่วยหนุนเสริมของอาสาสมัคร
และครอบครัว อย่างน้อยเดือน
ละ 1 ครั้ง
2.ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับ
การออกเยี่ยมและบริการด้าน
สุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมี
คุณภาพจากสมาชิกในชุมชน
1.ผู้สูงอายุสามารถควบคุมระดับน้าตาล
และความดันโลหิตได้ ไม่ส่งผลให้เกิด
ความเจ็บป่วย
2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมทากิจกรรมสร้างเสริม
สุขภาพของกลุ่มร่วมกันเดือนละ 1 ครั้ง
3.อาสาสมัครและบุตรหลานฯ ให้การออก
เยี่ยม และช่วยหนุนเสริมด้านสุขภาพแก่
ผู้สูงอายุเป็นประจาอย่างน้อยเดือนละ 1
ครั้ง
1.เดือนละ 1 ครั้งภายหลังการ
อบรม
1.ประธาน, รองประธาน
และเลขานุการกลุ่ม
อ า ส า ส มั ค ร ฯ
2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ตาบล, และตัวแทน
ผู้สูงอายุร่วมเป็นที่ปรึกษา
17
งบประมาณ
งบประมาณ โครงการ จานวนทั้งหมด 371,720 บาท โดยมีรายละเอียดแยกตามกิจกรรม ดังตารางงบประมาณด้านล่างต่อไปนี้
กิจกรรมที่ 1.การจัดอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 62 คน 50 2 6200
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 6 คน 100 2 1200
ค่าอาหารว่าง 68 คน 25 2 2 6800
ค่าอาหารกลางวัน 68 คน 50 2 1 6800
ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม รวมทั้งการสาธิตและฝึกปฏิบัติ 68 คน 100 2 13600
ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1500 2 3000
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 1000 2 6000
ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 3 คน 500 2 3000
สนับสนุนค่าพาหนะผู้เข้าร่วมกิจกรรม 62 คน 100 2 12400
ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติแต่งตั้งเป็นอาสาสมัครฯ ในโครงการ 62 คน 100 1 6200
ค่าจัดพิธีกรรม (เหมาจ่าย) 1500 1 1500
ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 2 400
ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรมและจัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 1 เล่ม 2000 2000
รวมเป็นเงินในกิจกรรม 69100
18
กิจกรรมที่ 2.การจัดประชุมกลุ่ม (อบรมต่อเนื่องประจาเดือน) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 62 คน 20 6 7440
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 2 คน 50 6 600
ค่าอาหารว่าง 64 คน 25 6 1 9600
ค่าอาหารกลางวัน 64 คน 50 6 1 19200
ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 64 คน 50 6 19200
ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 500 6 3000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 500 6 6000
ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 6 1800
ค่าเก็บรวบรวมข้อมูลที่แต่ละกลุ่มนาเสนอเป็นรูปเล่มเอกสาร 1 เล่ม 500 1 500
ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 100 6 600
รวมเป็นเงินในกิจกรรม 67940
กิจกรรมที่ 3.การจัดอบรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัวผู้สูงอายุตัวอย่างในชุมชน
รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน 50 2 5000
19
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 6 คน 100 2 1200
ค่าอาหารว่าง 56 คน 25 2 2 5600
ค่าอาหารกลางวัน 56 คน 50 2 1 5600
ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 56 คน 100 2 11200
ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1500 2 3000
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 1000 2 6000
ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 3 คน 500 2 3000
สนับสนุนค่าพาหนะผู้เข้าร่วมกิจกรรม (คิดเป็นรายครัวเรือน) 50 ครัว 100 1 5000
ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 2 รุ่น 600
ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติ (คิดเป็นรายครัวเรือน) 50 ครัว 100 1 5000
ค่าจัดพิธีกรรม (เหมาจ่าย) 1500 2 3000
ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 1 200
ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม จัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 2000 1 2000
รวมเป็นเงินในกิจกรรม 56400
กิจกรรมที่ 4.การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ
รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 15 คน 100 4 6000
20
ค่าอาหารว่าง 15 คน 30 4 2 3600
ค่าอาหารกลางวัน 15 คน 60 4 1 3600
ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 15 คน 100 4 6000
ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1000 4 4000
สนับสนุนค่าพาหนะผู้เข้าร่วมกิจกรรม 15 คน 300 4 18000
ค่าจัดทาเอกสารรายงานสรุปผลโครงการ 8 เล่ม 500 4000
ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติคณะกรรมการ 15 คน 100 1500
ค่าจัดทาป้ายเพื่อรณรงค์ในชุมชน 5 แผ่น 800 1 4000
ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 4 800
ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม 2000 1 2000
รวมเป็นเงินในกิจกรรม 53500
กิจกรรมที่ 5.การสารวจและจัดทาข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ
รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน
ค่าเอกสารแบบสารวจข้อมูลผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ 100 คน 50 5000
ค่าสมุดบันทึกสุขภาพประจาตัวผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ 100 คน 100 10000
ค่าจัดทาเอกสารสรุปข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง 1 เล่ม 1000 1000
ค่าอาหารว่าง เครื่องดื่ม และค่าตอบแทน ผู้ทาการสารวจ (เหมาจ่ายโดยคิดตามรายหัวผู้สูงอายุ) 100 คน 50 5000
21
ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 2 คน 500 2 2000
ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 1 300
ค่าจัดทาแผนที่ผู้สูงอายุในชุมชน 3 แผ่น 800 1 2400
ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 1 200
ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม จัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 2000 1 2000
รวมเป็นเงินในกิจกรรม 27900
กิจกรรมที่ 6.การจัดกิจกรรม “ชมรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง” เพื่อให้บริการด้านสุขภาพพื้นฐานแก่ผู้สูงอายุ
โดยบทบาทของผู้สูงอายุ และอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ
รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน
ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการออกเยี่ยมผู้สูงอายุ + ค่าติดต่อประสานงานเพื่อเชิญผู้สูงอายุเข้า
ร่วมกิจกรรมของชมรม (เหมาจ่าย) 100 คน 20 6 12000
ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 2 คน 50 6 600
ค่าอาหารว่าง 164 คน 15 6 1 14760
ค่าอาหารกลางวัน 164 คน 30 6 1 29520
ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 100 คน 30 6 18000
ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1500 6 9000
ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 2 คน 500 6 6000
22
ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 6 1800
ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติ (ผู้สูงอายและบุตรหลาน) 20 คน 100 1 2000
ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 6 1200
ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม จัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 2000 1 2000
รวมเป็นเงินในกิจกรรม 96880
ปฏิทินกิจกรรม
กิจกรรม 1 มกราคม - 31 ธันวาคม พ.ศ.2554 รวม 1 ปี
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1.การจัดอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ  
2.การจัดประชุมกลุ่ม (อบรมต่อเนื่องประจาเดือน) เพื่อพัฒนาศักยภาพ
อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
     
3.การจัดอบรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัวผู้สูงอายุตัวอย่างใน
ชุมชน
 
4.การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ    
5.การสารวจและจัดทาข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ 
6.การจัดกิจกรรม “ชมรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง” เพื่อ
ให้บริการด้านสุขภาพพื้นฐานแก่ผู้สูงอายุ โดยบทบาทของผู้สูงอายุ และ
อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ
     
23
องค์กรภาคีเครือข่าย
1.สถานีอนามัยตาบลหนองพลวง
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ
2.การเป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ
3.การเป็นผู้ตรวจวินิจฉัยโรค และติดตามผลพัฒนาการผู้สูงอายุ ร่วมกับอาสาสมัครฯ ในโครงการ
2.โรงเรียนบ้านหนองพลวง
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ
2.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และเชิญชวนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ
3.การรณรงค์สร้างคุณธรรมความกตัญญูในกลุ่มนักเรียนเพื่อนากลับไปปฏิบัติในครอบครัว
3.สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด (ในเบื้องต้นจะประสานกับพัฒนากรอาเภอ
ก่อน)
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ
2.การเป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านสิทธิและสวัสดิการภาครัฐต่อผู้สูงอายุ
3.การให้คาแนะนาปรึกษาด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้อยู่ในภาวะ
ลาบาก
4.องค์การบริหารส่วนตาบลหนองพลวง
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ
2.การสนับสนุนสื่อเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเสริมสร้างชุมชนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุตาม
แนวทาง / แผนงานของ อบต.
3.การให้คาแนะนาปรึกษา การสารวจ และสงเคราะห์ / พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้อยู่ใน
ภาวะลาบากของชุมชน
5.วัดบ้านหนองพลง (ศาสนาพุทธ)
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
24
1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ
2.การเป็นวิทยากรเทศนาธรรมะเพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุ
3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา
6.วัดแม่พระเสด็จเยี่ยม (โบสถ์คาทอลิก)
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ
2.การเป็นวิทยากรเทศนาธรรมะเพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุ
3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา
7.ชมรมผู้สูงอายุเขตการปกครองคาทอลิกส่วนภูมิภาคนครราชสีมา
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
1.การให้คาแนะนาปรึกษาด้านคุณธรรม และแนวปฏิบัติศาสนาคริสต์ต่อผู้สูงอายุ และการจัดตั้งชมรม
ผู้สูงอายุ
2.การสนับสนุนด้านสื่อทางศาสนา วิทยากรและบุคลากรในการอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริม
สุขภาพผู้สูงอายุ
8.ศูนย์สังคมพัฒนา สังฆมณฑลนครราชสีมา
บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ
2.การร่วมในการติดตามประเมินผลโครงการ
3.การให้ความรู้และคาแนะนาในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน
บริบทชุมชนศาสนาคริสต์
ความต่อเนื่องและยั่งยืน
มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้
1.กลุ่มอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพมูลฐานชุมชนบ้านหนองพลวง โดย
1.1.การออกเยี่ยม ให้ความรู้ คาแนะนา และบริการด้านสุขภาพที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ ตลอดจน
การติดตามประเมินผลเป็นประจาต่อไป
25
1.2.การเชิญชวนกลุ่มอาสาสมัครฯ ในโครงการที่ผ่านการอบรม ให้เข้าร่วมในกิจกรรมข้อ 1.1.
รวมทั้งการติดตามประเมินผลพฤติกรรมอาสาสมัครฯ เพื่อให้มีส่วนร่วมดาเนินงานกับกลุ่ม อสม. ต่อไป
1.3.การประสานกับสถานีอนามัยตาบลหนองพลวง เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ร่วมออกเยี่ยม
และให้บริการด้านสุขภาพในชุมชนเป็นประจาต่อไป โดยให้อาสาสมัครฯ ในโครงการร่วมกับ อสม. เป็น
ผู้ช่วยในกิจกรรม
2.ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน ในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการ โดย
2.1.การจัดรายการเสียงตามสายเพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ และการสร้างความตระหนักใน
การมีส่วนร่วมของประชากรในชุมชนต่อผู้สูงอายุ
2.2.การประสานกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคศาสนา และภาคประชาสังคมเพื่อร่วมจัดกิจกรรม / การ
ให้สิทธิสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุทุกคน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้อยู่ในภาวะลาบาก
3.ศาสนสถานของชุมชน โดย
3.1.การขอความร่วมมือพระสงฆ์ และบาทหลวงในการเทศนาธรรมะ และจัดกิจกรรมทางศาสนาที่
เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัยและคุณค่าผู้สูงอายุ เพื่อให้ประชากรเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพผู้สูงอายุต่อไป
การขยายผล
ดาเนินการ 4 กลุ่ม ได้แก่
1.กลุ่มอาสาสมัครฯ ในโครงการ มีแนวทาง ดังนี้
1.1.โดยให้เข้าร่วมรับการอบรมเพื่อร่วมเป็นสมาชิก / ผู้ช่วยกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน
ชุมชนบ้านหนองพลวง เพื่อเพิ่มจานวนและสืบต่อการทางานของกลุ่มต่อไป
1.2.โดยให้เข้าร่วมกลุ่ม “เวชบุคคลคาทอลิก” ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มบุคลากรและแกนนาการแพทย์
และสาธารณสุขศาสนาคริสต์ มีการจัดประชุมสัมมนาปีละไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง ซึ่งจะทาให้อาสาสมัครฯ มี
ความรู้ความเข้าใจและมีศักยภาพที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนมีเครือข่ายเพื่อร่วมกันสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุต่อไป
2.กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ มีแนวทางดังนี้
2.1.การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง ให้มีการรวมกลุ่มพบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับ
บริการทางการสาธารณสุขจากอาสาสมัครฯ ในโครงการ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
1234
1234

More Related Content

Viewers also liked

Midiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorvete
Midiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorveteMidiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorvete
Midiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorveteMeio & Mensagem
 
WorkSpaces - Leave & Claims
WorkSpaces - Leave & ClaimsWorkSpaces - Leave & Claims
WorkSpaces - Leave & ClaimsRamco Systems
 
Edificios Suntentables
Edificios SuntentablesEdificios Suntentables
Edificios Suntentablesguest7cc0f4
 
Conociendo al capital
Conociendo al capitalConociendo al capital
Conociendo al capitalTati Gomez
 
Locandina open day gennaio 2017 padova
Locandina open day gennaio 2017   padovaLocandina open day gennaio 2017   padova
Locandina open day gennaio 2017 padovaMontagnin Mariano
 
Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155
Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155
Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155Adam Richardson, EIT
 
Hydraulic fracturing bb
Hydraulic fracturing bbHydraulic fracturing bb
Hydraulic fracturing bbdmcduffie2
 

Viewers also liked (11)

Midiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorvete
Midiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorveteMidiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorvete
Midiakit.verdesmares 09 23-set-dia-do-sorvete
 
resume.12_4_14
resume.12_4_14resume.12_4_14
resume.12_4_14
 
WorkSpaces - Leave & Claims
WorkSpaces - Leave & ClaimsWorkSpaces - Leave & Claims
WorkSpaces - Leave & Claims
 
Edificios Suntentables
Edificios SuntentablesEdificios Suntentables
Edificios Suntentables
 
Conociendo al capital
Conociendo al capitalConociendo al capital
Conociendo al capital
 
Locandina open day gennaio 2017 padova
Locandina open day gennaio 2017   padovaLocandina open day gennaio 2017   padova
Locandina open day gennaio 2017 padova
 
Abreviaciones del inglés
Abreviaciones del inglésAbreviaciones del inglés
Abreviaciones del inglés
 
Derechos del autor
Derechos del autorDerechos del autor
Derechos del autor
 
Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155
Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155
Hydraulic Fracturing Wastewater Treatment CEE155
 
Hydraulic fracturing bb
Hydraulic fracturing bbHydraulic fracturing bb
Hydraulic fracturing bb
 
H61 m vg3
H61 m vg3H61 m vg3
H61 m vg3
 

Similar to 1234

สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...CDD Pathum Thani
 
7.ส่วนที่ 3
7.ส่วนที่ 37.ส่วนที่ 3
7.ส่วนที่ 3Junior Bush
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพThanom Sak
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพThanom Sak
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)Lsilapakean
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)Lsilapakean
 
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationโครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationแผนงาน นสธ.
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ110441
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔weskaew yodmongkol
 

Similar to 1234 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
 
7.ส่วนที่ 3
7.ส่วนที่ 37.ส่วนที่ 3
7.ส่วนที่ 3
 
Focus 4-55
Focus 4-55Focus 4-55
Focus 4-55
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
 
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(ลมุล)
 
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentationโครงการชิวีตคนไทย Presentation
โครงการชิวีตคนไทย Presentation
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพการเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
การเจริญเติบโตและการดูแลสุขภาพ
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 

1234

  • 1. 1 โครงการ “หนองพลวงห่วงใย ผู้สูงวัยแข็งแฮง” หลักการและเหตุผลในการจัดทาโครงการ “บ้านหนองพลวง หมู่ที่ 5 ต.หนองพลวง อ.ประทาย จ.นครราชสีมา” เป็นพื้นที่เป้าหมายในการจัดทา โครงการ มีข้อมูลพื้นฐานชุมชน ดังนี้ 1.จานวนครัวเรือนและประชากรในชุมชน จานวนทั้งหมด 104 ครัวเรือน ประชากรรวมประมาณ 657 คน ในจานวนนี้ แบ่งออกเป็น กลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจานวน 80 คน จานวนผู้มีวัยระหว่าง 51- 59 ปี ประมาณ 50 คน พ่อบ้าน แม่บ้าน วัยแรงงานประมาณ 350 คน ส่วนที่เหลือเป็นวัยเด็กและเยาวชน อายุ ไม่เกิน 25 ปี 2.ด้านอาชีพและรายได้ อาชีพหลักของชุมชน คือ การเกษตรกรรม ทานา ปลูกผัก ซึ่งมากกว่าร้อยละ 95 เป็นการทาเกษตรเชิงเดี่ยว ใช้สารเคมีทางการเกษตร ทาให้เกษตรกรประสบปัญหาหนี้สินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 20,000 ต่อครัวเรือน และส่งผลต่อสภาพความเป็นกรดและการปนเปื้อนสารเคมีในดิน และต่อผู้บริโภค 3.ด้านศาสนา ในชุมชนมีศาสนสถาน 2 แห่ง คือ วัดบ้านหนองพลวง ทางพุทธศาสนา และวัด คาทอลิกบ้านหนองพลวง ทางคริสตศาสนา โดยมีประชากรที่นับถือศาสนาพุทธประมาณร้อยละ 65 และที่ตั้ง ของศาสนสถานห่างกันประมาณ 100 เมตร ซึ่งต่างให้การอบรมด้านศีลธรรมและปฏิบัติพิธีกรรม อยู่ร่วมกัน อย่างสันติ สามัคคี 4.สถานที่สาคัญอื่น ๆ ในชุมชน ประกอบด้วย 1.ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 2.องค์การ บริหารส่วนตาบลหนองพลวง ซึ่งตั้งอยู่ในรั้วเดียวกัน และ 3.สถานีอนามัยตาบลหนองพลวง ตั้งอยู่ห่าง ออกไปจากชุมชนประมาณ 500 เมตร ทั้งนี้ หากพิจารณาจากข้อมูลพื้นฐานดังกล่าวพบว่าชุมชนมีลักษณะคล้ายคลึงกับชุมชนในภูมิภาค ตะวันออกเฉียงเหนือทั่ว ๆ ไป อย่างไรก็ดี จากการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของกลุ่ม อสม. ประจาชุมชน พบว่าปัจจุบันบ้านหนองพลวงกาลังเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพ และคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ กล่าวคือ 1.สถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ ปัจจุบันจานวนผู้สูงอายุและวัย เตรียมสู่วัยสูงอายุ ที่มีอายุระหว่าง 51-59 ปี มีจานวนรวมกันทั้งสิ้น 130 คน และมีความเจ็บป่วยสาคัญ เรียง ตามลาดับ ดังนี้ 1.โรคเบาหวาน 2.โรคความดันโลหิตสูง 3.โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 4.โรคซึมเศร้า เครียด วิตกกังวล และ 5.โรคปวดข้อ กระดูก ซึ่งเกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารที่มี โทษ / ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และขาดการออกกาลังกายที่เพียงพอและเหมาะสม ที่น่าเป็นห่วงคือการ พบว่าแนวโน้มการเจ็บป่วยดังกล่าวเกิดในวัยที่เร็วขึ้น ก่อนถึงอายุ 60 ปี ซึ่งมีผู้เจ็บป่วยแล้วกว่า 20 คน และ เพิ่มจานวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วย
  • 2. 2 2.การขาดการดูแลด้านสุขภาพจากสมาชิกในครอบครัวและชุมชน พบว่า ผู้สูงอายุที่อยู่ลาพัง หรืออยู่ กับคู่สมรสมีจานวน 3 ครอบครัว ผู้สูงอายุที่อยู่กับบุตรหลานวัยเยาว์มีจานวน 10 ครอบครัว และผู้สูงอายุที่ต้อง อยู่ลาพังในช่วงกลางวันเนื่องจากสมาชิกไปทางาน / ไปเรียน มีถึงกว่าร้อยละ 70 ในขณะที่จากการสอบถาม บุตรหลานผู้สูงอายุก็พบว่ากว่าร้อยละ 80 ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการให้การดูแลสุขภาพที่ถูกต้องแก่ ผู้สูงอายุ และมากกว่าร้อยละ 70 ขาดการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุในครอบครัว โดยเป็นที่น่าสังเกตว่า วัยรุ่นเป็นกลุ่มที่ขาดการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุมากกว่าวัยอื่น ๆ ขณะเดียวกัน ชุมชนก็ขาดการจัดการ ด้านสิทธิและสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุ ขาดการเยี่ยมเยียนและแบ่งปันกันดังเช่นอดีตที่ผ่านมา ซึ่งทาให้การ ดาเนินชีวิตในวัยสูงอายุเป็นไปอย่างยากลาบากมากขึ้น ต้องพึ่งพาตนเอง และกลุ่ม อสม. สูง 3.การขาดการยอมรับและมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของชุมชน ในอดีตผู้สูงอายุจะเป็นแหล่งความรู้และ ภูมิปัญญาของชุมชน เช่นในด้านพืชสมุนไพรท้องถิ่นซึ่งเป็นประโยชน์มากเมื่อประมาณ 20-30 ปีที่ผ่านมาเมื่อ การสาธารณสุขยังมิได้เข้ามาอยู่ใกล้ชุมชน ด้านอาชีพการเกษตรกรรมด้วยพืชพันธุ์ท้องถิ่น หรือในด้านการ สั่งสอนและปลูกฝังคุณธรรมตามหลักฮีต 12 ครอง 14 ปัจจุบัน เมื่อเจ็บป่วยเยาวชนและวัยพ่อบ้านแม่บ้านต้องเดินทางเข้าไปซื้อยาสมัยใหม่ในเมือง ซึ่ง เสียเวลาและค่าใช้จ่ายสูง ที่น่าห่วงมากขึ้น คือการนิยมยาชุดหลากสีซึ่งมีสารเสตียรอยด์ที่ก่อให้เกิดมะเร็ง เช่นเดียวกับการปลูกพืชเชิงเดี่ยวและทานาที่ใช้ปุ๋ย ยาฆ่าแมลงและฮอร์โมน โดยปราศจากความรู้ถึง ผลกระทบต่อสุขภาพ และขาดการคานึงถึงภาระหนี้สิน ในขณะที่การขาดภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรมที่ทาให้ เด็กเยาวชนยึดติดกับการบริโภคนิยมที่นาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์และยาเสพติด เป็นต้น จากสถานการณ์ปัญหาทั้ง 3 ประการดังกล่าว อันทาให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้ม เจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น การขาดการดาเนินชีวิตในครอบครัวและชุมชนอย่างมีศักดิ์ศรีและคุณภาพ ในขณะที่ กลุ่มอื่น ๆ ก็ต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ และการสูญเสียมรดก อัตลักษณ์ของชุมชน ที่จะนาไปสู่การ ล่มสลายของครัวเรือนและชุมชนได้ในที่สุด กลุ่ม อสม. จึงร่วมกันวิเคราะห์และออกแบบโครงการดังกล่าว ขึ้น โดยการสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุให้มีจานวนมาก ขึ้น และเพียงพอต่อการให้บริการที่มีคุณภาพ ทั่วถึงแก่ผู้สูงอายุ การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสารเคมีทางการเกษตร และการสร้างเสริมสุขภาพอย่างง่าย ๆ ด้วยการโภชนาการที่ประหยัด มีคุณค่าและเหมาะสมต่อวัย การส่งเสริม การดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยค้นหาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และที่สาคัญ คือการมุ่ง ลดความเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุด้วยกิจกรรมที่ต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและถูกต้องตาม แนวทางสาธารณสุข ด้วยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน โดยเพิ่มบทบาทการพึ่งพาและช่วยเหลือกันในกลุ่ม ผู้สูงอายุด้วยกันด้วย อันในที่สุด จะทาให้ผู้สูงอายุดารงชีวิตในครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ มี ศักดิ์ศรี มีสุขภาพแข็งแรง และทุกคนในชุมชนมีสุขภาพดี ดาเนินชีวิตเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง มั่นคงอย่างยั่งยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุ 2.เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างด้านการเกษตรกรรมปลอดสารพิษและโภชนาการเพื่อการซ่อมเสริมสุขภาพที่ เหมาะสมต่อวัยสูงอายุ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์โครงการ 1.การเกิดแกนนา อสม., และสตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ในชุมชนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 2.การเกิดแกนนาครัวเรือน จานวน 50 ครัวเรือน ที่เป็นตัวอย่างด้านสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการ เกษตรกรรมปลอดสารพิษ และการโภชนาการซ่อมเสริมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และซ่อมเสริมสุขภาพสมาชิกในกลุ่ม โดยการช่วยหนุนเสริมของ อาสาสมัครและครอบครัว อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 4.ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการออกเยี่ยมและบริการด้านสุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมีคุณภาพจากสมาชิก ในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมายหลักและกลุ่มเป้าหมายรอง ดังนี้ 1.กลุ่มเป้าหมายหลัก รวมจานวนทั้งสิ้น 212 คน ประกอบด้วย 1.1.สมาชิกกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านหนองพลวง จานวน 12 คน 1.2.สตรีแม่บ้านที่มีหน้าที่ด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพสมาชิกในครอบครัวรวมจานวน50คน 1.3.ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จานวน 80 คน 1.4.ผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีอายุระหว่าง 51-59 ปี จานวน 20 คน 1.5.พ่อบ้านเกษตรกรที่มีอายุระหว่าง 26-59 ปี จานวน 50 คน 2.กลุ่มเป้าหมายรอง รวมจานวนทั้งสิ้น 57 คน ประกอบด้วย 2.1.พระสงฆ์ (ศาสนาพุทธ) และบาทหลวง (ศาสนาคริสต์) จานวน 2 ท่าน 2.2.ผู้ใหญ่บ้าน (1 คน) และสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล (2 คน) 2.3.ผู้บริหาร / คณาจารย์จากสถานศึกษาของชุมชน จานวน 2 คน
  • 4. 4 2.4.เด็กและเยาวชนในชุมชน จานวน 50 คน พื้นที่เป้าหมาย ชุมชนบ้านหนองพลวง หมู่ที่ 5 ต.หนองพลวง อ.ประทาย จ.นครราชสีมา ระยะเวลาโครงการ 1 ปี ระหว่าง 1 มกราคม - 31 ธันวาคม พ.ศ.2554 กิจกรรม (อยู่ในเอกสารหน้าถัดไป)
  • 5. 5 1.การจัดอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุ สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 การเกิดแกนนา อสม., และสตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม แนวคิดกิจกรรม : สมาชิก อสม. มีหน้าที่หลักในการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ ขณะเดียวกันสตรีแม่บ้านก็มีหน้าที่สาคัญในการดูแลสุขอนามัยของสมาชิกใน ครอบครัว โดยเฉพาะด้านการประกอบอาหารและสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานต่อการมีสุขภาพดีได้อย่างง่าย ๆ การอบรมเพื่อให้ทั้ง 2 กลุ่มได้ร่วมกันปฏิบัติ หน้าที่ประจาวันของตนโดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มากขึ้น จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ สามารถทาได้จริง และต่อเนื่องยั่งยืน เช่นเดียวกับผู้สูงอายุที่จะได้รับ การดูแลอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและด้วยความเข้าใจในบริบทของแต่ละบุคคลด้วย กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน จานวน 68 คน ประกอบด้วย 1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 62 คน ได้แก่ 1.1.สมาชิกกลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุขชุมชนบ้านหนองพลวง จานวน 12 คน 1.2.สตรีแม่บ้านที่มีหน้าที่ด้าน โภชนาการและการดูแลสุขภาพสมาชิก ในครอบครัว จานวน 50 คน 2.กลุ่มวิทยากรและพี่เลี้ยง จานวน 6 *จัดกิจกรรม 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน รวม 2 วัน *หัวข้อและรูปแบบการอบรม มีแนวทางดังนี้ ครั้งที่ 1 1. “การแนะนาโครงการและกิจกรรม” โดยหน่วยงานเจ้าของโครงการ 2.การให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่อง “สถานการณ์ผู้สูงอายุในสังคมไทยอีสาน วิกฤติ โอกาส และรูปแบบการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ” 3.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม กับตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพรชุมชน เรื่อง “กาย อารมณ์ และ จิตใจ ในความเปลี่ยนแปลงสู่วัยผู้สูงอายุ” *แบ่งกลุ่มเพื่อร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและซักถามข้อมูลเพิ่มเติม 4.การให้ความรู้ สาธิตและฝึกปฏิบัติ 3 กลุ่มกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมครัวเรือนผู้สูงอายุ ได้แก่
  • 6. 6 คน ได้แก่ 2.1.วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 2 คน 2.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร ชุมชน จานวน 1 คน 2.2.พี่เลี้ยงกิจกรรม จานวน 3 คน 4.1.การปฏิบัติสุขอนามัย และการจัดการสภาพแวดล้อมครัวเรือนส่วนบุคคล 4.2.การปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้สูงอายุ 4.3.การพยาบาลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 5.การประชุมกลุ่มใหญ่เพื่อสรุปผลความรู้ในกิจกรรมและการนาไปเผยแพร่ปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน ครั้งที่ 2 1.การให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่อง “5 อ. ต่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ” 2.การให้ความรู้ สาธิตและฝึกปฏิบัติ เรื่อง “เมนูท้องถิ่นอีสาน สู่การโภชนาการซ่อม-เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ” 3.การให้ความรู้ เรื่อง “คุณธรรม จริยธรรม และบทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ” 4.การจัดทัศนศึกษาด้วยการออกเยี่ยมและฝึกปฏิบัติการสนทนา สัมภาษณ์และเก็บข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน โดยเลือก กรณีศึกษาที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง และผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง 5.การนาเสนอข้อมูลการออกเยี่ยมสู่ที่ประชุมใหญ่ และกาหนดบทบาทการเป็นผู้นาในกิจกรรมของโครงการ 6.พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นอาสาสมัคร สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนของตน การมอบเกียรติบัตรและแต่งตั้งเป็นอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ *การติดตามประเมินผลการนาความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมไปปฏิบัติ และกิจกรรมของกลุ่มภายหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม จัดทาเป็นเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ
  • 7. 7 2.การจัดประชุมกลุ่ม (อบรมต่อเนื่องประจาเดือน) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในกลุ่มสตรีแม่บ้านและบุตรหลานผู้สูงอายุ สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 การเกิดแกนนา อสม., และสตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม แนวคิดกิจกรรม : ปัจจุบันผู้สูงอายุในสังคมไทย โดยเฉพาะในภูมิภาคอีสานประสบกับปัญหาในมิติต่าง ๆ ที่มีความซับซ้อน เกี่ยวพัน และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไป ตามกระแสโลกาภิวัฒน์ จาเป็นที่ผู้ผ่านการอบรมจะต้องมีกิจกรรมกลุ่มเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องจากการจัดอบรม การจัดประชุมกลุ่ม และการอบรมต่อเนื่องทุกเดือนนี้ จะทาให้สมาชิกมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมมือกันดาเนินการในลักษณะ “ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ” ซึ่งความเข้มแข็งดังกล่าวจะนาไปสู่ความต่อเนื่องและยั่งยืน ในการปฏิบัติงานต่อไปภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน จานวน 64 คน ประกอบด้วย 1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 62 คน ได้แก่ 1.1.สมาชิกกลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุขชุมชนบ้านหนองพลวง จานวน 12 คน 1.2.สตรีแม่บ้านที่มีหน้าที่ด้าน โภชนาการและการดูแลสุขภาพสมาชิก ในครอบครัว จานวน 50 คน 2.ที่ปรึกษากลุ่ม จานวน 2 คน ได้แก่ *จัดกิจกรรมเดือนละ 1 ครั้ง ครั้งละหนึ่งวัน รวม 6 ครั้ง ตลอดโครงการ *แบ่งกลุ่มอาสาสมัครฯ ออกเป็น 6 กลุ่ม โดยให้ อสม. เป็นหัวหน้าและพี่เลี้ยงแต่ละกลุ่ม *รูปแบบการจัดประชุม (อบรมต่อเนื่อง) ได้แก่ 1.การนาเสนอข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุจากการออกเยี่ยมและติดตามประเมินผลในครัวเรือน 2.การนาเสนอข้อมูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยให้แต่ละกลุ่มผลัดกันนาเสนอ กลุ่มละ 1 เรื่อง (ตัวอย่างหัว เรื่อง เช่น รูปแบบการออกกาลังกายประยุกต์ที่เหมาะสมวัย, เมนูท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ, โรคระบาด และโรคอุบัติใหม่, สมุนไพร ท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ, หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อประสานในการพัฒนาคุณภาพและสุขภาพผู้สูงอายุ, นวตกรรม/ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เพื่อผู้สูงอายุ หรือเรื่องอื่น ๆ ที่กลุ่มมีความเห็นร่วมกันว่าเป็นประโยชน์และเหมาะสมต่อบริบทชุมชน) *เก็บรวบรวมข้อมูลในรูปแบบเอกสารรูปเล่มเพื่อเก็บเป็นองค์ความรู้ของชุมชนพร้อมเผยแพร่ต่อไป 3.การวางแผนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ 4.การสรุปประเมินผลภาพรวมโครงการ และบทบาทของกลุ่มภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ
  • 8. 8 2.1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบล หนองพลวง 2.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร ชุมชน 3.การจัดอบรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัวผู้สูงอายุตัวอย่างในชุมชน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 เพื่อสร้างครัวเรือนตัวอย่างด้านการเกษตรกรรมปลอดสารพิษและโภชนาการเพื่อการซ่อมเสริมสุขภาพที่เหมาะสมต่อวัยสูงอายุ ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 การเกิดแกนนาครัวเรือน จานวน 50 ครัวเรือน ที่เป็นตัวอย่างด้านสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการเกษตรกรรมปลอด สารพิษ และการโภชนาการซ่อมเสริมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดกิจกรรม : ประชากรวัยแรงงาน ได้แก่ พ่อบ้านและแม่บ้าน เป็นกลุ่มที่ทาหน้าที่ในการหารายได้และดูแลทุกข์สุขของสมาชิกในครอบครัว หากกลุ่มดังกล่าวมี ความตระหนักและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างถูกต้องจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกคนในครอบครัว การส่งเสริมให้พ่อบ้านทาการเกษตรปลอดสารพิษ ลด รายจ่ายและอันตรายจากสารเคมี มีพืชผักปลอดสารพิษไว้บริโภค และการส่งเสริมให้แม่บ้านสามารถจัดเตรียมอาหารซ่อม-เสริมที่มีคุณค่าจากพืชผักสมุนไพรท้องถิ่น ที่เพาะปลูกไว้ จะทาให้เกิดครอบครัวตัวอย่างปลอดสารพิษ ดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะนาไปสู่สุขภาพกาย และจิตที่ดีของสมาชิกทุกคน เป็น แบบอย่างแก่ทุกครัวเรือนในชุมชนต่อไป กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน จานวน 106 คน ประกอบด้วย 1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 100 คน ได้แก่ 1.1.พ่อบ้านเกษตรกรและสตรี *แบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 50 ครัวเรือน (100 คน) อบรมกลุ่มละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน รวม 2 ครั้ง เป็นเวลา 2 วัน *หัวข้อและรูปแบบการจัดกิจกรรม มีแนวทางได้แก่ 1.การให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่อง “คุณค่าของครอบครัว และบทบาทของสามี-ภรรยาในวิถีท้องถิ่นอีสาน”
  • 9. 9 แม่บ้าน จานวน 50 คู่ รวม 100 คน 2.กลุ่มวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม จานวน 6 คน ได้แก่ 2.1.วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 2 คน 2.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร ชุมชน จานวน 1 คน 2.3.พี่เลี้ยง ได้แก่ หน่วยงานเจ้าของ โครงการ รวม 3 คน 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม กับตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพรชุมชน เรื่อง “มุมมองของผู้สูงวัย และความร่วมมือร่วมใจของบุตรหลาน เพื่อสร้างครอบครัวแห่งความสุข” *แบ่งกลุ่มเพื่อร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและกาหนดบทบาทหน้าที่ในการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุและ ความสุขของครอบครัว 3.กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติเพื่อการมีสุขภาพดี ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยแบ่งออกเป็นฐานกิจกรรม จานวน 3 ฐาน ได้แก่ 3.1.ฐานภูมิปัญญาเกษตรกรรมปลอดสารพิษ เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนปลูกพืชผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ 3.2.ฐานภูมิปัญญาเมนูท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนผลิตอาหารเพื่อโภชนาการซ่อม-เสริมสุขภาพ 3.3.ฐานภูมิปัญญาการออกกาลังกาย เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนใช้พืชสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ลดรายจ่าย 4.กิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสามี ภรรยา (การขอโทษ และการสัญญาที่จะกระทาหน้าที่ของตนอย่างดีเพื่อ ความสุขในครอบครัวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) 5.การปฏิญาณตนต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อถวายสัจอธิษฐานการมุ่งเป็นแบบอย่างคู่สมรสเพื่อความสุขของครอบครัว ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง *การติดตามประเมินผลการนาความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมไปปฏิบัติในครอบครัว ภายหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม จัดทาเป็น เอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 4.การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 4 ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการออกเยี่ยมและบริการด้านสุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมีคุณภาพจากสมาชิกในชุมชน
  • 10. 10 แนวคิดกิจกรรม : การให้ผู้สูงอายุในชุมชนทุกคนได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพโดยสมาชิกในชุมชน เป็นความมุ่งหมายสาคัญที่จะนาไปสู่ความต่อเนื่องและยั่งยืนต่อ การดารงชีวิตในชุมชนได้อย่างมีคุณภาพของผู้สูงอายุ เพื่อไปสู่ความมุ่งหมายดังกล่าว จาเป็นที่จะต้องจัดตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการขึ้น โดยเชิญผู้นาและ ตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนเข้ามาร่วมดาเนินการ รวมทั้งการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมให้คาแนะนาปรึกษาและสนับสนุนด้านต่าง ๆ อันจะเป็นพลังแห่งการบูรณาการสู่การขับเคลื่อนของทุกคนทุกฝ่ายในชุมชนต่อไป กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน จานวน 15 คน ประกอบด้วย 1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบลหนอง พลวง 1 คน 2.เกษตรอาเภอประทาย / พัฒนากร อาเภอ 1 คน 3.บาทหลวง 1 ท่าน 4.พระสงฆ์วัดหนองพลวง 1 รูป 5.ผู้อานวยการโรงเรียน / ตัวแทน 1 ท่าน 6.ผู้ใหญ่บ้าน / กานัน 1 คน 7.สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล 1 คน 8.ตัวแทนผู้สูงอายุ 1 คน 9.ตัวแทนพ่อบ้าน 1 คน 10.ตัวแทนแม่บ้าน 1 คน *หน่วยงานเจ้าของโครงการประสานงานเพื่อเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานดังกล่าวเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการบริหาร โครงการ *กาหนดจัดประชุมคณะกรรมการ รวม 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน รวม 4 วันตลอดโครงการ *หัวข้อการประชุม ได้แก่ การชี้แจงรายละเอียดโครงการและกิจกรรม การวางแผนการจัดกิจกรรม การรายงานผลการจัด กิจกรรม การติดตามประเมินและสรุปผลรายกิจกรรมและภาพรวมโครงการ การร่วมเผยแพร่ผลงานโครงการ และการ สนับสนุนต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงาน *รูปแบบการจัดประชุม ได้แก่ การจัดประชุมในห้องประชุม / พื้นที่เป้าหมายชุมชน (แล้วแต่สะดวก) โดยให้ความสาคัญต่อ การมีส่วนร่วมของทุกคนเพื่อร่วมเป็นภาคีเครือข่ายต่อไปแม้เมื่อโครงการแล้วเสร็จ *บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการฯ ได้แก่ 1.การเข้าร่วมประชุม รวม 4 ครั้งตลอดโครงการ 2.การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และวางแผนการดาเนินงาน 3.การกาหนดรูปแบบการณรงค์โดยให้จัดรายการเสียงตามสายให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ให้ศาสนสถานทั้งพุทธศาสนาและคริสตศาสนา โดยพระสงฆ์ / บาทหลวง เทศนาธรรมะความกตัญญูและเสริมสร้าง ความสุขในครอบครัวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 4.การจัดทาป้ายโปสเตอร์รณรงค์สร้างความตระหนักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ติดประชาสัมพันธ์ไว้ในพื้นที่สาธารณะ
  • 11. 11 11.ตัวแทนเยาวชน 1 คน 12.กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข จานวน 4 คน ได้แก่ หัวหน้า, รองหัวหน้า, เลขานุการและเหรัญญิก ของชุมชน จานวน 5 แผ่น (ข้อความ “ลูกหลานหนองพลวงห่วงใย ผู้สูงวัยแข็งแรง”) 5.การส่งเสริมให้จัดตั้งสวัสดิการชุมชนเพื่อผู้สูงอายุ และการประสานกับหน่วยงานภาครัฐเพื่อให้ผู้สูงอายุทุกคนได้รับ สวัสดิการที่รัฐจัดขึ้น 6.การติดตาม ประเมินและสรุปผลรายกิจกรรม 7.การประเมินและสรุปผลภาพรวมโครงการ เพื่อจัดทารายงานโครงการฉบับสมบูรณ์ส่ง สสส. และแก่หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการเผยแพร่ผลงานโครงการ จานวน 7 ฉบับ ได้แก่ สถานีอนามัยตาบลหนองพลวง, อบต.หนองพลวง, โรงเรียนบ้าน หนองพลวง, วัดหนองพลวง, วัดแม่พระเสด็จเยี่ยม (วัดคริสต์), ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน และแก่หน่วยงานเจ้าของโครงการ 8.การร่วมเผยแพร่ผลงานโครงการแก่หน่วยงานต่าง ๆ 9.การสนับสนุนด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ เทคนิควิธี วัสดุอุปกรณ์ วิทยากร ฯลฯ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงาน *ให้ผู้รับผิดชอบโครงการ / เลขานุการโครงการเป็นเลขานุการของคณะกรรมการโดยตาแหน่ง *การติดตามประเมินผลการร่วมเป็นภาคีเครือข่ายและกิจกรรมของกลุ่มคณะกรรมการฯ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ 5.การสารวจและจัดทาข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 4 ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการออกเยี่ยมและบริการด้านสุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมีคุณภาพจากสมาชิกในชุมชน แนวคิดกิจกรรม : การมีข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุเป็นพื้นฐานสาคัญในการสร้างเสริมสุขภาพ และการติดตามประเมินผลพัฒนาการสุขภาพ รวมทั้งการกาหนดแผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระยะยาวต่อไป การจัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้นในโครงการ จะช่วยให้ชุมชนซึ่งที่ผ่านมายังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ และ งบประมาณในการดาเนินงาน สามารถใช้ประโยชน์จากกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อคุณภาพและสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน จานวน 162 คน ประกอบด้วย *ข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ ได้แก่
  • 12. 12 1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 100 คน ได้แก่ 1.1.ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้น ไป จานวน 80 คน 1.2.ผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีอายุ ระหว่าง 51-59 ปี จานวน 20 คน 2.กลุ่มผู้ทาการสารวจข้อมูล จานวน 62 คน ได้แก่ 2.1.อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุในโครงการ 3.ที่ปรึกษาและพี่เลี้ยงกิจกรรม จานวน 2 คน ได้แก่ 3.1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบล หนองพลวง 3.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร ชุมชน 1.ข้อมูลสรุปสถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านหนองพลวง จานวน 1 ฉบับ 2.สมุดสุขภาพประจาตัวผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ จานวน 100 ฉบับ 3.แผนที่ผู้สูงอายุในชุมชน (หัวข้อและรายละเอียดของข้อมูลดังกล่าว อยู่ในเอกสารแนบที่ 1) *อาสาสมัครฯ แบ่งกลุ่ม โดยให้ อสม. เป็นหัวหน้ากลุ่ม เพื่อทาการออกเยี่ยมและสารวจข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ *การนาข้อมูลที่ได้เข้าสู่ที่ประชุมเพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปและจัดทาเป็นเอกสารดังมีรายละเอียดอยู่ในเอกสารแนบ ที่ 1 *การติดตามประเมินผลภาพรวมกิจกรรม จัดทาเป็นเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ
  • 13. 13 6.การจัดกิจกรรม “ชมรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง” เพื่อให้บริการด้านสุขภาพพื้นฐานแก่ผู้สูงอายุ โดยบทบาทของผู้สูงอายุ และ อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทั้งกายและทางจิตที่ดีขึ้น สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และซ่อมเสริมสุขภาพสมาชิกในกลุ่ม โดยการช่วยหนุนเสริมของอาสาสมัคร และครอบครัว อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แนวคิดกิจกรรม : การให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุโดยการออกเยี่ยมในครัวเรือน และโดยการรวมกลุ่มในชุมชน จะทาให้ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการ บริการด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง รวดเร็ว ประหยัด เป็นกันเอง และเกิดกาลังใจในการดาเนินชีวิต เนื่องจากตระหนักถึงความห่วงใยจากบุตรหลานในชุมชนซึ่งเป็นผู้ ให้บริการ ขณะเดียวกันกลุ่มผู้ให้บริการก็จะได้รับประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติจริง ทาให้สามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืนต่อไป กลุ่มเป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน จานวน 162 คน ประกอบด้วย 1.กลุ่มเป้าหมายหลัก จานวน 100 คน ได้แก่ 1.1.ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้น ไป จานวน 80 คน 1.2.ผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีอายุ ระหว่าง 51-59 ปี จานวน 20 คน 2.กลุ่มผู้ให้บริการด้านสุขภาพ จานวน 62 คน ได้แก่ 2.1.อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพ *กิจกรรม ดังกล่าว ประกอบด้วย 1.การออกเยี่ยมให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 2.การรวมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุเพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม และรับบริการด้านสุขภาพจาก อาสาสมัคร เดือนละ 1 ครั้ง ทั้งนี้มีรูปแบบการดาเนินงาน ของแต่ละกิจกรรม ดังนี้ 1.การออกเยี่ยมให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง รูปแบบ. 1.1.อาสาสมัครฯ ที่แบ่งกลุ่มออกเยี่ยมผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุในพื้นที่ความรับผิดชอบของตน 1.2.การให้คาแนะนาในการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุแต่ละคน รวมทั้งโรคตามฤดูกาล, โรคอุบัติใหม่ และสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ 1.3.การสาธิตและช่วยผู้สูงอายุ และบุตรหลานในการปฏิบัติสุขอนามัย / การพยาบาลผู้สูงอายุ / การจัดการสภาพแวดล้อม
  • 14. 14 ผู้สูงอายุในโครงการ 3.กลุ่มที่ปรึกษาและพี่เลี้ยงกิจกรรม จานวน 2 คน ได้แก่ 3.1.เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตาบล หนองพลวง 3.2.ตัวแทนผู้สูงอายุ / หมอสมุนไพร ชุมชน ครัวเรือน / การออกกาลังกาย เป็นต้น 1.4.การจดบันทึกข้อมูลพัฒนาการสุขภาพในสมุดสุขภาพประจาตัวผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ 2.การรวมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุเพื่อรับบริการด้านสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง รูปแบบ. 2.1.อาสาสมัครฯ เชิญชวนผู้สูงอายุ ผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ และบุตรหลานเข้าร่วมกิจกรรม 2.2.การนาเสนอข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน จากการออกเยี่ยมติดตามประเมินผลในรอบเดือน 2.3.กิจกรรมกลุ่มในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพระหว่างผู้สูงอายุ ผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ และอาสาสมัครฯ โดยเน้นให้ ผู้สูงอายุเป็นผู้ร่วมกันนาเสนอปัญหาด้านสุขภาพ และรูปแบบการป้องกันแก้ไข ตลอดจนการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม ผู้สูงอายุในการมีส่วนช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือกันและกันในกลุ่ม โดยให้อาสาสมัครฯ มีบทบาทในการเสริมหรือ สนับสนุนในส่วนที่ขาด ซึ่งจะทาให้กลุ่มผู้สูงอายุมีศักยภาพและความเข้มแข็งในการสร้างเสริมสุขภาพของตนและเพื่อน ผู้สูงอายุได้ต่อไป 2.4.การตรวจวินิจฉัยความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการ สอบถามการปฏิบัติพฤติกรรมด้านสุขภาพ 2.5.การสาธิตและฝึกปฏิบัติกิจกรรมที่ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุและบุตรหลาน นากลับไปปฏิบัติในครัวเรือนของตนได้ 2.6.การให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้ร่วมกาหนดเกณฑ์การตัดสิน และร่วมกันค้นหาเพื่อมอบเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชู เกียรติ ดังนี้ ก.ผู้สูงอายุสุขภาพดีตัวอย่าง จานวน 10 คน ข.บุตรหลานผู้สูงอายุตัวอย่าง จานวน 10 คน
  • 15. 15 *การติดตามประเมินผลภาพรวมพัฒนาการสุขภาพจากการจัดกิจกรรม จัดทาเป็นเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการบริหาร โครงการ การประเมินผล การประเมินผลมีรูปแบบการดาเนินงาน ดังนี้ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ผ่าน วัน/เวลาที่ประเมิน ผู้รับผิดชอบ 1 . เ พื่ อ ส ร้ า ง อาสาสมัครสร้าง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ผู้สูงอายุในกลุ่ม สตรีแม่บ้านและ บุตรหลานผู้สูงอายุ 1.การเกิดแกนนา อสม., และ สตรีแม่บ้าน รวมจานวน 62 คน ที่สามารถปฏิบัติงานสร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม 1.ผู้เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มี ความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตามสิ่งที่ อบรมได้อย่างถูกต้อง 2.มีผู้ผ่านการอบรมเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมใน ฐานะอาสาสมัครฯ ตลอดโครงการไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 1.ในวันสุดท้ายของการอบรม 2.ติดตามพฤติกรรมการปฏิบัติ หน้าที่เดือนละ 1 ครั้ง และ ประเมินผลภาพรวมการปฏิบัติ หน้าที่ของอาสาสมัครฯ ใน โครงการ ภายในวันสุดท้ายของ ระยะเวลาโครงการ (ใช้การ ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม) 1.ประธาน, รองประธาน และเลขานุการกลุ่ม อ า ส า ส มั ค ร ฯ 2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตาบล, และตัวแทน ผู้สูงอายุร่วมเป็นที่ปรึกษา วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ผ่าน วัน/เวลาที่ประเมิน ผู้รับผิดชอบ 2.เ พื่ อ ส ร้ า ง ครัวเรือนตัวอย่าง ด้ า น ก า ร เกษตรกรรมปลอด 1.การเกิดแกนนาครัวเรือน จานวน 50 ครัวเรือน ที่เป็น ตัวอย่างด้านสร้างเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุด้วยการเกษตรกรรม 1.ครัวเรือนที่เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถลดการใช้สารเคมีทาง การเกษตรในพืชผักสาหรับการบริโภคใน ครัวเรือน เดือนละ 1 ครั้งภายหลังการอบรม 1.ประธาน, รองประธาน และเลขานุการกลุ่ม อ า ส า ส มั ค ร ฯ 2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  • 16. 16 ส า ร พิ ษ แ ล ะ โภชนาการเพื่อการ ซ่อมเสริมสุขภาพ ที่เหมาะสมต่อวัย สู ง อ า ยุ ต า ม ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ป ล อ ด ส า ร พิ ษ แ ล ะ ก า ร โภชนาการซ่อมเสริมตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.ครัวเรือนที่เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ปรุงอาหารที่สุก สะอาด และมีคุณค่า ทางโภชนาการให้กับสมาชิกในครอบครัว ได้รับประทาน 3.พ่อบ้าน แม่บ้าน และสมาชิกใน ครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกับผู้สูงอายุใน ครอบครัวอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง (เช่น ทาบุญ ตักบาตร, การรับประทานอาหาร, การออกกาลังกาย เป็นต้น) ตาบล, ตัวแทนพ่อบ้าน ตัว แทนแม่บ้านและ ตัวแทนผู้สูงอายุร่วมเป็นที่ ปรึกษา วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ผ่าน วัน/เวลาที่ประเมิน ผู้รับผิดชอบ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมี สุขภาพทั้งกายและ ทางจิตที่ดีขึ้น 1.ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และซ่อมเสริม สุขภาพสมาชิกในกลุ่ม โดยการ ช่วยหนุนเสริมของอาสาสมัคร และครอบครัว อย่างน้อยเดือน ละ 1 ครั้ง 2.ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับ การออกเยี่ยมและบริการด้าน สุขภาพอนามัยพื้นฐานอย่างมี คุณภาพจากสมาชิกในชุมชน 1.ผู้สูงอายุสามารถควบคุมระดับน้าตาล และความดันโลหิตได้ ไม่ส่งผลให้เกิด ความเจ็บป่วย 2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมทากิจกรรมสร้างเสริม สุขภาพของกลุ่มร่วมกันเดือนละ 1 ครั้ง 3.อาสาสมัครและบุตรหลานฯ ให้การออก เยี่ยม และช่วยหนุนเสริมด้านสุขภาพแก่ ผู้สูงอายุเป็นประจาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 1.เดือนละ 1 ครั้งภายหลังการ อบรม 1.ประธาน, รองประธาน และเลขานุการกลุ่ม อ า ส า ส มั ค ร ฯ 2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตาบล, และตัวแทน ผู้สูงอายุร่วมเป็นที่ปรึกษา
  • 17. 17 งบประมาณ งบประมาณ โครงการ จานวนทั้งหมด 371,720 บาท โดยมีรายละเอียดแยกตามกิจกรรม ดังตารางงบประมาณด้านล่างต่อไปนี้ กิจกรรมที่ 1.การจัดอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 62 คน 50 2 6200 ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 6 คน 100 2 1200 ค่าอาหารว่าง 68 คน 25 2 2 6800 ค่าอาหารกลางวัน 68 คน 50 2 1 6800 ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม รวมทั้งการสาธิตและฝึกปฏิบัติ 68 คน 100 2 13600 ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1500 2 3000 ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 1000 2 6000 ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 3 คน 500 2 3000 สนับสนุนค่าพาหนะผู้เข้าร่วมกิจกรรม 62 คน 100 2 12400 ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติแต่งตั้งเป็นอาสาสมัครฯ ในโครงการ 62 คน 100 1 6200 ค่าจัดพิธีกรรม (เหมาจ่าย) 1500 1 1500 ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 2 400 ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรมและจัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 1 เล่ม 2000 2000 รวมเป็นเงินในกิจกรรม 69100
  • 18. 18 กิจกรรมที่ 2.การจัดประชุมกลุ่ม (อบรมต่อเนื่องประจาเดือน) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 62 คน 20 6 7440 ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 2 คน 50 6 600 ค่าอาหารว่าง 64 คน 25 6 1 9600 ค่าอาหารกลางวัน 64 คน 50 6 1 19200 ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 64 คน 50 6 19200 ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 500 6 3000 ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 500 6 6000 ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 6 1800 ค่าเก็บรวบรวมข้อมูลที่แต่ละกลุ่มนาเสนอเป็นรูปเล่มเอกสาร 1 เล่ม 500 1 500 ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 100 6 600 รวมเป็นเงินในกิจกรรม 67940 กิจกรรมที่ 3.การจัดอบรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัวผู้สูงอายุตัวอย่างในชุมชน รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน 50 2 5000
  • 19. 19 ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 6 คน 100 2 1200 ค่าอาหารว่าง 56 คน 25 2 2 5600 ค่าอาหารกลางวัน 56 คน 50 2 1 5600 ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 56 คน 100 2 11200 ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1500 2 3000 ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 1000 2 6000 ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 3 คน 500 2 3000 สนับสนุนค่าพาหนะผู้เข้าร่วมกิจกรรม (คิดเป็นรายครัวเรือน) 50 ครัว 100 1 5000 ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 2 รุ่น 600 ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติ (คิดเป็นรายครัวเรือน) 50 ครัว 100 1 5000 ค่าจัดพิธีกรรม (เหมาจ่าย) 1500 2 3000 ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 1 200 ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม จัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 2000 1 2000 รวมเป็นเงินในกิจกรรม 56400 กิจกรรมที่ 4.การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 15 คน 100 4 6000
  • 20. 20 ค่าอาหารว่าง 15 คน 30 4 2 3600 ค่าอาหารกลางวัน 15 คน 60 4 1 3600 ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 15 คน 100 4 6000 ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1000 4 4000 สนับสนุนค่าพาหนะผู้เข้าร่วมกิจกรรม 15 คน 300 4 18000 ค่าจัดทาเอกสารรายงานสรุปผลโครงการ 8 เล่ม 500 4000 ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติคณะกรรมการ 15 คน 100 1500 ค่าจัดทาป้ายเพื่อรณรงค์ในชุมชน 5 แผ่น 800 1 4000 ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 4 800 ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม 2000 1 2000 รวมเป็นเงินในกิจกรรม 53500 กิจกรรมที่ 5.การสารวจและจัดทาข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน ค่าเอกสารแบบสารวจข้อมูลผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ 100 คน 50 5000 ค่าสมุดบันทึกสุขภาพประจาตัวผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ 100 คน 100 10000 ค่าจัดทาเอกสารสรุปข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง 1 เล่ม 1000 1000 ค่าอาหารว่าง เครื่องดื่ม และค่าตอบแทน ผู้ทาการสารวจ (เหมาจ่ายโดยคิดตามรายหัวผู้สูงอายุ) 100 คน 50 5000
  • 21. 21 ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 2 คน 500 2 2000 ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 1 300 ค่าจัดทาแผนที่ผู้สูงอายุในชุมชน 3 แผ่น 800 1 2400 ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 1 200 ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม จัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 2000 1 2000 รวมเป็นเงินในกิจกรรม 27900 กิจกรรมที่ 6.การจัดกิจกรรม “ชมรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง” เพื่อให้บริการด้านสุขภาพพื้นฐานแก่ผู้สูงอายุ โดยบทบาทของผู้สูงอายุ และอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ รายการจ่าย จานวน ราคา ครั้ง มื้อ รวมเป็นเงิน ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการออกเยี่ยมผู้สูงอายุ + ค่าติดต่อประสานงานเพื่อเชิญผู้สูงอายุเข้า ร่วมกิจกรรมของชมรม (เหมาจ่าย) 100 คน 20 6 12000 ค่าติดต่อประสานงานและจัดทาเอกสารเชิญวิทยากรและพี่เลี้ยงกิจกรรม 2 คน 50 6 600 ค่าอาหารว่าง 164 คน 15 6 1 14760 ค่าอาหารกลางวัน 164 คน 30 6 1 29520 ค่าเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม 100 คน 30 6 18000 ค่าสถานที่จัดกิจกรรม 1 แห่ง 1500 6 9000 ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 2 คน 500 6 6000
  • 22. 22 ค่าเอกสารรายงานสรุปผลกิจกรรมส่งให้คณะกรรมการบริหารโครงการ 1 เล่ม 300 6 1800 ค่าจัดทาเกียรติบัตรและรางวัลเชิดชูเกียรติ (ผู้สูงอายและบุตรหลาน) 20 คน 100 1 2000 ค่าล้างอัดภาพถ่ายกิจกรรม 200 6 1200 ค่าติดตามประเมินผลภายหลังกิจกรรม จัดทาเอกสารสรุปผลส่งให้คณะกรรมการ 2000 1 2000 รวมเป็นเงินในกิจกรรม 96880 ปฏิทินกิจกรรม กิจกรรม 1 มกราคม - 31 ธันวาคม พ.ศ.2554 รวม 1 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1.การจัดอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ   2.การจัดประชุมกลุ่ม (อบรมต่อเนื่องประจาเดือน) เพื่อพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ       3.การจัดอบรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัวผู้สูงอายุตัวอย่างใน ชุมชน   4.การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ     5.การสารวจและจัดทาข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ  6.การจัดกิจกรรม “ชมรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง” เพื่อ ให้บริการด้านสุขภาพพื้นฐานแก่ผู้สูงอายุ โดยบทบาทของผู้สูงอายุ และ อาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในโครงการ      
  • 23. 23 องค์กรภาคีเครือข่าย 1.สถานีอนามัยตาบลหนองพลวง บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ 1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ 2.การเป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ 3.การเป็นผู้ตรวจวินิจฉัยโรค และติดตามผลพัฒนาการผู้สูงอายุ ร่วมกับอาสาสมัครฯ ในโครงการ 2.โรงเรียนบ้านหนองพลวง บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ 1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ 2.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และเชิญชวนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ 3.การรณรงค์สร้างคุณธรรมความกตัญญูในกลุ่มนักเรียนเพื่อนากลับไปปฏิบัติในครอบครัว 3.สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด (ในเบื้องต้นจะประสานกับพัฒนากรอาเภอ ก่อน) บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ 1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ 2.การเป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านสิทธิและสวัสดิการภาครัฐต่อผู้สูงอายุ 3.การให้คาแนะนาปรึกษาด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้อยู่ในภาวะ ลาบาก 4.องค์การบริหารส่วนตาบลหนองพลวง บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ 1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ 2.การสนับสนุนสื่อเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเสริมสร้างชุมชนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุตาม แนวทาง / แผนงานของ อบต. 3.การให้คาแนะนาปรึกษา การสารวจ และสงเคราะห์ / พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้อยู่ใน ภาวะลาบากของชุมชน 5.วัดบ้านหนองพลง (ศาสนาพุทธ) บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ
  • 24. 24 1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ 2.การเป็นวิทยากรเทศนาธรรมะเพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุ 3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา 6.วัดแม่พระเสด็จเยี่ยม (โบสถ์คาทอลิก) บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ 1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ 2.การเป็นวิทยากรเทศนาธรรมะเพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุ 3.การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมในวันสาคัญทางศาสนา 7.ชมรมผู้สูงอายุเขตการปกครองคาทอลิกส่วนภูมิภาคนครราชสีมา บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ 1.การให้คาแนะนาปรึกษาด้านคุณธรรม และแนวปฏิบัติศาสนาคริสต์ต่อผู้สูงอายุ และการจัดตั้งชมรม ผู้สูงอายุ 2.การสนับสนุนด้านสื่อทางศาสนา วิทยากรและบุคลากรในการอบรมเพื่อสร้างอาสาสมัครสร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ 8.ศูนย์สังคมพัฒนา สังฆมณฑลนครราชสีมา บทบาท และการสนับสนุนในโครงการ 1.การเป็นคณะกรรมการบริหารโครงการ 2.การร่วมในการติดตามประเมินผลโครงการ 3.การให้ความรู้และคาแนะนาในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน บริบทชุมชนศาสนาคริสต์ ความต่อเนื่องและยั่งยืน มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ 1.กลุ่มอาสาสมัครสร้างเสริมสุขภาพมูลฐานชุมชนบ้านหนองพลวง โดย 1.1.การออกเยี่ยม ให้ความรู้ คาแนะนา และบริการด้านสุขภาพที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ ตลอดจน การติดตามประเมินผลเป็นประจาต่อไป
  • 25. 25 1.2.การเชิญชวนกลุ่มอาสาสมัครฯ ในโครงการที่ผ่านการอบรม ให้เข้าร่วมในกิจกรรมข้อ 1.1. รวมทั้งการติดตามประเมินผลพฤติกรรมอาสาสมัครฯ เพื่อให้มีส่วนร่วมดาเนินงานกับกลุ่ม อสม. ต่อไป 1.3.การประสานกับสถานีอนามัยตาบลหนองพลวง เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ร่วมออกเยี่ยม และให้บริการด้านสุขภาพในชุมชนเป็นประจาต่อไป โดยให้อาสาสมัครฯ ในโครงการร่วมกับ อสม. เป็น ผู้ช่วยในกิจกรรม 2.ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน ในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการ โดย 2.1.การจัดรายการเสียงตามสายเพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ และการสร้างความตระหนักใน การมีส่วนร่วมของประชากรในชุมชนต่อผู้สูงอายุ 2.2.การประสานกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคศาสนา และภาคประชาสังคมเพื่อร่วมจัดกิจกรรม / การ ให้สิทธิสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุทุกคน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้อยู่ในภาวะลาบาก 3.ศาสนสถานของชุมชน โดย 3.1.การขอความร่วมมือพระสงฆ์ และบาทหลวงในการเทศนาธรรมะ และจัดกิจกรรมทางศาสนาที่ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัยและคุณค่าผู้สูงอายุ เพื่อให้ประชากรเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพผู้สูงอายุต่อไป การขยายผล ดาเนินการ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ่มอาสาสมัครฯ ในโครงการ มีแนวทาง ดังนี้ 1.1.โดยให้เข้าร่วมรับการอบรมเพื่อร่วมเป็นสมาชิก / ผู้ช่วยกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน ชุมชนบ้านหนองพลวง เพื่อเพิ่มจานวนและสืบต่อการทางานของกลุ่มต่อไป 1.2.โดยให้เข้าร่วมกลุ่ม “เวชบุคคลคาทอลิก” ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มบุคลากรและแกนนาการแพทย์ และสาธารณสุขศาสนาคริสต์ มีการจัดประชุมสัมมนาปีละไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง ซึ่งจะทาให้อาสาสมัครฯ มี ความรู้ความเข้าใจและมีศักยภาพที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนมีเครือข่ายเพื่อร่วมกันสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุต่อไป 2.กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุ มีแนวทางดังนี้ 2.1.การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุบ้านหนองพลวง ให้มีการรวมกลุ่มพบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับ บริการทางการสาธารณสุขจากอาสาสมัครฯ ในโครงการ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง