SlideShare a Scribd company logo
1 of 95
Download to read offline
การประเมินโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
ระดับเขต
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
การประเมินโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
ระดับเขตสุขภาพที่ 12
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
อ.ระโนด จ.สงขลา
ป 2560
1
ตําบลดีเดน
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
2
ขอมูลทั่วไป
1.1 ประวัติ
ประวัติความเปนมา
ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา มี 5 หมูบาน คําวาบอตรุ มีที่มาจาก “บอตรุเงิน บอตรุ
ทอง” ซึ่งในสมัยกอนชาวบานไดนําเงินทองที่จะไปทําบุญกอสรางเจดียวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด
นครศรีธรรมราช ระหวางทางเกิดพายุจึงไดนําเงินทองมาฝงไวบริเวณนี้และเรียกชื่อบริเวณนี้วา “บอตรุ”จนถึง
ปจจุบัน กํานันคนแรกของตําบลบอตรุชาวบานเรียกวา “ชายจอม” ไดรับพระราชทานนามสกุลจากร.5วา
“นิยมเดชา” ชาวบานสวนใหญในบานบอตรุจึงนิยมใชนามสกุลนิยมเดชาตามกันมา
ที่ตั้ง ขนาดและอาณาเขต
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา รับผิดชอบพื้นที่ จํานวน 5
หมูบาน มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้
- ทิศเหนือ จด ตําบลวัดสน อําเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา
- ทิศใต จด ตําบลชุมพล อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
- ทิศตะวันออก จด ทะเลอาวไทย
- ทิศตะวันตก จด ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ จังหวัดสงขลา
N
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ่อตรุ
แผนทีตําบลบ่อตรุ
อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา
สัญลักษณ์
รพ.สต.บ่อตรุ
ถนน
วัด
มัสยิด
โรงเรียน
ต.วัดสน
อ.สทิงพระ
อ.กระแสสินธุ์
หมู่ 4
บ้านวัดประดู่
หมู่ 5
บ้านโพธิ
หมู่ 3
บ้านพังขีพร้า
หมู่ 2
บ้านเจดีย์งาม
หมู่ 1
บ้านบ่อตรุ
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก
เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง
ลักษณะภูมิอากาศ
มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี
ทะเลอาวไทย มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล
1.3 ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร
ประชากร
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ
1,595 หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล
3,186 คน หญิง 3,475 คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ
อากาศ
พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก
เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง
มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี 2ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล
ทะเลอาวไทย มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล
ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ 5 หมูบาน 1,740 หลังคาเรือน เขตเทศบาล
หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล 145 หลังคาเรือน ประชากร
คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ ดังปรามิดประชากรตอไปนี้
3
พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก
ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล ชายฝง
หลังคาเรือน เขตเทศบาล
หลังคาเรือน ประชากร 6,661 คน เพศชาย
ดังปรามิดประชากรตอไปนี้
4
ตาราง 1 จํานวนหลังคาเรือนและประชากรจากการสํารวจ จําแนกรายหมูบานในความรับผิดชอบของ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป พ.ศ.2560
ลําดับที่ ชื่อหมูบาน หมูที่ หลังคาเรือน ประชากร (คน)
ชาย หญิง รวม
1. บานบอตรุ 1 535 1,207 1,307 2,514
2. บานเจดียงาม 2 402 668 702 1,370
3. บานพังขี้พรา 3 252 467 525 992
4. บานวัดประดู 4 177 240 299 539
5. บานโพธิ์ 5 374 603 643 1,246
รวม - 1,740 3,185 3,476 6,661
ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560
ตาราง 2 ประชากรตําบลบอตรุตามกลุมวัยที่สําคัญ ป 2560
กลุมวัย จํานวน (คน) รอยละ
กลุมอายุ 0-5 ป 494 7.42
นักเรียน
-ป.1-6
-ม.1-3
630
140
9.46
2.10
กลุมอายุ 15-19 ป 526 7.89
กลุมอายุ 20-59 ป
กลุมผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป 1,284 19.27
9.2ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560
ดานสังคมวัฒนธรรมและประเพณี
ตําบลบอตรุมีวัฒนธรรมประเพณีสืบตอกันมาตั้งแตบรรพบุรุษ จนถึงปจจุบัน ดังนี้
1. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันขึ้นปใหม วันที่ 1 มกราคม ของทุกป
2. ประเพณีทําบุญวันมาฆบูชา
3. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันวาง ( วันสงกรานต 13 เมษายน )
4. ประเพณีรดน้ําดําหัวขอพรผูสูงอายุ ในสัปดาหผูสูงอายุแหงชาติ เดือนเมษายน ของทุกป
5. ประเพณีทําบุญวันวิสาขบูชา
6. ประเพณีทําบุญวันเขาพรรษา
7. ประเพณีทําบุญวันสารทเดือนสิบ เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกบรรดาญาติมิตรที่ลวงลับไปแลว ซึ่งจะมี
การทําบุญตักบาตรปละ 2 ครั้ง ในวันแรม 1 ค่ํา และวันแรม 15 ค่ํา เดือนสิบของทุกป
8. ประเพณีทําบุญลากพระ ในวันแรม 1 ค่ําเดือน 11 หลังออกพรรษา มีกิจกรรมแหเรือทรงพระทาง
บกและทางน้ําใหชาวบานไดรวมทําบุญตักบาตรและแขวนขนมตม มีการประกวดเรือทรงพระ แขงตีโพน แขง
ทําขนมตม แขงขบวนกลองยาวและแขงเรือพาย
5
9. ประเพณีการทําบุญทอดกฐิน เพื่อทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา
10. ประเพณีลอยกระทง ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 ของทุกป
11. เดือนรอมฎอน (การถือศีลอดในศาสนาอิสลาม) ปละ 1 ครั้ง
1.4 การคมนาคม ขนสงและระบบสาธารณูปโภค
การคมนาคมของประชาชนในการเดินทางระหวางอําเภอ และระหวางจังหวัด สวนใหญเดินทางโดย
รถโดยสารรับจางประจําทาง และรถยนตรับจาง(ไมประจําทาง) โดยมีถนนสายหลัก คือ ระโนด - สงขลา
การคมนาคมภายในอําเภอ(ระหวางตําบล / หมูบาน) สวนใหญเดินทางโดยรถยนตรับจาง รถจักรยานยนต
รับจาง
การคมนาคมในหมูบาน สวนใหญจะเดินทางโดย รถจักรยานยนตรับจาง /สวนบุคคล โดยมีถนน
คอนกรีตภายในหมูบาน
สําหรับการเดินทางของประชาชน จากหมูบานเพื่อมารับบริการที่ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
บอตรุตําบลบอตรุ การคมนาคมสะดวก ใชเวลาไมมาก สวนใหญจะเดินทางโดย รถยนตสวนบุคคล
รถจักรยานยนตรับจาง/สวนบุคคล ระยะทางจาก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ถึง
- ทางหลวงแผนดินหมายเลข 408 ระโนด – สงขลา 1 กิโลเมตร
- โรงพยาบาลระโนด 30 กิโลเมตร
- สํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด 32 กิโลเมตร
- โรงพยาบาลสงขลา 68 กิโลเมตร
- โรงพยาบาลศูนยหาดใหญ 98 กิโลเมตร
1.5 เศรษฐกิจ
เนื่องจากภูมิประเทศเปนที่ราบลุมอยูระหวางทะเลสาบและอาวไทย จึงทําใหเหมาะแกการ
เกษตรกรรม ประชาชนมีอาชีพหลักคือ ทํานา เลี้ยงกุง ประมงชายฝงและอาชีพเสริมคือ การเลี้ยงสัตว
ขอมูลอาชีพ(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด) มีดังนี้
- ทํานา รอยละ 34.34
- รับจางทั่วไป รอยละ 14.58
- คาขาย ธุรกิจสวนตัว รอยละ 8.78
- ราชการ เจาหนาที่รัฐและรัฐวิสาหกิจ รอยละ 3.21
- ทําไร ทําสวน ประมงและปศุสัตว รอยละ 3.04
- วางงาน รอยละ 9.85
- กําลังศึกษา รอยละ 20.67
รายไดประชากร(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด)
- เขตเทศบาล รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 255,905 บาทตอป
รายไดเฉลี่ยตอคน 68,072 บาทตอป
- เขตชนบท(อบต.) รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 279,877 บาทตอป
รายไดเฉลี่ยตอคน 94,193 บาทตอป
6
1.6 สิ่งแวดลอม
รายการ จํานวน
(แหง)
1.6.1 โรงงานอุตสาหกรรมและสถานที่ผลิตอาหาร
-สถานที่ผลิตอาหารและน้ําดื่ม 2
1.6.2 สถานบริการสาธารณสุขเอกชน
รานขายยา/สถานพยาบาล 2
1.6.3 รานอาหาร แผงลอย
-รานขายของชํา 33
-รานอาหาร แผงลอยจําหนายอาหาร 5
-แผงจําหนายอาหารสด 5
-รานเสริมสวย 4
-ตลาดนัด 3
1.6.4 อื่นๆ
-รานเกมส 1
-คอกหมู/คอกวัว 1
-โรงสีขาว 2
-รานซอมรถจักรยานตยนต 3
-ลางอัดฉีด 2
1.7 ทุนทางสังคม /ศักยภาพชุมชน
รายการ จํานวน
1.7.1 กองทุน
1.กลุมสัจจะวันละบาท 1 แหง
2.กองทุนสัจจะออมทรัพย 1 แหง
3.กองทุนเงินลาน 4 แหง
1.7.2 องคกรทางสังคม
1.ชมรมอสม. 1 ชมรม
2.ชมรมผูสูงอายุ 1 ชมรม
3.ชมรมออกกําลังกาย 2 ชมรม
4.กลุมปลูกผักปลอดสารพิษ 1 ชมรม
5.วิทยุชุมชน 1 แหง
1.7.3 บุคคลสําคัญ ผูนํา
1.หมอพื้นบาน 1 คน
2.หมอนวดแผนไทย 2 คน
3.พระ/ผูนําศาสนา 10 รูป/2 คน
7
สวนที่ ๒ ผลการวิเคราะหสภาพปญหาและระบบสาธารณสุข
2.1 สภาพปญหาในพื้นที่
ตาราง 3 อัตราปวยโรคที่สําคัญของประชาชนตําบลบอตรุ ป 2557-2559
โรค อัตราปวย
1.ไขเลือดออก ป 2557 อัตราปวย 53.83 ตอแสนประชากร
ป 2558 อัตราปวย 27 ตอแสนประชากร
ป 2559 อัตราปวย 263 ตอแสนประชากร
2. โรคระบบเมตาบอลิก
2.1 ความดันโลหิตสูง ป 2557 อัตราปวย 6971 ตอแสนประชากร
ป 2558 อัตราปวย 9600 ตอแสนประชากร
ป 2559 อัตราปวย 9743 ตอแสนประชากร
2.2 เบาหวาน ป 2557 อัตราปวย 3916 ตอแสนประชากร
ป 2558 อัตราปวย 4536 ตอแสนประชากร
ป 2559 อัตราปวย 6110 ตอแสนประชากร
3.ภาวะสุขภาพผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียง ป 2559 ผลการสํารวจADL
-ติดสังคม รอยละ 94.56
-ติดบาน รอยละ 4.56
-ติดเตียง รอยละ 0.88
ที่มา : ขอมูลกลางป รพ.สต.บอตรุป 2557 - 2559
2.2 วิสัยทัศน (vision) รพ.สต.บอตรุมีวิสัยทัศน คานิยมและพันธกิจดังนี้
เปนสถานบริการที่มีมาตรฐาน ผานเกณฑคุณภาพ บริการสุขภาพแบบองครวม ผสมผสานการมีสวน
รวมของภาคีเครือขาย มุงเนนใหประชาชนมีสุขภาพดีและชุมชนพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืน
2.3 พันธกิจ (mission)
1. พัฒนาสถานบริการดานบริหาร บริการและวิชาการใหมีคุณภาพมาตรฐาน ภายใตการมีสวนรวม
ของทุกภาคสวน
2. สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาโดยกระบวนการของชุมชน
3. สงเสริมสนับสนุนใหประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
4. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือขายในพื้นที่ใหเขมแข็ง มีสวนรวมในการพัฒนาสถานบริการและดูแล
ประชาชนในพื้นที่ใหมีสุขภาวะที่เหมาะสม
8
2.4 แผนยุทธศาสตรสุขภาพ
รพ.สต.บอตรุ ไดจัดทําแผนยุทธศาสตร ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตรสอดคลองกับสสจ.สงขลาและ
เครือขายบริการสุขภาพอําเภอระโนด(CUP) ดังนี้
1) ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการสงเสริมปองกันและควบคุมโรคโดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย
2) ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพใหมีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงเครือขาย
3) ยุทธศาสตรที่ 3 ระบบบริหารจัดการกําลังคน
4) ยุทธศาสตรที่4 การบริหารจัดการภาครัฐ
2.5 โครงสรางเครือขายบริการสุขภาพ
2.5.1 โครงสรางการบริหารของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
สายบังคับบัญชา สายประสานงาน
ผูวาราชการจังหวัดสงขลา
นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม
นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
นายแพทยอุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
นายอําเภอระโนด
นายสุรชัย วงศศุภลักษณ
เทศบาล
องคการบริหารสวนตําบล
สาธารณสุขอําเภอระโนด
นายนพพร นิลรัตน
โรงพยาบาลระโนด
นายแพทยวรพจน เจียมอมรรัตน
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
นางจิตรทิพย จันมณี
9
2.5.2 เครือขายบริการสุขภาพของรพ.สต.บอตรุ สถานบริการสาธารณสุขโซนใต
รายการ บุคลากร (คน)
1. รพ.สต.บอตรุ 8
2. รพ.สต.วัดสน 5
3. รพ.สต.ระวะ 5
4. รพ.สต.พังยาง 4
2.5.3 บุคลากร การแบงงานและหนาที่รับผิดชอบของบุคลากร รพ.สต.บอตรุ
ชื่อ สกุล ตําแหนง หนาที่งานรับผิดชอบ
1.นางจิตรทิพย จันมณี ผอ.รพ.สต.บอตรุ
(นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ)
- งานบริหารทั่วไป
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 5
2.นายศักดิ์กยะ บุญรอด นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ - งานวิชาการสาธารณสุข
- งานควบคุมโรคติดตอ
- งานสุขภาพภาคประชาชน
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 4
3.นางสุพร ลอยลิบ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
(เวชปฏิบัติรักษาพยาบาลเบื้องตน )
- งานแมและเด็ก
- งานโรคไมติดตอและคลินิกบริการ
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 2
4.นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
(เวชปฏิบัติรักษาพยาบาลเบื้องตน )
- งานการพยาบาล
- งานควบคุมปองกันการติดเชื้อ
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 2
5.นางสาวนุริสา ดีสะธรรม เจาพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน - งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค
- งานสงเสริมพัฒนาการเด็ก
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 1
6.นางสาวภัสสร ไทยราษฎร เจาพนักงานทันตสาธารณสุข
ปฏิบัติงาน
- งานทันตสาธารณสุข
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 3
7.นางสาวสาวิตรี ชูแกว นักวิชาการสาธารณสุข - งานคุมครองผูบริโภค
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 5
8.นางสาวทิพยภาภรณ เจิมขวัญ นักวิชาการสาธารณสุข - งานบัตรประกันสุขภาพ
- งานยาและเวชภัณฑ
- จนท.ประจําครอบครัวหมู 1
ขอมูล ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2560
10
2.6 ความทาทายเชิงกลยุทธ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ไดจัดระดับประเด็นความสําคัญของการปรับปรุงและพัฒนา
องคกรตามแผนยุทธศาสตรของจังหวัดและเครือขายบริการปฐมภูมิ มากําหนดความทาทายเชิงกลยุทธดังนี้
แผนยุทธศาสตร4 ดานประกอบดวย
1) ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการสงเสริมปองกันและควบคุมโรคโดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย
2) ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพใหมีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงเครือขาย
3) ยุทธศาสตรที่ 3 ระบบบริหารจัดการกําลังคน
4) ยุทธศาสตรที่4 การบริหารจัดการภาครัฐ
11
หมวด 1
การนําองคกรและการจัดการดี
1.ภาวะผูนํา การนํา ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบตอสังคม
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้
หัวขอ รายละเอียด
1. ภาวะผูนําของผูบริหารองคกร
1.1 การทํางานรวมกันของคณะกรรมการสุขภาพ
ตําบล
1.มีการแตงตั้งคณะกรรมการสุขภาพตําบล
2.มีการประชุมเพื่อรวมกันวางแผน ติดตามและ
ประเมินผลการทํางานรวมกันของคณะกรรมการ
สุขภาพตําบล มีการจัดทําหลักฐาน สมุดบันทึกการ
ประชุม
1.2 การกําหนดและถายทอดทิศทาง 1.มีวิสัยทัศน พันธกิจ วัฒนธรรมองคกร
2.มีการจัดทําแผนยุทธศาสตรของรพ.สต.บอตรุ
โดยมีแนวทางการจัดทําแผนดังนี้
-มีความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของCUP และ
สสจ.สงขลา
-มีการนําปญหาในบริบทของพื้นที่จากการประชาคม
สุขภาพตําบลบอตรุ มาไวในแผนฯ ไดแก โรค
ไขเลือดออก เบาหวานและความดันโลหิตสูงและการ
ดูแลผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียง
-มีการวิเคราะหผลการปฏิบัติงานปที่ผานมาแลว
นํามาจัดทําแผนฯ
3.มีการสรุปผลงานตามแผนฯ
1.3 การกํากับดูแล -มีการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและมีการ
ตรวจสอบภายใน
1.4 การจัดการขอรองเรียน -มีโครงสรางคณะกรรมการจัดการขอรองเรียน
-มีการจัดทํากลองรองทุกขและเอกสารการรองเรียน
-มีระบบจัดการขอรองเรียน
1.5 การทบทวนผลการดําเนินงาน -มีการจัดทําแผนปฏิบัติการ
-มีการวิเคราะหผลการดําเนินงานและทบทวนแผนฯ
และการปฏิบัติงาน
-มีการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการควบคุมกํากับงาน
ผาน DATACENTER ของอําเภอระโนด บุคลากร
สามารถเขาถึงและสามารถนํามาทบทวนและ
ปรับปรุงแผนฯและผลงาน
12
ตอ
หัวขอ รายละเอียด
2.ความรับผิดชอบตอสังคม
2.1การดําเนินการอยางมีจริยธรรม -มีการจัดทําวัฒนธรรมองคกร มีการแจงแกบุคลากร
และใหบุคลากรนําไปปฏิบัติในการทํางาน
-มีการจัดทําแนวทางการรักษาความลับขอมูลและ
สารสนเทศ เพื่อปองกันความเสียหายแกผูรับบริการ
กรณีหนวยงานหรือบุคคลภายนอกมาขอเอกสารหรือ
สารสนเทศดานสุขภาพ
2.2 การใหการสนับสนุนตอชุมชนที่สําคัญ -มีการใหความชวยเหลือและระดมของชวยเหลือ
ประชาชนที่ประสบอุทกภัย เมื่อ ธันวาคม 2559
-การสนับสนุนยาและเวชภัณฑแกโรงเรียนในพื้นที่
-การรวมกับกระทรวงมหาดไทยเพื่อคัดกรอง คนหา
ผูใชสารเสพติดในชุมชน
-การรวมมาตรการลดอุบัติเหตุบนทองถนนในชวง
เทศกาลปใหมและสงกรานตกับหนวยงานอื่น
-การรวมงานอําเภอระโนดเคลื่อนที่ เพื่อใหบริการ
ประชาชนในตําบลบอตรุ เมื่อ 18 พฤษภาคม 2560
ณ วัดประดู ต.บอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา
-การจัดหนวยปฐมพยาบาลงานแหผาขึ้นธาตุวัดเจดีย
งาม ในวันวิสาขบูชาของทุกป
-การจัดหนวยปฐมพยาบาลงานกีฬาเทศบาลบอตรุใน
ทุกป
3.แผนกลยุทธดานสุขภาพ
3.1 การจัดทํายุทธศาสตรและกลยุทธ -มีการจัดทําแผนยุทธศาสตรของรพ.สต.บอตรุ
-มีความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของCUP และ
สสจ.สงขลา
-กระบวนการจัดทําแผน มีการวิเคราะหสถานการณ
โดยใชวิธี SWOT Analysis รวมกันและรวมกัน
กําหนดแผนยุทธศาสตร
-มีการกําหนดเปาประสงค ตัวชี้วัด เปาหมาย
ระยะเวลาและกลวิธีดําเนินงาน
3.2 การนํากลยุทธไปปฏิบัติ
3.2.1 การจัดทําแผนปฏิบัติการ
-มีการจัดทําแผนปฏิบัติการตามแผนกลยุทธ
-มีการชี้แจงแผนฯ ตัวชี้วัดแกบุคลากร
-มีการทบทวนผลงานตัวชี้วัดรวมกันและมีการ
ปรับปรุงแผนฯ
13
ภาพ 1 การใหการสนับสนุนตอชุมชนของรพ.สต.บอตรุในเหตุการณอุทกภัย ธันวาคม 2559
2. ระบบงาน กระบวนการที่สําคัญ
2.1 การจัดการการเงินและบัญชี
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้
หัวขอ รายละเอียด
การจัดการ การเงินการบัญชี
1.ระบบรายงานและกระบวนการสําคัญ
-มีคําสั่งคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
-มีคําสั่งเจาหนาที่เบิกจายเงิน ถอนเงิน
-มีคําสั่งเจาหนาที่การเงิน
-มีการจัดทําแผนการใชเงินบํารุง
-มีการจัดทําแผนการใชเงินงบประมาณ
-มีการควบคุมการรับจายเงินเปนปจจุบัน
-มีการทําสมุดคุมใบเสร็จและสรุปผลประจําป
-มีการตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจสอบภายใน
14
2.2 การจัดการอาคารสถานที่ สิ่งแวดลอม
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้
หัวขอ รายละเอียด
1.การจัดสภาพแวดลอมนอกอาคาร -บริเวณโดยรอบมีรั้วรอบสถานที่ทําการ
-มีการกําหนดจุดจอดรถพยาบาลฉุกเฉิน
-มีการกําหนดจุดจอดรถผูสูงอายุ ผูพิการ
2.การจัดสภาพแวดลอมในอาคาร -มีการแบงพื้นที่และผูรับผิดชอบ5ส.
-มีการทําความสะอาดโตะทํางานใหสะอาดและจัดทําปายชื่อ
สกุลตําแหนงครบทุกคน
-โตะคอมพิวเตอรและเครื่องพิมพ มีการทํากิจกรรม5ส.
-หองทํางาน มีปายระบุ มีการจัดวางสิ่งของเปนระเบียบ มี
ถังขยะและฝาปด มีการทํากิจกรรม5ส.
-ตูเก็บเอกสาร
-การเก็บเอกสาร
-โทรศัพท มีการจัดทําเบอรติดตอและทําความสะอาด
-นาฬิกา มีการจัดนาฬิกาในหองตรวจและปรับเวลาใหตรง
มาตรฐาน
3.หองสวม -หองสวมทั่วไป ผานมาตรฐาน HAS
-หองสวมผูพิการ หญิงตั้งครรภ ผูสูงอายุ
ผานมาตรฐาน HAS
4.บริการ 4.1 คิว
-มีการจัดคิวแยกบริการตางๆ เชน คิวทําฟน คิวฉีดวัคซีน คิว
ตรวจทั่วไป คิวระบบทางเดินหายใจ
-มีการเรียกคิวอัตโนมัติ
4.2 ตารางบริการ
-มีปายตารางการจัดบริการ ทั้งในและนอกเวลาราชการ
-มีปายตารางบริการทันตกรรม
-มีปายแสดงเจาหนาที่เวรใหบริการ
4.3 วีดิทัศน
-มีบริการสื่อสารความรูแกผูรับบริการทุกวัน
-มีการจัดทําตารางสื่อสารความรู สอดคลองกับปญหาและ
บริบทของพื้นที่
-มีผูรับผิดชอบตามเวรบริการ
4.4 บริการน้ําดื่ม
-มีบริการน้ําเย็น น้ําดื่มสมุนไพร
15
2.3 การปองกันและควบคุมการติดเชื้อ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้
1. พยาบาลปองกันและควบคุมการติดเชื้อ
มีพยาบาลวิชาชีพรับผิดชอบงาน มีคําสั่งชัดเจน และไดรับการอบรมฟนฟูปละ 1 ครั้ง จาก Cup ระ
โนด ซึ่งเปนสถานพยาบาลแมขาย
2. คูมือการปฏิบัติงานดานการปองกันและควบคุมการติดเชื้อ
มีคูมือแนวทางการปองกันและควบคุมการติดเชื้อและมีการปรับปรุงฉบับลาสุด จาก Cup ระโนด เมื่อ
เมษายน 2560 และมีการพัฒนา ฟนฟูความรูงาน IC แกบุคลากรทุกคนในหนวยงานครบ 100%โดย
ผูรับผิดชอบงานและบันทึกไวในเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อความสะดวกในการเรียกดู
2.1 ระบบการเฝาระวัง
มีระบบการเฝาระวังการติดเชื้อผูปวยกลุมเปาหมายสําคัญคือ
-กลุมที่รับบริการทําหัตถการในสถานบริการ ไดแก เย็บแผล
-กลุมดูแลตอเนื่องที่บานไดแกผูปวยติดบานติดเตียง มีอุปกรณคาสายตางๆ เชน FOLEY Cath , TT
Tube, Colostomy tube, CAPD ,มารดาและทารกหลังคลอด ,หลังผาตัดทุกประเภท ตามแผนการเฝาระวัง
การติดเชื้อ
2.2 การตรวจสุขภาพประจําป
ในหนวยงานมีมาตรการใหเจาหนาที่ทุกคนไดรับตรวจสุขภาพประจําป100% ทุกป มีการนําผลการ
ตรวจมาวิเคราะห แยกเปนกลุมปกติ กลุมปวย และกลุมเสี่ยงเสี่ยง ซึ่งกลุมปวยและกลุมเสี่ยงไดจัดโปรแกรม
เขาคลินิก DPAC เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามผลตอไป
2.3 การสรางเสริมภูมิคุมกันโรค
บุคลากรไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคที่จําเปนตามนโยบายกระทรวง 100 % คือวัคซีน
Influenza, dT , Hepatitis B
2.4 แนวทางการปฏิบัติ
มีแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งเมื่อเจาหนาที่ไดรับอุบัติเหตุจากการ
ทําหัตการ เชน เข็มทิ่มตํา มีดบาด สัมผัสเลือด สารคัดหลั่งกระเด็นเขาตา ปาก หรือจมูก เจาหนาที่รับทราบ
ทุกคนและมีการทบทวนแนวปฏิบัติจากผูรับผิดชอบงานทุกป มีระบบการรายงานอุบัติการณและทบทวนหา
สาเหตุ เพื่อแกไขปองกันทุกครั้งเมื่อเกิดอุบัติการณ
2.5 ปาย/โปสเตอร แสดงขั้นตอนการทําความสะอาดมือ
หนวยงานมีมาตรการองคกร ใหบุคลลากรสามารถลางมือ 7 ขั้นตอนไดถูกตอง 100 %และสราง
แรงจูงใจดวยการติดสติ๊กเกอรลางมือไวที่อางลางมือทุกจุด มีการฝกซอมและทดสอบการปฏิบัติตอเนื่องใน
หนวยงาน
2.6 การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล
ผูรับผิดชอบงานมีการฟนฟูความรูใหแกบุคลากรในหนวยงานพรอมกับการอบรมฟนฟู IC และ สอน
นิเทศบุคลากรใหมเพิ่มเติมเมื่อพบวามีเจาหนาที่ปฏิบัติงานไมถูกตองหรือไมเหมาะสม
2.7 การจัดแบงพื้นที่ใน รพ.สต.
มีจุดคัดกรองผูปวยกลุมเสี่ยงตอการแพรกระจายเชื้อกลุมโรคทางเดินหายใจ เขน ไขหวัด ไขหวัดใหญ
ไขหวัดนก วัณโรค คอตีบ ตั้งแตดานแรก และมีจุดตรวจรักษาแยกจากผูปวยทั่วไป ภายนอกหองตรวจรักษา
16
ทั่วไป มีการจัดแบงพื้นที่เขตสะอาด และเขตปนเปอน และมีการจัดเก็บอุปกรณสะอาดปราศจากเชื้อ แยกเปน
สัดสวนกับอุปกรณที่ใชแลวหรือปนเปอน
2.8 การทําลายเชื้อ และการทําใหปราศจากเชื้อ
มีอุปกรณ และเครื่องมือสะอาดปราศจากเชื้อพรอมใชงาน โดยCup จัดระบบ central supply มีการ
ควบคุมคุณภาพทั้งทางกลไก ทางเคมี และทางชีวภาพและรายงานผลกลับสถานบริการทุกเดือน ผลการ
ควบคุม ผาน 100 %ในสวนของสถานบริการ มีการควบคุมการจัดเก็บอุปกรณตามหลักFirst in First out
บุคลากรที่ทําหนาที่ดูแลผานการอบรมและเรียนรูงานจากหนวยจายกลางของโรงพยาบาลและมีการฟนฟูทุกป
นอกจากนี้ยังมีการติดตามประเมินจากงานปองกันควบคุมการติดเชื้อของโรงพยาบาลอยางตอเนื่อง
2.9 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
มีแนวทางการจัดการขยะติดเชื้อและบุคลากรรับทราบปฏิบัติ มีระบบรับขยะติดเชื้อในผูปวยที่ดูแล
ตอเนื่องที่บาน โดยรพ.สต.จัดใหมีสถานที่จัดเก็บมูลฝอยติดเชื้อกอนสงทําลายที่เปนสัดสวนมีการควบคุม
ปองกันไมใหบุคคลทั่วไปเขาถึงCup สนับสนุนโดยจัดระบบการขนยายมูลฝอยติดเชื้อเพื่อสงทําลายที่ถูกตองได
มาตรฐาน
17
2.4 ระบบคุณภาพมาตรฐานหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุข
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีการดําเนินการดังนี้
อัตรากําลังของบุคลากร มีขาราชการจํานวน 5คนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 2 คน งาน
บริการทางหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุขมีศักยภาพการใหบริการในการตรวจ
1.วิเคราะหน้ําตาลในเลือดจากปลายนิ้ว
2.การตรวจวิเคราะหน้ําตาลและโปรตีนในปสสาวะ
3.การตรวจวิเคราะหการตั้งครรภ (HCG ในปสสาวะ)
4.การตรวจหาปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแนน (Hematocrit)
-บุคลากรเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตรวจทางหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุขผาน
การอบรมและไดรับการฟนฟูทางวิชาการจากโรงพยาบาลระโนดและมีใบประกาศทุกคน
-มีการมอบหมายผูรับผิดชอบหลัก คือ นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล
-มีที่ปรึกษาทางวิชาการประจําโซน คือ นางฮาสนะ เจะสะนิ นักเทคนิคการแพทย
- มีการควบคุมคุณภาพภายใน (Internal Quality Control, IQC) ควบคูกับการทดสอบ
ควบคุมคุณภาพภายใน(IQC)เดือนละ 1 ครั้ง
-มีการทําIQCโดยบันทึกใน Worksheet การปฏิบัติงานประจําตอจากผูปวย
-มีการควบคุมคุณภาพโดยองคกรภายนอก(External Quality Assessment, EQA) ปละ 1
ครั้ง โดยศูนยวิทยาศาสตรการแพทย
-โรงพยาบาลระโนดเปนผูจัดหา / จัดซื้อ วัสดุอุปกรณที่ใชในการปฏิบัติงานและสนับสนุนให
ทุก รพ. สต.ผานการบริหารงบประมาณเครือขายสถานพยาบาลอําเภอระโนดและเปนผูควบคุมมาตรฐานและ
รวมกันกําหนดแนวทางและรูปแบบในการเบิกจายวัสดุ อุปกรณใหมีความสอดคลองกับการปฏิบัติงานของ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
-มีขั้นตอนหลังการทดสอบและความปลอดภัยทําลายตัวอยางหลังการทดสอบอยางถูกตอง
ตามมาตรฐานความปลอดภัยในหองปฏิบัติการหรืออางอิงตามเกณฑของงาน IC ในการปฏิบัติงานมีการ
ดําเนินงานตามคูมือและแนวทางการปฏิบัติหลังการทดสอบและความปลอดภัยทางหองปฏิบัติการ เชน กรณี
เลือดหก เข็มทิ่มตํา ปฏิบัติตามไดถูกตอง
-มีทะเบียนผลการทดสอบ จัดทํารายงานผลการทดสอบ
-มีบันทึกการรายงานคาวิกฤติจากฝายชันสูตร รพ.ระโนด
-ใบรายงานผลการทดสอบมีรายละเอียดของผูปวยครบถวนผลการทดสอบชื่อผูทดสอบ วัน
เวลาที่รายงานผล ผูตรวจสอบผลและลงนามกํากับไวเปนหลักฐาน เก็บสําเนารายงานผลการทดสอบไว เพื่อ
อางอิงอยางนอย 5 ป
-รูปแบบการใหบริการตรวจวิเคราะหตามรายการที่สามารถทดสอบได 4 รายการทุกวัน
เวลาราชการ และตรวจเลือดประจําปสําหรับผูปวยโรคเรื้อรังทุกวันอังคารเชา โดยมีรถจากโรงพยาบาลระโนด
มารับตัวอยางสิ่งสงตรวจที่ รพ.สต.พรอมใบนําสง และนัดผูปวยฟงผลเลือดในวันที่นัดพบแพทยในวันพุธ
18
สัปดาหที่ 1 ยกเวนในรายที่ผูรับบริการมีผลเลือดเกินคาวิกฤติเมื่อไดรับรายงานจะติดตามผูปวยและดําเนินการ
ตามแนวทางปฏิบัติและสงพบแพทยทันที
-หญิงตั้งครรภจะมีการใหบริการตรวจเลือดทั้งรายใหมและรายเกา และสงพบแพทยตามตาม
แนวทางปฏิบัติงานอนามัยแมและเด็ก
2.5 เภสัชกรรม คุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้
หัวขอ รายละเอียด
1.บุคลากร -มีเภสัชกรและเจาพนักงานเภสัชกรรมลงปฏิบัติงานใน
รพ.สต.
2.คลังยาและเวชภัณฑ -ประตูหองคลังยามีกุญแจลอค 2ชั้น
-มีการบันทึกอุณหภูมิและความชื้น
-มีชั้นวางยา
-มีปายชื่อยา
-มีการควบคุมการเบิกจายยา
-มีการสํารองยาเพียงพอ ไมมียาขาด
-มีระบบตรวจสอบยาใกลหมดอายุ
-การจัดเรียงยาตามการหมดอายุ
-จัดแยกตูเย็นเก็บยาและเก็บวัคซีน มีการบันทึกอุณหภูมิ
ตูเย็น มีการจัดเรียงยา เก็บยาเปนสัดสวน มีการปดโฟมและ
ขวดน้ําใสสี
3.งานบริการเภสัชกรรม -มีบัญชีรายการยา ไดแก ยาบัญชี2 ยาสมุนไพร ยาชวยชีวิต
เปนตน
-มีคูมือ วิธีการใชยาชวยชีวิต
-มีการจัดบริการดานยาโดยเจาหนาที่รพ.สต.ซึ่งผานการ
อบรมจากโรงพยาบาลระโนด
-มีบันทึกการอบรมดานยาของเจาหนาที่
-มีคูมือใชยาในรพ.สต.และยาชวยชีวิต
-มีฐานขอมูลผูแพยา เชื่อมโยงกับโรงพยาบาลระโนด
-มีการจัดทําปายแพยาติดแฟมครอบครัวและบันทึกใน
โปรแกรม JHCIS
-โปรแกรม JHCIS มีระบบปองกันการจายยาในกรณีที่มี
ประวัติการแพยา
-มีการแลกเปลี่ยนขอมูลการแพยาระหวางรพ.สต.และ
โรงพยาบาลระโนด
19
(ตอ)
หัวขอ รายละเอียด
-มีการออกบัตรแพยาเพื่อใหผูปวยถือไปประเมินตอที่
โรงพยาบาลระโนด
-ฉลากยามีชื่อสถานบริการ ชื่อ สกุลผูปวย วดป.จายยา ชื่อ
ยา วิธีใช คําเตือน ครบถวน
-ฉลาก Pre pack มีการระบุวันหมดอายุ
-มีฉลากยาชวย
-มีการทําปาย LASA ปองกันการจายยาผิด
4.คุมครองผูบริโภค 1.มีการจัดทําฐานขอมูลดังนี้
-รานคา รานขายของชํา
-แผงจําหนายอาหารสด
-รานอาหาร แผงลอยจําหนายอาหาร
-ตลาดนัด
-รานจําหนายเครื่องสําอาง
-รานยา สถานพยาบาล
-สถานที่ผลิตอาหาร
-รานเสริมสวย
-สถานีวิทยุชุมชน
2.มีการตรวจเยี่ยมสถานที่ผลิตอาหาร 3 แหง รอยละ100
3.มีการตรวจประเมินรานอาหาร แผงลอย ผานเกณฑ 5
แหง รอยละ 100
4.มีการตรวจแนะนํารานชําในพื้นที่ ดังนี้
-อบรมฟนฟูรานชําสีขาว เพื่อลดการจําหนายเครื่องสําอาง
ผิดกฎหมาย
-รณรงคการออกตรวจรานชํารวมกับสสอ.ระโนด รพ.ระโนด
และอสม.
-สงเสริมการจําหนายอาหารมีอย. เกลือผสมไอโอดีน หาม
จําหนายยาชุด เปนตน
20
2.6 ระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขภาพ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการระบบขอมูลสารสนเทศดังตอไปนี้
หัวขอ รายละเอียด
1.การใชงานโปรแกรม -ใชโปรแกรม JHCIS เวอรชัน 20 มีนาคม 2560
2.การตรวจสอบและการจัดสงขอมูล 1.มีการตรวจสอบขอมูล 43 แฟมทุกวัน ดังนี้
- ตรวจสอบผานหนา DATACENTER ของอําเภอระโนด ทุกวัน
(ผลงานมากกวารอยละ 99 ตั้งแต ตค.2559-พ.ค.2560)
- ตรวจสอบผานหนาระบบสารสนเทศจังหวัดสงขลา เวปไซต
สสจ.สงขลา(ผลงานมากกวารอยละ 99 ตั้งแต ตค.2559-พ.ค.
2560)
- ตรวจสอบผานโปรแกรม OPPP 2010 ทุกเดือน ผลงาน ผาน
เกณฑรอยละ 100 (ต.ค.2559-พ.ค.2560)
2.การจัดสงขอมูล 43 แฟมทุกวันผานระบบอัตโนมัติและเลือกสง
เองโดยเจาหนาที่
3.มีการจัดทําเอกสารการตรวจสอบคุณภาพขอมูล 43 แฟม
3.จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรตอเจาหนาที่ 1.มีคอมพิวเตอรทั้งหมด 6 เครื่อง
2.มีคอมพิวเตอร Note book 4 เครื่อง
3.อัตราตอเจาหนาที่ 1 : 1.4
4.การสํารองฐานขอมูล 1.มีการจัดการสํารองฐานขอมูลทุกวันโดยเก็บไวใน HARD DISK
และ EXTERNAL BOX และเก็บไวในที่ปลอดภัย
2.ฐานขอมูลสํารองสามารถเรียกนํามาใชได กรณีขอมูลมีการสูญ
หาย
5.ระบบการดูแล บํารุงรักษา 1.มีแผนสํารองกรณีเครื่องแมขายมีปญหา
2.มีการใชโปรแกรมไวรัสลิขสิทธิ์ในเครื่องแมขาย
3.มีเครื่องสํารองไฟฟาเครื่องแมขาย
6.การพัฒนาทักษะเจาหนาที่ 1.มีการจัดทําหลักฐานการฝกอบรมและการพัฒนาทักษะการใช
งานโปรแกรมตางๆ
2.เจาหนาที่ผานการฝกอบรมอยางนอยปละ 1ครั้ง
7.ระบบรักษาความลับขอมูลสารสนเทศ 1.มีการการตั้งรหัสผานปองกันการเขาใชงานคอมพิวเตอรจาก
บุคคลภายนอก
2.มีการการตั้งรหัสผานปองกันการใชงานไวไฟ
3.มีการจัดทําแนวทางการใหบริการขอมูลสารสนเทศกับ
หนวยงานภายนอกสังกัด
21
หมวดที่ 2
การใหความสําคัญกับประชากรกลุมเปาหมาย ชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสีย
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ไดดําเนินการเกี่ยวกับการใหความสําคัญกับประชากร
กลุมเปาหมาย ชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสีย ดังนี้ 1)การคนหาปญหาของชุมชน 2) การประสานงานภายใน
เครือขาย 3) การประสานงานภายนอกและภาคีเครือขาย 4)บทบาทของภาคีเครือขายที่มีสวนรวม
5) ความพึงพอใจของผูรับบริการ ผูมีสวนไดสวนเสียและการจัดการขอรองเรียน มีรายละเอียดดังนี้
2.1 การคนหาปญหาของชุมชน(ODOP/ OTOP)
2.1.1 การทําประชาคมสุขภาพตําบลบอตรุ
ผลการคนหาปญหาจากการประชุมประชาคมและการจัดทําแผนชุมชนตําบลบอตรุ ป 2560
ปญหาดานคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
ลําดับ สภาพปญหา ความคาดหวังและแนวโนมใน
อนาคต
1 มีการระบาดของโรคอุบัติใหม โรคระบาด โรคติดตอ โรค
ไขเลือดออก
ไมมีการระบาดของโรคติดตอและ
โรคอุบัติใหม
2 ประชาชนในพื้นที่ปวยเปนโรคเรื้อรังแนวโนมเพิ่มขึ้น เชน
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผูปวยเรื้อรังลดลง มีความรูในการ
ดูแลตนเอง
3 เด็ก ผูสูงอายุอยูตามลําพัง ผูสูงอายุมีปญหาสุขภาพและตอง
รับภาระดูแลเด็ก
ผูสูงอายุไดรับการดูแลสุขภาพ
และเด็กไดรับการดูแลที่ดี
4 สถานที่ในการออกกําลังกายและสถานที่พักผอน มีพื้นที่ออกกําลังกาย
5 ขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้น ปริมาณขยะที่ถูกกําจัดใหหมด
ดวยวิธีที่ถูกตอง
6 เยาวชนติดเกมส สิ่งลามก บุหรี่ สารเสพติดและทองกอนวัย
อันควร
เยาวชนมีอนาคตที่ดี
ที่มา:แผนพัฒนาทองถิ่น 4ป เทศบาลตําบลบอตรุ
22
ภาพ 2 การทําประชาคมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560 ณ วัดสีหยัง ต.บอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา
2.1.2 โครงการและแผนสุขภาพชุมชนตําบลบอตรุ ป 2560
1. โครงการ การเฝาระวังโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน
หลักการและเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเปนโรคเรื้อรังที่ปองกันได โดยประชาชนจะตองดูแลตนเองดวย
การมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตอง โดยประชาชนจะตองดูแลตนเองดวยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตอง
ควบคุมน้ําหนัก ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลและควบคุม
ความเครียด นอกจากนี้ประชาชนยังตองปองกันตนเองดวยการตรวจสุขภาพประจําปเปนประจํา ซึ่งถือเปน
วิธีการที่สําคัญอยางยิ่งในการเฝาระวังสุขภาพของตนเองไมใหเกิดโรคและลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซอน
ตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ยังเปนการลดภาระคาใชจายของครอบครัวและของประเทศ ซึ่งถือเปนการ
สงเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สถานการณโรคไมติดตอของตําบลบอตรุในระยะที่ผานมาพบวาโรคไมติดตอดังที่กลาวมาขางตนมี
อัตราเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งสาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากกลุมเปาหมายมีพฤติกรรม
สุขภาพที่ไมพึงประสงค เชน การขาดความรูความเขาใจ การมีความเชื่อ คานิยมและวัฒนธรรมที่ขัดตอการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถูกตอง ขาดการดูแลเอาใจใสในการปฏิบัติตัวในการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ
และไมออกกําลังกาย เปนตน สงผลทําใหโรคไมติดตอมีแนวโนมสูงขึ้น การจัดทําโครงการฯนี้มีวัตถุประสงค
เพื่อติดตามดูแลและเฝาระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน ทั้งในกลุมที่มีภาวะสุขภาพปกติ กลุม
เสี่ยงและกลุมผูปวย ซึ่งจะเกิดประโยชนตอการปองกันและการดูแลตนเองของประชาชนในชุมชนใหมีสุขภาพ
ที่ดีตอไป
23
วัตถุประสงค
1.เพื่อสงเสริมกิจกรรมการเฝาระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนของประชาชนตําบล
บอตรุ
2.เพื่อดูแลสุขภาพผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน
เปาหมาย
กลุมเปาหมาย
1.ประชาชนอายุ35ปขึ้นไปของหมู 1-5 ตําบลบอตรุ
2.กลุมปกติ กลุมเสี่ยง กลุมปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตําบลบอตรุ
เปาหมาย
1.สงเสริมการรวมกลุมออกกําลังกายของประชาชนในหมูบานอยางนอย 3 กลุม
2.สงเสริมแกนนําออกกําลังกายดวยไมพลองและแอโรบิก 10 คน
3.ติดตามเยี่ยมกลุมเสี่ยง กลุมปวยในชุมชนเพื่อดูแลสุขภาพ ประเมินสุขภาพและปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
วิธีดําเนินการ
1. ประชุมแกนนําชุมชนและอสม. ชี้แจงการดําเนินโครงการ
2. จัดตั้งคณะทํางาน
3. พัฒนาแกนนําออกกําลังกายและอสม.ดวยไมพลองและแอโรบิกในหมูบาน
4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู 3อ2ส.ในกลุมออกกําลังกาย
5. เยี่ยมกลุมปกติ กลุมเสี่ยง กลุมปวยในชุมชนเพื่อใหคําแนะนํา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ
ประเมินสุขภาพ
6.สงเสริมกิจกรรมออกกําลังกายของกลุมออกกําลังกายในชุมชน
7.ประสานงานกับเทศบาลบอตรุ กองทุนสุขภาพตําบลเพื่อสนับสนุนงบประมาณการออกกําลังกายใน
ชุมชน
8.สงเสริมการจัดกิจกรรมถนนสายสุขภาพประจําหมูบาน
9.สงเสริมการปลูกผักอินทรียในเกษตรกร ใหมีแหลงผักปลอดสารพิษในชุมชน
10.สงเสริมความรู3อ2ส.ผานการประชาสัมพันธโดยหอกระจายขาว วิทยุชุมชน
11.ติดตามประเมินผล
ระยะเวลาดําเนินงาน
- ตุลาคม 2559- กันยายน 2560
งบประมาณ
-กิจกรรมสงเสริมการออกกําลังกายของชุมชนขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพ
ตําบลบอตรุ โดยใหชุมชนดําเนินการเอง
-กิจกรรมสงเสริมการปลูกผักอินทรีย สนับสนุนวิทยากรจากการศึกษานอกโรงเรียนฯอําเภอระโนด
24
ผูรับผิดชอบโครงการ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา
การประเมินผล
1.มีกลุมการออกกําลังกายในชุมชน อยางนอย 3กลุม
2.ผลการเยี่ยมติดตามกลุมเสี่ยง กลุมปวยโดยอสม.ในชุมชน
3.ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุมเสี่ยงที่สมัครใจรวมโครงการ
4.อัตราปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนลดลง
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
การดําเนินโครงการนี้คาดวาจะไดรับประโยชนดังนี้
1.ประชาชนในหมูบานมีการรวมกลุมออกกําลังกาย มีความรู3อ2ส.ทําใหมีสุขภาพแข็งแรง ชวย
สงเสริมสุขภาพและปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2.มีแกนนําออกกําลังกายและสถานที่ออกกําลังกายในหมูบาน
3.สงเสริมสุขภาพกลุมปกติ กลุมเสี่ยง เพื่อลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุมเปาหมาย
4.สงเสริมสุขภาพกลุมปวยใหมีสุขภาพดีสามารถควบคุมอาการของโรคได
25
ผลการดําเนินงาน
1.สงเสริมกลุมออกกําลังกาย 3 ชมรม ไดแก ชมรมออกกําลังกาย เจดียงาม ชมรมออกกําลังกายบาน
วัดประดูและชมรมผูสูงอายุบานวัดประดู กองทุนสุขภาพตําบลสนับสนุนชมรมออกกําลังกายชุมชนเจดียงาม
จํานวน 20,000 บาท
26
2. สงเสริมการปลูกผักอินทรียในชุมชนในหมูบานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค 2 หมูบานเปาหมาย
3. ติดตามเยี่ยมกลุมเสี่ยง กลุมปวยในชุมชนโดยอสม.และการใหความรู3อ2ส (ณ พ.ค.2560)
หมูที่ เยี่ยมกลุมเสี่ยง
(คน)
เยี่ยมกลุมปวย
(เนนกลุมติดบานติดเตียง)
(คน)
หมู1 2 13
หมู2 - 1
หมู3 - 1
หมู4 1 2
หมู5 2 2
รวม 5 19
27
2.โครงการ การดูแลผูสูงอายุและผูปวยติดบานติดเตียงในชุมชนของตําบลบอตรุ อ.ระโนด
จ.สงขลา
หลักการและเหตุผล
ปจจุบันประชากรผูสูงอายุมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งดานปริมาณและสัดสวนตอประชากร เนื่องจากจํานวน
และสัดสวนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จํานวนผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเชนนี้ เนื่องมาจากการ
พัฒนาดานสาธารณสุขและทางการแพทย ทําใหอัตราการตายลดลง ผูสูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต
ผูสูงอายุก็ยังไดรับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของรางกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึง
นําไปสูความถดถอยของรางกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไมสามารถชวยเหลือตังเองไดหรือชวยเหลือตนเองไดนอย
หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทําใหตองอาศัยพึ่งพาเปนภาระแกผูดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหลานี้
ทําใหผูสูงอายุดํารงชีวิตอยูอยางไมมีความสุข ผูสูงอายุจึงควรใหความสนใจดูแลสุขภาพใหสมบูรณแข็งแรงมี
คุณภาพชีวิตที่ดี ปองกันการเกิดโรคตางๆ รวมทั้งฟนฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมใหภาวะของ
โรคเหลานั้นมีอาการคงที่ ไมกําเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกวาเดิมซึ่ง จะทําใหผูสูงอายุมีชีวิตอยูอยางมี
คุณคาสามารถทําประโยชนใหแกสังคม และมีความสุขในปนปลายของชีวิต
ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา มีประชากรผูสูงอายุในป 2559 จํานวน 1,248 คน จาก
การคัดกรองสุขภาพดวยแบบทดสอบความสามารถในการดําเนินชีวิตประจําวัน(ADL) พบวามีผูสูงอายุประเภท
พึ่งพาสมบูรณรอยละ 0.88 พึ่งพารอยละ 4.56 และปกติ รอยละ 94.56 นอกจากนี้แนวโนมในอนาคตอาจ
มีผูปวยติดบานติดเตียงเพิ่มมากขึ้น เพราะผูสูงอายุสวนใหญปวยดวยโรคเรื้อรัง เชน เบาหวานและความดัน
โลหิตสูง ทั้งนี้ผูสูงอายุประเภทพึ่งพาสมบูรณและพึ่งพาตองไดรับการดูแลสุขภาพอยางตอเนื่อง เพราะเปนกลุม
มีปญหาสุขภาพและอยูในระยะสุดทายของชีวิต หากไมไดรับการดูแลอยางตอเนื่องจะสงผลตอการมี
ภาวะแทรกซอนและเสียชีวิตได
โครงการการดูแลผูสูงอายุและผูปวยติดบานติดเตียงในชุมชน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
จึงจัดทําขึ้นเพื่อสงเสริมบริการเยี่ยมบานและดูแลสุขภาพผูปวยในชุมชน ตลอดจนสงเสริมทักษะ ความรูในการ
ดูแลสุขภาพของผูดูแลผูปวย โดยทีมเยี่ยมบาน ทั้งนี้หากโครงการประสบผลสําเร็จจะสงผลดีตอผูปวยในการ
ชวยลดการเจ็บปวยจากโรคเรื้อรังและโรคแทรกซอนตางๆ รวมทั้งสงผลดีตอผูดูแลและญาติไดรวมกันดูแล
สุขภาพผูปวยไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผูปวยและญาติใหมีขวัญกําลังใจมากขึ้น
วัตถุประสงค
1. เพื่อพัฒนาบริการเยี่ยมบานและดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ผูปวยติดบานติดเตียงในชุมชน
2. เพื่อสงเสริมความรูและทักษะในการดูแลสุขภาพของผูดูแลผูปวย
เปาหมาย
กลุมเปาหมาย
1.ผูสูงอายุ
2.ผูปวยติดบาน ติดเตียง ผูปวยระยะสุดทาย
เปาหมายกิจกรรม
1.คัดกรองสุขภาพผูสูงอายุในชุมชนและจัดประเภทผูสูงอายุเปน3กลุม(ติดบาน ติดสังคม ติดเตียง)
28
2.บริการเยี่ยมบานเพื่อดูแลสุขภาพกลุมติดบาน ติดเตียง ผูปวยระยะสุดทายหรือมีปญหาสุขภาพ
ครอบคลุมทุกมิติโดยเจาหนาที่ประจําครอบครัวของรพ.สต.รวมกับทีมเยี่ยมบานและอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจําหมูบาน (อสม.) รอยละ 100
กลวิธีการดําเนินงาน
ขั้นเตรียมการ
1 .ประชุมชี้แจงเจาหนาที่รพ.สต., ทีมเยี่ยมบานหลักและอสม.และประสานการดําเนินโครงการกับ
เทศบาลตําบลบอตรุ
2. จัดหาวัสดุ อุปกรณทางการแพทยเพื่อจัดบริการเยี่ยมบานในชุมชน
3. พัฒนาทีมเยี่ยมบานหลักของตําบลบอตรุอยางตอเนื่องรวมกับเทศบาลบอตรุ
4. เตรียมเอกสารการเยี่ยมบานและขอมูลผูสูงอายุ ผูปวยติดบานติดเตียง ผูพิการ
5. ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตําบล
ขั้นดําเนินงาน
1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงคโครงการกับ อสม.กลุมผูปวยและญาติ
2.รวมวางแผนการเยี่ยมบาน
3.พัฒนาทีมแกนเยี่ยมบานในชุมชนอยางตอเนื่องรวมกับอสม.ตําบลบอตรุ
4. เยี่ยมบานเพื่อดูแลสุขภาพทุกมิติ ประเมินปญหาสุขภาพแตละรายในชุมชน รวมทั้งการสงตอใน
รายที่ตองพบแพทย จากเจาหนาที่ประจําครอบครัวของ รพ.สต. ทีมเยี่ยมบานและอสม.
5.สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและภาคีเครือขายในการมีสวนรวมการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ
ขั้นสรุปผล
สรุปผลงานทุก 6 เดือนและเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
ระยะการดําเนินการ
ระยะแรก มกราคม –กันยายน 2559
ระยะที่สอง ตุลาคม 2559 - กันยายน 2560
สถานที่ดําเนินงาน
ม.1-5 ตําบลบอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา
งบประมาณ
การพัฒนาทีมแกนนําหลักดูแลผูสูงอายุในชุมชน สนับสนุนโดยเทศบาลตําบลบอตรุ
การประเมินผล ประเมินจากตัวชี้วัดตอไปนี้
1. รอยละของผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงที่ไดรับการเยี่ยมบาน
2. รอยละของผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงที่ประเมินพบปญหาสุขภาพไดรับการแกไขและจัดการปญหา
สุขภาพโดยทีมเยี่ยมบาน
29
3. รอยละของผูดูแลหรือญาติมีทักษะและสามารถจัดการปญหาสุขภาพและดูแลสุขภาพของผูปวยได
ผลประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ผูปวยไดรับการเยี่ยมบานโดยทีมเยี่ยมบานและทีมสหสาขาวิชาชีพ ซึ่งจะชวยลดอาการเจ็บปวย ลด
ภาวะแทรกซอนจากโรคและชวยเสริมพลังอํานาจของผูปวยตอการดูแลสุขภาพและอาการเจ็บปวย
2. ผูดูแลผูปวยและญาติมีความรูการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพไดดีขึ้นตลอดจนมีขวัญ
กําลังใจในการดําเนินชีวิต
30
ผลการดําเนินงาน
1. พัฒนาทีมแกนนําดูแลผูสูงอายุ(Core Team) จํานวน 7 คน ครอบคลุมทุกหมูบาน
31
ตาราง4 ทีมดูแลผูสูงอายุและผูปวยติดเตียง(CORE TEAM) ป 2560 ของรพ.สต.บอตรุ
ลําดับ ชื่อ สกุล หมูที่
รับผิดชอบ
โทรศัพท จนท.ประจําครอบครัว
1 น.ส.อุบล ตําภู ม.1 095-2699231 น.ส.ทิพยภาภรณ เจิมขวัญ
น.ส.นุริสา ดีสะธรรม
2 น.ส.ศรีอําพร สรสวัสดิ์ ม.2 063-9687467 นางสุพร ลอยลิบ
นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล
3 น.ส.วันเพ็ญ ดวงทอง ม.3 084-8555540 นางจิตรทิพย จันมณี
น.ส.ภัสสร ไทยราษฎร
4 น.ส.อรพินท พรอมมูล ม.4 086-9608755 นายศักดิ์กยะ บุญรอด
5 น.ส.จริยา ผอมไผ ม.5 082-8033906 น.ส.สาวิตรี ชูแกว
6. น.ส.กัญภิรมย ชวยนุกูล ม.5 081-5411332 น.ส.สาวิตรี ชูแกว
บทบาทหนาที่
1.สํารวจผูสูงอายุ ผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงและจัดทําทะเบียนรวมกับอสม.ในหมูบาน
2.ประสานการเยี่ยมบานผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียงรวมกับ อสม.ในหมูบาน
3.เยี่ยมบานผูสูงอายุติดบานติดเตียงและใหความรูการดูแลสุขภาพแกผูดูแลในครอบครัว
4.ประสานการทํางานเยี่ยมบานผูสูงอายุและผูปวยติดเตียงในหมูบานรวมกับเจาหนาที่ประจํา
ครอบครัวของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
5.ประสานการรับบริจาคสิ่งของในชุมชนและเทศบาลบอตรุ เพื่อชวยเหลือผูสูงอายุ ผูปวยติดบานติด
เตียง
32
แผนผังการทํางานทีมดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง(CORE TEAM)รพ.สต.บ่อตรุ
ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล
เจ้าหน้าทีประจําครอบครัว
ภาคีเครือข่าย
เทศบาลตําบลบ่อตรุ
ผู้นําชุมชน
อสม.
ผู้ดูแล
ประชาชนทัวไป
ทีมเยียมบ้านในชุมชน CORE TEAM
บริการเยียมบ้านในชุมชน(3HOME)
จัดทําแผนเยียมบ้าน Care plan
ประสานงานรพ.แม่ข่าย/ อสม. แกนนําและผู้ดูแลใน
ชุมชน
วัดสัญญาณชีพ
ซักประวัติ สัมภาษณ์ ตรวจร่างกาย
ประเมินภาวะสุขภาพ
ให้สุขศึกษา คําแนะนํา
ส่งต่อรพ.สต.หรือแม่ข่าย
บันทึกข้อมูลการให้บริการด้วยโปรแกรมFFC/JHCIS
รพ.ระโนด
33
2. การฝกอบรมฟนฟูเครือขายการดูแลตอเนื่องทีมแกนนําดูแลผูสูงอายุ
-ฝกอบรมตามหลักสูตรฯโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ จํานวน 6 คน
-ฝกอบรมหนางานที่รพ.สต.บอตรุ จํานวน 6 คน
34
2.พัฒนาทีมดูแลผูสูงอายุ ติดบานและติดเตียง หมูบานละ 7 คน จํานวน 35 คน
หมูบาน จํานวนแกนนําหลัก
(คน)
ทีมผูดูแลผูสูงอายุ
ติดบาน ติดเตียง
(คน)
อสม.
(คน)
หมู 1 1 ทีมสุโขทัย จํานวน 7 คน 38
หมู 2 1 ทีมดอกดาวเรือง จํานวน 7 คน 31
หมู 3 1 ทีมดอกรัก จํานวน 7 คน 16
หมู 4 1 ทีมบานไมรูโรย จํานวน 11 คน 19
หมู 5 2 ทีมเฟองฟา จํานวน 7 คน 32
รวม 6 39 136
ภาพ 3 การอบรมและฝกหนางานทีมดูแลผูสูงอายุ ติดบานและติดเตียง ป 2560
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60

More Related Content

What's hot

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม Dr.Suradet Chawadet
 
Power point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมPower point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมyahapop
 
Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58PPtocky
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนPrasit Chanarat
 
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกคู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องPPtocky
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัดwptraining
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560Sutthinee Sudchai
 

What's hot (20)

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
Power point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมPower point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคม
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 
Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
 
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกคู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
 
District Health System : DHS
District Health System : DHSDistrict Health System : DHS
District Health System : DHS
 

Similar to ประเมินรพ.สต.ติดดาว60

ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560Jame Boonrod
 
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่าแผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่าguested9be4d
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอ
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอรายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอ
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอntgmail
 
รายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรง
รายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรงรายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรง
รายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรงntgmail
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลาsiep
 
สถานีอนามัย
สถานีอนามัยสถานีอนามัย
สถานีอนามัยPuPea-_-zaza
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553Nithimar Or
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์Nirut Uthatip
 
สังคม วิทย
สังคม วิทยสังคม วิทย
สังคม วิทยKunapon Janpum
 
สังคม วิทย
สังคม วิทยสังคม วิทย
สังคม วิทยKunapon Janpum
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc1661598500844858298
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850krunimsocial
 

Similar to ประเมินรพ.สต.ติดดาว60 (20)

ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
 
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่าแผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
 
วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2552
วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2552วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2552
วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2552
 
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอ
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอรายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอ
รายงานการพัฒนาหมู่บ้านละโอ
 
รายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรง
รายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรงรายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรง
รายงานพัฒนาหมู่บ้านจือแรง
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
 
สถานีอนามัย
สถานีอนามัยสถานีอนามัย
สถานีอนามัย
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
Onet m.3 2553 (1)
Onet m.3 2553 (1)Onet m.3 2553 (1)
Onet m.3 2553 (1)
 
P6thai+math2552
P6thai+math2552P6thai+math2552
P6thai+math2552
 
P6social+science2552
P6social+science2552P6social+science2552
P6social+science2552
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
 
สังคม วิทย
สังคม วิทยสังคม วิทย
สังคม วิทย
 
สังคม วิทย
สังคม วิทยสังคม วิทย
สังคม วิทย
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
 
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2552
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2552วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2552
วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2552
 
1
11
1
 

ประเมินรพ.สต.ติดดาว60

  • 2. 2 ขอมูลทั่วไป 1.1 ประวัติ ประวัติความเปนมา ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา มี 5 หมูบาน คําวาบอตรุ มีที่มาจาก “บอตรุเงิน บอตรุ ทอง” ซึ่งในสมัยกอนชาวบานไดนําเงินทองที่จะไปทําบุญกอสรางเจดียวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด นครศรีธรรมราช ระหวางทางเกิดพายุจึงไดนําเงินทองมาฝงไวบริเวณนี้และเรียกชื่อบริเวณนี้วา “บอตรุ”จนถึง ปจจุบัน กํานันคนแรกของตําบลบอตรุชาวบานเรียกวา “ชายจอม” ไดรับพระราชทานนามสกุลจากร.5วา “นิยมเดชา” ชาวบานสวนใหญในบานบอตรุจึงนิยมใชนามสกุลนิยมเดชาตามกันมา ที่ตั้ง ขนาดและอาณาเขต โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา รับผิดชอบพื้นที่ จํานวน 5 หมูบาน มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ - ทิศเหนือ จด ตําบลวัดสน อําเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา - ทิศใต จด ตําบลชุมพล อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา - ทิศตะวันออก จด ทะเลอาวไทย - ทิศตะวันตก จด ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ จังหวัดสงขลา N โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ่อตรุ แผนทีตําบลบ่อตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา สัญลักษณ์ รพ.สต.บ่อตรุ ถนน วัด มัสยิด โรงเรียน ต.วัดสน อ.สทิงพระ อ.กระแสสินธุ์ หมู่ 4 บ้านวัดประดู่ หมู่ 5 บ้านโพธิ หมู่ 3 บ้านพังขีพร้า หมู่ 2 บ้านเจดีย์งาม หมู่ 1 บ้านบ่อตรุ
  • 3. 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง ลักษณะภูมิอากาศ มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี ทะเลอาวไทย มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล 1.3 ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร ประชากร โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ 1,595 หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล 3,186 คน หญิง 3,475 คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ อากาศ พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี 2ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล ทะเลอาวไทย มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ 5 หมูบาน 1,740 หลังคาเรือน เขตเทศบาล หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล 145 หลังคาเรือน ประชากร คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ ดังปรามิดประชากรตอไปนี้ 3 พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล ชายฝง หลังคาเรือน เขตเทศบาล หลังคาเรือน ประชากร 6,661 คน เพศชาย ดังปรามิดประชากรตอไปนี้
  • 4. 4 ตาราง 1 จํานวนหลังคาเรือนและประชากรจากการสํารวจ จําแนกรายหมูบานในความรับผิดชอบของ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป พ.ศ.2560 ลําดับที่ ชื่อหมูบาน หมูที่ หลังคาเรือน ประชากร (คน) ชาย หญิง รวม 1. บานบอตรุ 1 535 1,207 1,307 2,514 2. บานเจดียงาม 2 402 668 702 1,370 3. บานพังขี้พรา 3 252 467 525 992 4. บานวัดประดู 4 177 240 299 539 5. บานโพธิ์ 5 374 603 643 1,246 รวม - 1,740 3,185 3,476 6,661 ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560 ตาราง 2 ประชากรตําบลบอตรุตามกลุมวัยที่สําคัญ ป 2560 กลุมวัย จํานวน (คน) รอยละ กลุมอายุ 0-5 ป 494 7.42 นักเรียน -ป.1-6 -ม.1-3 630 140 9.46 2.10 กลุมอายุ 15-19 ป 526 7.89 กลุมอายุ 20-59 ป กลุมผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป 1,284 19.27 9.2ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560 ดานสังคมวัฒนธรรมและประเพณี ตําบลบอตรุมีวัฒนธรรมประเพณีสืบตอกันมาตั้งแตบรรพบุรุษ จนถึงปจจุบัน ดังนี้ 1. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันขึ้นปใหม วันที่ 1 มกราคม ของทุกป 2. ประเพณีทําบุญวันมาฆบูชา 3. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันวาง ( วันสงกรานต 13 เมษายน ) 4. ประเพณีรดน้ําดําหัวขอพรผูสูงอายุ ในสัปดาหผูสูงอายุแหงชาติ เดือนเมษายน ของทุกป 5. ประเพณีทําบุญวันวิสาขบูชา 6. ประเพณีทําบุญวันเขาพรรษา 7. ประเพณีทําบุญวันสารทเดือนสิบ เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกบรรดาญาติมิตรที่ลวงลับไปแลว ซึ่งจะมี การทําบุญตักบาตรปละ 2 ครั้ง ในวันแรม 1 ค่ํา และวันแรม 15 ค่ํา เดือนสิบของทุกป 8. ประเพณีทําบุญลากพระ ในวันแรม 1 ค่ําเดือน 11 หลังออกพรรษา มีกิจกรรมแหเรือทรงพระทาง บกและทางน้ําใหชาวบานไดรวมทําบุญตักบาตรและแขวนขนมตม มีการประกวดเรือทรงพระ แขงตีโพน แขง ทําขนมตม แขงขบวนกลองยาวและแขงเรือพาย
  • 5. 5 9. ประเพณีการทําบุญทอดกฐิน เพื่อทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา 10. ประเพณีลอยกระทง ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 ของทุกป 11. เดือนรอมฎอน (การถือศีลอดในศาสนาอิสลาม) ปละ 1 ครั้ง 1.4 การคมนาคม ขนสงและระบบสาธารณูปโภค การคมนาคมของประชาชนในการเดินทางระหวางอําเภอ และระหวางจังหวัด สวนใหญเดินทางโดย รถโดยสารรับจางประจําทาง และรถยนตรับจาง(ไมประจําทาง) โดยมีถนนสายหลัก คือ ระโนด - สงขลา การคมนาคมภายในอําเภอ(ระหวางตําบล / หมูบาน) สวนใหญเดินทางโดยรถยนตรับจาง รถจักรยานยนต รับจาง การคมนาคมในหมูบาน สวนใหญจะเดินทางโดย รถจักรยานยนตรับจาง /สวนบุคคล โดยมีถนน คอนกรีตภายในหมูบาน สําหรับการเดินทางของประชาชน จากหมูบานเพื่อมารับบริการที่ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บอตรุตําบลบอตรุ การคมนาคมสะดวก ใชเวลาไมมาก สวนใหญจะเดินทางโดย รถยนตสวนบุคคล รถจักรยานยนตรับจาง/สวนบุคคล ระยะทางจาก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ถึง - ทางหลวงแผนดินหมายเลข 408 ระโนด – สงขลา 1 กิโลเมตร - โรงพยาบาลระโนด 30 กิโลเมตร - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด 32 กิโลเมตร - โรงพยาบาลสงขลา 68 กิโลเมตร - โรงพยาบาลศูนยหาดใหญ 98 กิโลเมตร 1.5 เศรษฐกิจ เนื่องจากภูมิประเทศเปนที่ราบลุมอยูระหวางทะเลสาบและอาวไทย จึงทําใหเหมาะแกการ เกษตรกรรม ประชาชนมีอาชีพหลักคือ ทํานา เลี้ยงกุง ประมงชายฝงและอาชีพเสริมคือ การเลี้ยงสัตว ขอมูลอาชีพ(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด) มีดังนี้ - ทํานา รอยละ 34.34 - รับจางทั่วไป รอยละ 14.58 - คาขาย ธุรกิจสวนตัว รอยละ 8.78 - ราชการ เจาหนาที่รัฐและรัฐวิสาหกิจ รอยละ 3.21 - ทําไร ทําสวน ประมงและปศุสัตว รอยละ 3.04 - วางงาน รอยละ 9.85 - กําลังศึกษา รอยละ 20.67 รายไดประชากร(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด) - เขตเทศบาล รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 255,905 บาทตอป รายไดเฉลี่ยตอคน 68,072 บาทตอป - เขตชนบท(อบต.) รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 279,877 บาทตอป รายไดเฉลี่ยตอคน 94,193 บาทตอป
  • 6. 6 1.6 สิ่งแวดลอม รายการ จํานวน (แหง) 1.6.1 โรงงานอุตสาหกรรมและสถานที่ผลิตอาหาร -สถานที่ผลิตอาหารและน้ําดื่ม 2 1.6.2 สถานบริการสาธารณสุขเอกชน รานขายยา/สถานพยาบาล 2 1.6.3 รานอาหาร แผงลอย -รานขายของชํา 33 -รานอาหาร แผงลอยจําหนายอาหาร 5 -แผงจําหนายอาหารสด 5 -รานเสริมสวย 4 -ตลาดนัด 3 1.6.4 อื่นๆ -รานเกมส 1 -คอกหมู/คอกวัว 1 -โรงสีขาว 2 -รานซอมรถจักรยานตยนต 3 -ลางอัดฉีด 2 1.7 ทุนทางสังคม /ศักยภาพชุมชน รายการ จํานวน 1.7.1 กองทุน 1.กลุมสัจจะวันละบาท 1 แหง 2.กองทุนสัจจะออมทรัพย 1 แหง 3.กองทุนเงินลาน 4 แหง 1.7.2 องคกรทางสังคม 1.ชมรมอสม. 1 ชมรม 2.ชมรมผูสูงอายุ 1 ชมรม 3.ชมรมออกกําลังกาย 2 ชมรม 4.กลุมปลูกผักปลอดสารพิษ 1 ชมรม 5.วิทยุชุมชน 1 แหง 1.7.3 บุคคลสําคัญ ผูนํา 1.หมอพื้นบาน 1 คน 2.หมอนวดแผนไทย 2 คน 3.พระ/ผูนําศาสนา 10 รูป/2 คน
  • 7. 7 สวนที่ ๒ ผลการวิเคราะหสภาพปญหาและระบบสาธารณสุข 2.1 สภาพปญหาในพื้นที่ ตาราง 3 อัตราปวยโรคที่สําคัญของประชาชนตําบลบอตรุ ป 2557-2559 โรค อัตราปวย 1.ไขเลือดออก ป 2557 อัตราปวย 53.83 ตอแสนประชากร ป 2558 อัตราปวย 27 ตอแสนประชากร ป 2559 อัตราปวย 263 ตอแสนประชากร 2. โรคระบบเมตาบอลิก 2.1 ความดันโลหิตสูง ป 2557 อัตราปวย 6971 ตอแสนประชากร ป 2558 อัตราปวย 9600 ตอแสนประชากร ป 2559 อัตราปวย 9743 ตอแสนประชากร 2.2 เบาหวาน ป 2557 อัตราปวย 3916 ตอแสนประชากร ป 2558 อัตราปวย 4536 ตอแสนประชากร ป 2559 อัตราปวย 6110 ตอแสนประชากร 3.ภาวะสุขภาพผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียง ป 2559 ผลการสํารวจADL -ติดสังคม รอยละ 94.56 -ติดบาน รอยละ 4.56 -ติดเตียง รอยละ 0.88 ที่มา : ขอมูลกลางป รพ.สต.บอตรุป 2557 - 2559 2.2 วิสัยทัศน (vision) รพ.สต.บอตรุมีวิสัยทัศน คานิยมและพันธกิจดังนี้ เปนสถานบริการที่มีมาตรฐาน ผานเกณฑคุณภาพ บริการสุขภาพแบบองครวม ผสมผสานการมีสวน รวมของภาคีเครือขาย มุงเนนใหประชาชนมีสุขภาพดีและชุมชนพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืน 2.3 พันธกิจ (mission) 1. พัฒนาสถานบริการดานบริหาร บริการและวิชาการใหมีคุณภาพมาตรฐาน ภายใตการมีสวนรวม ของทุกภาคสวน 2. สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาโดยกระบวนการของชุมชน 3. สงเสริมสนับสนุนใหประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือขายในพื้นที่ใหเขมแข็ง มีสวนรวมในการพัฒนาสถานบริการและดูแล ประชาชนในพื้นที่ใหมีสุขภาวะที่เหมาะสม
  • 8. 8 2.4 แผนยุทธศาสตรสุขภาพ รพ.สต.บอตรุ ไดจัดทําแผนยุทธศาสตร ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตรสอดคลองกับสสจ.สงขลาและ เครือขายบริการสุขภาพอําเภอระโนด(CUP) ดังนี้ 1) ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการสงเสริมปองกันและควบคุมโรคโดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย 2) ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพใหมีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงเครือขาย 3) ยุทธศาสตรที่ 3 ระบบบริหารจัดการกําลังคน 4) ยุทธศาสตรที่4 การบริหารจัดการภาครัฐ 2.5 โครงสรางเครือขายบริการสุขภาพ 2.5.1 โครงสรางการบริหารของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ สายบังคับบัญชา สายประสานงาน ผูวาราชการจังหวัดสงขลา นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสงขลา นายแพทยอุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล นายอําเภอระโนด นายสุรชัย วงศศุภลักษณ เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล สาธารณสุขอําเภอระโนด นายนพพร นิลรัตน โรงพยาบาลระโนด นายแพทยวรพจน เจียมอมรรัตน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ นางจิตรทิพย จันมณี
  • 9. 9 2.5.2 เครือขายบริการสุขภาพของรพ.สต.บอตรุ สถานบริการสาธารณสุขโซนใต รายการ บุคลากร (คน) 1. รพ.สต.บอตรุ 8 2. รพ.สต.วัดสน 5 3. รพ.สต.ระวะ 5 4. รพ.สต.พังยาง 4 2.5.3 บุคลากร การแบงงานและหนาที่รับผิดชอบของบุคลากร รพ.สต.บอตรุ ชื่อ สกุล ตําแหนง หนาที่งานรับผิดชอบ 1.นางจิตรทิพย จันมณี ผอ.รพ.สต.บอตรุ (นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ) - งานบริหารทั่วไป - จนท.ประจําครอบครัวหมู 5 2.นายศักดิ์กยะ บุญรอด นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ - งานวิชาการสาธารณสุข - งานควบคุมโรคติดตอ - งานสุขภาพภาคประชาชน - จนท.ประจําครอบครัวหมู 4 3.นางสุพร ลอยลิบ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ (เวชปฏิบัติรักษาพยาบาลเบื้องตน ) - งานแมและเด็ก - งานโรคไมติดตอและคลินิกบริการ - จนท.ประจําครอบครัวหมู 2 4.นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ (เวชปฏิบัติรักษาพยาบาลเบื้องตน ) - งานการพยาบาล - งานควบคุมปองกันการติดเชื้อ - จนท.ประจําครอบครัวหมู 2 5.นางสาวนุริสา ดีสะธรรม เจาพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน - งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค - งานสงเสริมพัฒนาการเด็ก - จนท.ประจําครอบครัวหมู 1 6.นางสาวภัสสร ไทยราษฎร เจาพนักงานทันตสาธารณสุข ปฏิบัติงาน - งานทันตสาธารณสุข - จนท.ประจําครอบครัวหมู 3 7.นางสาวสาวิตรี ชูแกว นักวิชาการสาธารณสุข - งานคุมครองผูบริโภค - จนท.ประจําครอบครัวหมู 5 8.นางสาวทิพยภาภรณ เจิมขวัญ นักวิชาการสาธารณสุข - งานบัตรประกันสุขภาพ - งานยาและเวชภัณฑ - จนท.ประจําครอบครัวหมู 1 ขอมูล ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2560
  • 10. 10 2.6 ความทาทายเชิงกลยุทธ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ไดจัดระดับประเด็นความสําคัญของการปรับปรุงและพัฒนา องคกรตามแผนยุทธศาสตรของจังหวัดและเครือขายบริการปฐมภูมิ มากําหนดความทาทายเชิงกลยุทธดังนี้ แผนยุทธศาสตร4 ดานประกอบดวย 1) ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการสงเสริมปองกันและควบคุมโรคโดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย 2) ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพใหมีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงเครือขาย 3) ยุทธศาสตรที่ 3 ระบบบริหารจัดการกําลังคน 4) ยุทธศาสตรที่4 การบริหารจัดการภาครัฐ
  • 11. 11 หมวด 1 การนําองคกรและการจัดการดี 1.ภาวะผูนํา การนํา ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบตอสังคม โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้ หัวขอ รายละเอียด 1. ภาวะผูนําของผูบริหารองคกร 1.1 การทํางานรวมกันของคณะกรรมการสุขภาพ ตําบล 1.มีการแตงตั้งคณะกรรมการสุขภาพตําบล 2.มีการประชุมเพื่อรวมกันวางแผน ติดตามและ ประเมินผลการทํางานรวมกันของคณะกรรมการ สุขภาพตําบล มีการจัดทําหลักฐาน สมุดบันทึกการ ประชุม 1.2 การกําหนดและถายทอดทิศทาง 1.มีวิสัยทัศน พันธกิจ วัฒนธรรมองคกร 2.มีการจัดทําแผนยุทธศาสตรของรพ.สต.บอตรุ โดยมีแนวทางการจัดทําแผนดังนี้ -มีความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของCUP และ สสจ.สงขลา -มีการนําปญหาในบริบทของพื้นที่จากการประชาคม สุขภาพตําบลบอตรุ มาไวในแผนฯ ไดแก โรค ไขเลือดออก เบาหวานและความดันโลหิตสูงและการ ดูแลผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียง -มีการวิเคราะหผลการปฏิบัติงานปที่ผานมาแลว นํามาจัดทําแผนฯ 3.มีการสรุปผลงานตามแผนฯ 1.3 การกํากับดูแล -มีการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและมีการ ตรวจสอบภายใน 1.4 การจัดการขอรองเรียน -มีโครงสรางคณะกรรมการจัดการขอรองเรียน -มีการจัดทํากลองรองทุกขและเอกสารการรองเรียน -มีระบบจัดการขอรองเรียน 1.5 การทบทวนผลการดําเนินงาน -มีการจัดทําแผนปฏิบัติการ -มีการวิเคราะหผลการดําเนินงานและทบทวนแผนฯ และการปฏิบัติงาน -มีการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการควบคุมกํากับงาน ผาน DATACENTER ของอําเภอระโนด บุคลากร สามารถเขาถึงและสามารถนํามาทบทวนและ ปรับปรุงแผนฯและผลงาน
  • 12. 12 ตอ หัวขอ รายละเอียด 2.ความรับผิดชอบตอสังคม 2.1การดําเนินการอยางมีจริยธรรม -มีการจัดทําวัฒนธรรมองคกร มีการแจงแกบุคลากร และใหบุคลากรนําไปปฏิบัติในการทํางาน -มีการจัดทําแนวทางการรักษาความลับขอมูลและ สารสนเทศ เพื่อปองกันความเสียหายแกผูรับบริการ กรณีหนวยงานหรือบุคคลภายนอกมาขอเอกสารหรือ สารสนเทศดานสุขภาพ 2.2 การใหการสนับสนุนตอชุมชนที่สําคัญ -มีการใหความชวยเหลือและระดมของชวยเหลือ ประชาชนที่ประสบอุทกภัย เมื่อ ธันวาคม 2559 -การสนับสนุนยาและเวชภัณฑแกโรงเรียนในพื้นที่ -การรวมกับกระทรวงมหาดไทยเพื่อคัดกรอง คนหา ผูใชสารเสพติดในชุมชน -การรวมมาตรการลดอุบัติเหตุบนทองถนนในชวง เทศกาลปใหมและสงกรานตกับหนวยงานอื่น -การรวมงานอําเภอระโนดเคลื่อนที่ เพื่อใหบริการ ประชาชนในตําบลบอตรุ เมื่อ 18 พฤษภาคม 2560 ณ วัดประดู ต.บอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา -การจัดหนวยปฐมพยาบาลงานแหผาขึ้นธาตุวัดเจดีย งาม ในวันวิสาขบูชาของทุกป -การจัดหนวยปฐมพยาบาลงานกีฬาเทศบาลบอตรุใน ทุกป 3.แผนกลยุทธดานสุขภาพ 3.1 การจัดทํายุทธศาสตรและกลยุทธ -มีการจัดทําแผนยุทธศาสตรของรพ.สต.บอตรุ -มีความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของCUP และ สสจ.สงขลา -กระบวนการจัดทําแผน มีการวิเคราะหสถานการณ โดยใชวิธี SWOT Analysis รวมกันและรวมกัน กําหนดแผนยุทธศาสตร -มีการกําหนดเปาประสงค ตัวชี้วัด เปาหมาย ระยะเวลาและกลวิธีดําเนินงาน 3.2 การนํากลยุทธไปปฏิบัติ 3.2.1 การจัดทําแผนปฏิบัติการ -มีการจัดทําแผนปฏิบัติการตามแผนกลยุทธ -มีการชี้แจงแผนฯ ตัวชี้วัดแกบุคลากร -มีการทบทวนผลงานตัวชี้วัดรวมกันและมีการ ปรับปรุงแผนฯ
  • 13. 13 ภาพ 1 การใหการสนับสนุนตอชุมชนของรพ.สต.บอตรุในเหตุการณอุทกภัย ธันวาคม 2559 2. ระบบงาน กระบวนการที่สําคัญ 2.1 การจัดการการเงินและบัญชี โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้ หัวขอ รายละเอียด การจัดการ การเงินการบัญชี 1.ระบบรายงานและกระบวนการสําคัญ -มีคําสั่งคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน -มีคําสั่งเจาหนาที่เบิกจายเงิน ถอนเงิน -มีคําสั่งเจาหนาที่การเงิน -มีการจัดทําแผนการใชเงินบํารุง -มีการจัดทําแผนการใชเงินงบประมาณ -มีการควบคุมการรับจายเงินเปนปจจุบัน -มีการทําสมุดคุมใบเสร็จและสรุปผลประจําป -มีการตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจสอบภายใน
  • 14. 14 2.2 การจัดการอาคารสถานที่ สิ่งแวดลอม โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้ หัวขอ รายละเอียด 1.การจัดสภาพแวดลอมนอกอาคาร -บริเวณโดยรอบมีรั้วรอบสถานที่ทําการ -มีการกําหนดจุดจอดรถพยาบาลฉุกเฉิน -มีการกําหนดจุดจอดรถผูสูงอายุ ผูพิการ 2.การจัดสภาพแวดลอมในอาคาร -มีการแบงพื้นที่และผูรับผิดชอบ5ส. -มีการทําความสะอาดโตะทํางานใหสะอาดและจัดทําปายชื่อ สกุลตําแหนงครบทุกคน -โตะคอมพิวเตอรและเครื่องพิมพ มีการทํากิจกรรม5ส. -หองทํางาน มีปายระบุ มีการจัดวางสิ่งของเปนระเบียบ มี ถังขยะและฝาปด มีการทํากิจกรรม5ส. -ตูเก็บเอกสาร -การเก็บเอกสาร -โทรศัพท มีการจัดทําเบอรติดตอและทําความสะอาด -นาฬิกา มีการจัดนาฬิกาในหองตรวจและปรับเวลาใหตรง มาตรฐาน 3.หองสวม -หองสวมทั่วไป ผานมาตรฐาน HAS -หองสวมผูพิการ หญิงตั้งครรภ ผูสูงอายุ ผานมาตรฐาน HAS 4.บริการ 4.1 คิว -มีการจัดคิวแยกบริการตางๆ เชน คิวทําฟน คิวฉีดวัคซีน คิว ตรวจทั่วไป คิวระบบทางเดินหายใจ -มีการเรียกคิวอัตโนมัติ 4.2 ตารางบริการ -มีปายตารางการจัดบริการ ทั้งในและนอกเวลาราชการ -มีปายตารางบริการทันตกรรม -มีปายแสดงเจาหนาที่เวรใหบริการ 4.3 วีดิทัศน -มีบริการสื่อสารความรูแกผูรับบริการทุกวัน -มีการจัดทําตารางสื่อสารความรู สอดคลองกับปญหาและ บริบทของพื้นที่ -มีผูรับผิดชอบตามเวรบริการ 4.4 บริการน้ําดื่ม -มีบริการน้ําเย็น น้ําดื่มสมุนไพร
  • 15. 15 2.3 การปองกันและควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้ 1. พยาบาลปองกันและควบคุมการติดเชื้อ มีพยาบาลวิชาชีพรับผิดชอบงาน มีคําสั่งชัดเจน และไดรับการอบรมฟนฟูปละ 1 ครั้ง จาก Cup ระ โนด ซึ่งเปนสถานพยาบาลแมขาย 2. คูมือการปฏิบัติงานดานการปองกันและควบคุมการติดเชื้อ มีคูมือแนวทางการปองกันและควบคุมการติดเชื้อและมีการปรับปรุงฉบับลาสุด จาก Cup ระโนด เมื่อ เมษายน 2560 และมีการพัฒนา ฟนฟูความรูงาน IC แกบุคลากรทุกคนในหนวยงานครบ 100%โดย ผูรับผิดชอบงานและบันทึกไวในเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อความสะดวกในการเรียกดู 2.1 ระบบการเฝาระวัง มีระบบการเฝาระวังการติดเชื้อผูปวยกลุมเปาหมายสําคัญคือ -กลุมที่รับบริการทําหัตถการในสถานบริการ ไดแก เย็บแผล -กลุมดูแลตอเนื่องที่บานไดแกผูปวยติดบานติดเตียง มีอุปกรณคาสายตางๆ เชน FOLEY Cath , TT Tube, Colostomy tube, CAPD ,มารดาและทารกหลังคลอด ,หลังผาตัดทุกประเภท ตามแผนการเฝาระวัง การติดเชื้อ 2.2 การตรวจสุขภาพประจําป ในหนวยงานมีมาตรการใหเจาหนาที่ทุกคนไดรับตรวจสุขภาพประจําป100% ทุกป มีการนําผลการ ตรวจมาวิเคราะห แยกเปนกลุมปกติ กลุมปวย และกลุมเสี่ยงเสี่ยง ซึ่งกลุมปวยและกลุมเสี่ยงไดจัดโปรแกรม เขาคลินิก DPAC เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามผลตอไป 2.3 การสรางเสริมภูมิคุมกันโรค บุคลากรไดรับการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคที่จําเปนตามนโยบายกระทรวง 100 % คือวัคซีน Influenza, dT , Hepatitis B 2.4 แนวทางการปฏิบัติ มีแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งเมื่อเจาหนาที่ไดรับอุบัติเหตุจากการ ทําหัตการ เชน เข็มทิ่มตํา มีดบาด สัมผัสเลือด สารคัดหลั่งกระเด็นเขาตา ปาก หรือจมูก เจาหนาที่รับทราบ ทุกคนและมีการทบทวนแนวปฏิบัติจากผูรับผิดชอบงานทุกป มีระบบการรายงานอุบัติการณและทบทวนหา สาเหตุ เพื่อแกไขปองกันทุกครั้งเมื่อเกิดอุบัติการณ 2.5 ปาย/โปสเตอร แสดงขั้นตอนการทําความสะอาดมือ หนวยงานมีมาตรการองคกร ใหบุคลลากรสามารถลางมือ 7 ขั้นตอนไดถูกตอง 100 %และสราง แรงจูงใจดวยการติดสติ๊กเกอรลางมือไวที่อางลางมือทุกจุด มีการฝกซอมและทดสอบการปฏิบัติตอเนื่องใน หนวยงาน 2.6 การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล ผูรับผิดชอบงานมีการฟนฟูความรูใหแกบุคลากรในหนวยงานพรอมกับการอบรมฟนฟู IC และ สอน นิเทศบุคลากรใหมเพิ่มเติมเมื่อพบวามีเจาหนาที่ปฏิบัติงานไมถูกตองหรือไมเหมาะสม 2.7 การจัดแบงพื้นที่ใน รพ.สต. มีจุดคัดกรองผูปวยกลุมเสี่ยงตอการแพรกระจายเชื้อกลุมโรคทางเดินหายใจ เขน ไขหวัด ไขหวัดใหญ ไขหวัดนก วัณโรค คอตีบ ตั้งแตดานแรก และมีจุดตรวจรักษาแยกจากผูปวยทั่วไป ภายนอกหองตรวจรักษา
  • 16. 16 ทั่วไป มีการจัดแบงพื้นที่เขตสะอาด และเขตปนเปอน และมีการจัดเก็บอุปกรณสะอาดปราศจากเชื้อ แยกเปน สัดสวนกับอุปกรณที่ใชแลวหรือปนเปอน 2.8 การทําลายเชื้อ และการทําใหปราศจากเชื้อ มีอุปกรณ และเครื่องมือสะอาดปราศจากเชื้อพรอมใชงาน โดยCup จัดระบบ central supply มีการ ควบคุมคุณภาพทั้งทางกลไก ทางเคมี และทางชีวภาพและรายงานผลกลับสถานบริการทุกเดือน ผลการ ควบคุม ผาน 100 %ในสวนของสถานบริการ มีการควบคุมการจัดเก็บอุปกรณตามหลักFirst in First out บุคลากรที่ทําหนาที่ดูแลผานการอบรมและเรียนรูงานจากหนวยจายกลางของโรงพยาบาลและมีการฟนฟูทุกป นอกจากนี้ยังมีการติดตามประเมินจากงานปองกันควบคุมการติดเชื้อของโรงพยาบาลอยางตอเนื่อง 2.9 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ มีแนวทางการจัดการขยะติดเชื้อและบุคลากรรับทราบปฏิบัติ มีระบบรับขยะติดเชื้อในผูปวยที่ดูแล ตอเนื่องที่บาน โดยรพ.สต.จัดใหมีสถานที่จัดเก็บมูลฝอยติดเชื้อกอนสงทําลายที่เปนสัดสวนมีการควบคุม ปองกันไมใหบุคคลทั่วไปเขาถึงCup สนับสนุนโดยจัดระบบการขนยายมูลฝอยติดเชื้อเพื่อสงทําลายที่ถูกตองได มาตรฐาน
  • 17. 17 2.4 ระบบคุณภาพมาตรฐานหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุข โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีการดําเนินการดังนี้ อัตรากําลังของบุคลากร มีขาราชการจํานวน 5คนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 2 คน งาน บริการทางหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุขมีศักยภาพการใหบริการในการตรวจ 1.วิเคราะหน้ําตาลในเลือดจากปลายนิ้ว 2.การตรวจวิเคราะหน้ําตาลและโปรตีนในปสสาวะ 3.การตรวจวิเคราะหการตั้งครรภ (HCG ในปสสาวะ) 4.การตรวจหาปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแนน (Hematocrit) -บุคลากรเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตรวจทางหองปฏิบัติการดานการแพทยและสาธารณสุขผาน การอบรมและไดรับการฟนฟูทางวิชาการจากโรงพยาบาลระโนดและมีใบประกาศทุกคน -มีการมอบหมายผูรับผิดชอบหลัก คือ นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล -มีที่ปรึกษาทางวิชาการประจําโซน คือ นางฮาสนะ เจะสะนิ นักเทคนิคการแพทย - มีการควบคุมคุณภาพภายใน (Internal Quality Control, IQC) ควบคูกับการทดสอบ ควบคุมคุณภาพภายใน(IQC)เดือนละ 1 ครั้ง -มีการทําIQCโดยบันทึกใน Worksheet การปฏิบัติงานประจําตอจากผูปวย -มีการควบคุมคุณภาพโดยองคกรภายนอก(External Quality Assessment, EQA) ปละ 1 ครั้ง โดยศูนยวิทยาศาสตรการแพทย -โรงพยาบาลระโนดเปนผูจัดหา / จัดซื้อ วัสดุอุปกรณที่ใชในการปฏิบัติงานและสนับสนุนให ทุก รพ. สต.ผานการบริหารงบประมาณเครือขายสถานพยาบาลอําเภอระโนดและเปนผูควบคุมมาตรฐานและ รวมกันกําหนดแนวทางและรูปแบบในการเบิกจายวัสดุ อุปกรณใหมีความสอดคลองกับการปฏิบัติงานของ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล -มีขั้นตอนหลังการทดสอบและความปลอดภัยทําลายตัวอยางหลังการทดสอบอยางถูกตอง ตามมาตรฐานความปลอดภัยในหองปฏิบัติการหรืออางอิงตามเกณฑของงาน IC ในการปฏิบัติงานมีการ ดําเนินงานตามคูมือและแนวทางการปฏิบัติหลังการทดสอบและความปลอดภัยทางหองปฏิบัติการ เชน กรณี เลือดหก เข็มทิ่มตํา ปฏิบัติตามไดถูกตอง -มีทะเบียนผลการทดสอบ จัดทํารายงานผลการทดสอบ -มีบันทึกการรายงานคาวิกฤติจากฝายชันสูตร รพ.ระโนด -ใบรายงานผลการทดสอบมีรายละเอียดของผูปวยครบถวนผลการทดสอบชื่อผูทดสอบ วัน เวลาที่รายงานผล ผูตรวจสอบผลและลงนามกํากับไวเปนหลักฐาน เก็บสําเนารายงานผลการทดสอบไว เพื่อ อางอิงอยางนอย 5 ป -รูปแบบการใหบริการตรวจวิเคราะหตามรายการที่สามารถทดสอบได 4 รายการทุกวัน เวลาราชการ และตรวจเลือดประจําปสําหรับผูปวยโรคเรื้อรังทุกวันอังคารเชา โดยมีรถจากโรงพยาบาลระโนด มารับตัวอยางสิ่งสงตรวจที่ รพ.สต.พรอมใบนําสง และนัดผูปวยฟงผลเลือดในวันที่นัดพบแพทยในวันพุธ
  • 18. 18 สัปดาหที่ 1 ยกเวนในรายที่ผูรับบริการมีผลเลือดเกินคาวิกฤติเมื่อไดรับรายงานจะติดตามผูปวยและดําเนินการ ตามแนวทางปฏิบัติและสงพบแพทยทันที -หญิงตั้งครรภจะมีการใหบริการตรวจเลือดทั้งรายใหมและรายเกา และสงพบแพทยตามตาม แนวทางปฏิบัติงานอนามัยแมและเด็ก 2.5 เภสัชกรรม คุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการดังนี้ หัวขอ รายละเอียด 1.บุคลากร -มีเภสัชกรและเจาพนักงานเภสัชกรรมลงปฏิบัติงานใน รพ.สต. 2.คลังยาและเวชภัณฑ -ประตูหองคลังยามีกุญแจลอค 2ชั้น -มีการบันทึกอุณหภูมิและความชื้น -มีชั้นวางยา -มีปายชื่อยา -มีการควบคุมการเบิกจายยา -มีการสํารองยาเพียงพอ ไมมียาขาด -มีระบบตรวจสอบยาใกลหมดอายุ -การจัดเรียงยาตามการหมดอายุ -จัดแยกตูเย็นเก็บยาและเก็บวัคซีน มีการบันทึกอุณหภูมิ ตูเย็น มีการจัดเรียงยา เก็บยาเปนสัดสวน มีการปดโฟมและ ขวดน้ําใสสี 3.งานบริการเภสัชกรรม -มีบัญชีรายการยา ไดแก ยาบัญชี2 ยาสมุนไพร ยาชวยชีวิต เปนตน -มีคูมือ วิธีการใชยาชวยชีวิต -มีการจัดบริการดานยาโดยเจาหนาที่รพ.สต.ซึ่งผานการ อบรมจากโรงพยาบาลระโนด -มีบันทึกการอบรมดานยาของเจาหนาที่ -มีคูมือใชยาในรพ.สต.และยาชวยชีวิต -มีฐานขอมูลผูแพยา เชื่อมโยงกับโรงพยาบาลระโนด -มีการจัดทําปายแพยาติดแฟมครอบครัวและบันทึกใน โปรแกรม JHCIS -โปรแกรม JHCIS มีระบบปองกันการจายยาในกรณีที่มี ประวัติการแพยา -มีการแลกเปลี่ยนขอมูลการแพยาระหวางรพ.สต.และ โรงพยาบาลระโนด
  • 19. 19 (ตอ) หัวขอ รายละเอียด -มีการออกบัตรแพยาเพื่อใหผูปวยถือไปประเมินตอที่ โรงพยาบาลระโนด -ฉลากยามีชื่อสถานบริการ ชื่อ สกุลผูปวย วดป.จายยา ชื่อ ยา วิธีใช คําเตือน ครบถวน -ฉลาก Pre pack มีการระบุวันหมดอายุ -มีฉลากยาชวย -มีการทําปาย LASA ปองกันการจายยาผิด 4.คุมครองผูบริโภค 1.มีการจัดทําฐานขอมูลดังนี้ -รานคา รานขายของชํา -แผงจําหนายอาหารสด -รานอาหาร แผงลอยจําหนายอาหาร -ตลาดนัด -รานจําหนายเครื่องสําอาง -รานยา สถานพยาบาล -สถานที่ผลิตอาหาร -รานเสริมสวย -สถานีวิทยุชุมชน 2.มีการตรวจเยี่ยมสถานที่ผลิตอาหาร 3 แหง รอยละ100 3.มีการตรวจประเมินรานอาหาร แผงลอย ผานเกณฑ 5 แหง รอยละ 100 4.มีการตรวจแนะนํารานชําในพื้นที่ ดังนี้ -อบรมฟนฟูรานชําสีขาว เพื่อลดการจําหนายเครื่องสําอาง ผิดกฎหมาย -รณรงคการออกตรวจรานชํารวมกับสสอ.ระโนด รพ.ระโนด และอสม. -สงเสริมการจําหนายอาหารมีอย. เกลือผสมไอโอดีน หาม จําหนายยาชุด เปนตน
  • 20. 20 2.6 ระบบขอมูลสารสนเทศดานสุขภาพ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินการระบบขอมูลสารสนเทศดังตอไปนี้ หัวขอ รายละเอียด 1.การใชงานโปรแกรม -ใชโปรแกรม JHCIS เวอรชัน 20 มีนาคม 2560 2.การตรวจสอบและการจัดสงขอมูล 1.มีการตรวจสอบขอมูล 43 แฟมทุกวัน ดังนี้ - ตรวจสอบผานหนา DATACENTER ของอําเภอระโนด ทุกวัน (ผลงานมากกวารอยละ 99 ตั้งแต ตค.2559-พ.ค.2560) - ตรวจสอบผานหนาระบบสารสนเทศจังหวัดสงขลา เวปไซต สสจ.สงขลา(ผลงานมากกวารอยละ 99 ตั้งแต ตค.2559-พ.ค. 2560) - ตรวจสอบผานโปรแกรม OPPP 2010 ทุกเดือน ผลงาน ผาน เกณฑรอยละ 100 (ต.ค.2559-พ.ค.2560) 2.การจัดสงขอมูล 43 แฟมทุกวันผานระบบอัตโนมัติและเลือกสง เองโดยเจาหนาที่ 3.มีการจัดทําเอกสารการตรวจสอบคุณภาพขอมูล 43 แฟม 3.จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรตอเจาหนาที่ 1.มีคอมพิวเตอรทั้งหมด 6 เครื่อง 2.มีคอมพิวเตอร Note book 4 เครื่อง 3.อัตราตอเจาหนาที่ 1 : 1.4 4.การสํารองฐานขอมูล 1.มีการจัดการสํารองฐานขอมูลทุกวันโดยเก็บไวใน HARD DISK และ EXTERNAL BOX และเก็บไวในที่ปลอดภัย 2.ฐานขอมูลสํารองสามารถเรียกนํามาใชได กรณีขอมูลมีการสูญ หาย 5.ระบบการดูแล บํารุงรักษา 1.มีแผนสํารองกรณีเครื่องแมขายมีปญหา 2.มีการใชโปรแกรมไวรัสลิขสิทธิ์ในเครื่องแมขาย 3.มีเครื่องสํารองไฟฟาเครื่องแมขาย 6.การพัฒนาทักษะเจาหนาที่ 1.มีการจัดทําหลักฐานการฝกอบรมและการพัฒนาทักษะการใช งานโปรแกรมตางๆ 2.เจาหนาที่ผานการฝกอบรมอยางนอยปละ 1ครั้ง 7.ระบบรักษาความลับขอมูลสารสนเทศ 1.มีการการตั้งรหัสผานปองกันการเขาใชงานคอมพิวเตอรจาก บุคคลภายนอก 2.มีการการตั้งรหัสผานปองกันการใชงานไวไฟ 3.มีการจัดทําแนวทางการใหบริการขอมูลสารสนเทศกับ หนวยงานภายนอกสังกัด
  • 21. 21 หมวดที่ 2 การใหความสําคัญกับประชากรกลุมเปาหมาย ชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสีย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ไดดําเนินการเกี่ยวกับการใหความสําคัญกับประชากร กลุมเปาหมาย ชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสีย ดังนี้ 1)การคนหาปญหาของชุมชน 2) การประสานงานภายใน เครือขาย 3) การประสานงานภายนอกและภาคีเครือขาย 4)บทบาทของภาคีเครือขายที่มีสวนรวม 5) ความพึงพอใจของผูรับบริการ ผูมีสวนไดสวนเสียและการจัดการขอรองเรียน มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 การคนหาปญหาของชุมชน(ODOP/ OTOP) 2.1.1 การทําประชาคมสุขภาพตําบลบอตรุ ผลการคนหาปญหาจากการประชุมประชาคมและการจัดทําแผนชุมชนตําบลบอตรุ ป 2560 ปญหาดานคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ลําดับ สภาพปญหา ความคาดหวังและแนวโนมใน อนาคต 1 มีการระบาดของโรคอุบัติใหม โรคระบาด โรคติดตอ โรค ไขเลือดออก ไมมีการระบาดของโรคติดตอและ โรคอุบัติใหม 2 ประชาชนในพื้นที่ปวยเปนโรคเรื้อรังแนวโนมเพิ่มขึ้น เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผูปวยเรื้อรังลดลง มีความรูในการ ดูแลตนเอง 3 เด็ก ผูสูงอายุอยูตามลําพัง ผูสูงอายุมีปญหาสุขภาพและตอง รับภาระดูแลเด็ก ผูสูงอายุไดรับการดูแลสุขภาพ และเด็กไดรับการดูแลที่ดี 4 สถานที่ในการออกกําลังกายและสถานที่พักผอน มีพื้นที่ออกกําลังกาย 5 ขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้น ปริมาณขยะที่ถูกกําจัดใหหมด ดวยวิธีที่ถูกตอง 6 เยาวชนติดเกมส สิ่งลามก บุหรี่ สารเสพติดและทองกอนวัย อันควร เยาวชนมีอนาคตที่ดี ที่มา:แผนพัฒนาทองถิ่น 4ป เทศบาลตําบลบอตรุ
  • 22. 22 ภาพ 2 การทําประชาคมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560 ณ วัดสีหยัง ต.บอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา 2.1.2 โครงการและแผนสุขภาพชุมชนตําบลบอตรุ ป 2560 1. โครงการ การเฝาระวังโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน หลักการและเหตุผล โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเปนโรคเรื้อรังที่ปองกันได โดยประชาชนจะตองดูแลตนเองดวย การมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตอง โดยประชาชนจะตองดูแลตนเองดวยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตอง ควบคุมน้ําหนัก ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลและควบคุม ความเครียด นอกจากนี้ประชาชนยังตองปองกันตนเองดวยการตรวจสุขภาพประจําปเปนประจํา ซึ่งถือเปน วิธีการที่สําคัญอยางยิ่งในการเฝาระวังสุขภาพของตนเองไมใหเกิดโรคและลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซอน ตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ยังเปนการลดภาระคาใชจายของครอบครัวและของประเทศ ซึ่งถือเปนการ สงเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สถานการณโรคไมติดตอของตําบลบอตรุในระยะที่ผานมาพบวาโรคไมติดตอดังที่กลาวมาขางตนมี อัตราเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ซึ่งสาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากกลุมเปาหมายมีพฤติกรรม สุขภาพที่ไมพึงประสงค เชน การขาดความรูความเขาใจ การมีความเชื่อ คานิยมและวัฒนธรรมที่ขัดตอการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถูกตอง ขาดการดูแลเอาใจใสในการปฏิบัติตัวในการปองกันและควบคุมโรคไมติดตอ และไมออกกําลังกาย เปนตน สงผลทําใหโรคไมติดตอมีแนวโนมสูงขึ้น การจัดทําโครงการฯนี้มีวัตถุประสงค เพื่อติดตามดูแลและเฝาระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน ทั้งในกลุมที่มีภาวะสุขภาพปกติ กลุม เสี่ยงและกลุมผูปวย ซึ่งจะเกิดประโยชนตอการปองกันและการดูแลตนเองของประชาชนในชุมชนใหมีสุขภาพ ที่ดีตอไป
  • 23. 23 วัตถุประสงค 1.เพื่อสงเสริมกิจกรรมการเฝาระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนของประชาชนตําบล บอตรุ 2.เพื่อดูแลสุขภาพผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน เปาหมาย กลุมเปาหมาย 1.ประชาชนอายุ35ปขึ้นไปของหมู 1-5 ตําบลบอตรุ 2.กลุมปกติ กลุมเสี่ยง กลุมปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตําบลบอตรุ เปาหมาย 1.สงเสริมการรวมกลุมออกกําลังกายของประชาชนในหมูบานอยางนอย 3 กลุม 2.สงเสริมแกนนําออกกําลังกายดวยไมพลองและแอโรบิก 10 คน 3.ติดตามเยี่ยมกลุมเสี่ยง กลุมปวยในชุมชนเพื่อดูแลสุขภาพ ประเมินสุขภาพและปรับเปลี่ยน พฤติกรรม วิธีดําเนินการ 1. ประชุมแกนนําชุมชนและอสม. ชี้แจงการดําเนินโครงการ 2. จัดตั้งคณะทํางาน 3. พัฒนาแกนนําออกกําลังกายและอสม.ดวยไมพลองและแอโรบิกในหมูบาน 4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู 3อ2ส.ในกลุมออกกําลังกาย 5. เยี่ยมกลุมปกติ กลุมเสี่ยง กลุมปวยในชุมชนเพื่อใหคําแนะนํา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ ประเมินสุขภาพ 6.สงเสริมกิจกรรมออกกําลังกายของกลุมออกกําลังกายในชุมชน 7.ประสานงานกับเทศบาลบอตรุ กองทุนสุขภาพตําบลเพื่อสนับสนุนงบประมาณการออกกําลังกายใน ชุมชน 8.สงเสริมการจัดกิจกรรมถนนสายสุขภาพประจําหมูบาน 9.สงเสริมการปลูกผักอินทรียในเกษตรกร ใหมีแหลงผักปลอดสารพิษในชุมชน 10.สงเสริมความรู3อ2ส.ผานการประชาสัมพันธโดยหอกระจายขาว วิทยุชุมชน 11.ติดตามประเมินผล ระยะเวลาดําเนินงาน - ตุลาคม 2559- กันยายน 2560 งบประมาณ -กิจกรรมสงเสริมการออกกําลังกายของชุมชนขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพ ตําบลบอตรุ โดยใหชุมชนดําเนินการเอง -กิจกรรมสงเสริมการปลูกผักอินทรีย สนับสนุนวิทยากรจากการศึกษานอกโรงเรียนฯอําเภอระโนด
  • 24. 24 ผูรับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา การประเมินผล 1.มีกลุมการออกกําลังกายในชุมชน อยางนอย 3กลุม 2.ผลการเยี่ยมติดตามกลุมเสี่ยง กลุมปวยโดยอสม.ในชุมชน 3.ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุมเสี่ยงที่สมัครใจรวมโครงการ 4.อัตราปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนลดลง ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ การดําเนินโครงการนี้คาดวาจะไดรับประโยชนดังนี้ 1.ประชาชนในหมูบานมีการรวมกลุมออกกําลังกาย มีความรู3อ2ส.ทําใหมีสุขภาพแข็งแรง ชวย สงเสริมสุขภาพและปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2.มีแกนนําออกกําลังกายและสถานที่ออกกําลังกายในหมูบาน 3.สงเสริมสุขภาพกลุมปกติ กลุมเสี่ยง เพื่อลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุมเปาหมาย 4.สงเสริมสุขภาพกลุมปวยใหมีสุขภาพดีสามารถควบคุมอาการของโรคได
  • 25. 25 ผลการดําเนินงาน 1.สงเสริมกลุมออกกําลังกาย 3 ชมรม ไดแก ชมรมออกกําลังกาย เจดียงาม ชมรมออกกําลังกายบาน วัดประดูและชมรมผูสูงอายุบานวัดประดู กองทุนสุขภาพตําบลสนับสนุนชมรมออกกําลังกายชุมชนเจดียงาม จํานวน 20,000 บาท
  • 26. 26 2. สงเสริมการปลูกผักอินทรียในชุมชนในหมูบานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค 2 หมูบานเปาหมาย 3. ติดตามเยี่ยมกลุมเสี่ยง กลุมปวยในชุมชนโดยอสม.และการใหความรู3อ2ส (ณ พ.ค.2560) หมูที่ เยี่ยมกลุมเสี่ยง (คน) เยี่ยมกลุมปวย (เนนกลุมติดบานติดเตียง) (คน) หมู1 2 13 หมู2 - 1 หมู3 - 1 หมู4 1 2 หมู5 2 2 รวม 5 19
  • 27. 27 2.โครงการ การดูแลผูสูงอายุและผูปวยติดบานติดเตียงในชุมชนของตําบลบอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา หลักการและเหตุผล ปจจุบันประชากรผูสูงอายุมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งดานปริมาณและสัดสวนตอประชากร เนื่องจากจํานวน และสัดสวนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จํานวนผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเชนนี้ เนื่องมาจากการ พัฒนาดานสาธารณสุขและทางการแพทย ทําใหอัตราการตายลดลง ผูสูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต ผูสูงอายุก็ยังไดรับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของรางกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึง นําไปสูความถดถอยของรางกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไมสามารถชวยเหลือตังเองไดหรือชวยเหลือตนเองไดนอย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทําใหตองอาศัยพึ่งพาเปนภาระแกผูดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหลานี้ ทําใหผูสูงอายุดํารงชีวิตอยูอยางไมมีความสุข ผูสูงอายุจึงควรใหความสนใจดูแลสุขภาพใหสมบูรณแข็งแรงมี คุณภาพชีวิตที่ดี ปองกันการเกิดโรคตางๆ รวมทั้งฟนฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมใหภาวะของ โรคเหลานั้นมีอาการคงที่ ไมกําเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกวาเดิมซึ่ง จะทําใหผูสูงอายุมีชีวิตอยูอยางมี คุณคาสามารถทําประโยชนใหแกสังคม และมีความสุขในปนปลายของชีวิต ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา มีประชากรผูสูงอายุในป 2559 จํานวน 1,248 คน จาก การคัดกรองสุขภาพดวยแบบทดสอบความสามารถในการดําเนินชีวิตประจําวัน(ADL) พบวามีผูสูงอายุประเภท พึ่งพาสมบูรณรอยละ 0.88 พึ่งพารอยละ 4.56 และปกติ รอยละ 94.56 นอกจากนี้แนวโนมในอนาคตอาจ มีผูปวยติดบานติดเตียงเพิ่มมากขึ้น เพราะผูสูงอายุสวนใหญปวยดวยโรคเรื้อรัง เชน เบาหวานและความดัน โลหิตสูง ทั้งนี้ผูสูงอายุประเภทพึ่งพาสมบูรณและพึ่งพาตองไดรับการดูแลสุขภาพอยางตอเนื่อง เพราะเปนกลุม มีปญหาสุขภาพและอยูในระยะสุดทายของชีวิต หากไมไดรับการดูแลอยางตอเนื่องจะสงผลตอการมี ภาวะแทรกซอนและเสียชีวิตได โครงการการดูแลผูสูงอายุและผูปวยติดบานติดเตียงในชุมชน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ จึงจัดทําขึ้นเพื่อสงเสริมบริการเยี่ยมบานและดูแลสุขภาพผูปวยในชุมชน ตลอดจนสงเสริมทักษะ ความรูในการ ดูแลสุขภาพของผูดูแลผูปวย โดยทีมเยี่ยมบาน ทั้งนี้หากโครงการประสบผลสําเร็จจะสงผลดีตอผูปวยในการ ชวยลดการเจ็บปวยจากโรคเรื้อรังและโรคแทรกซอนตางๆ รวมทั้งสงผลดีตอผูดูแลและญาติไดรวมกันดูแล สุขภาพผูปวยไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผูปวยและญาติใหมีขวัญกําลังใจมากขึ้น วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาบริการเยี่ยมบานและดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ผูปวยติดบานติดเตียงในชุมชน 2. เพื่อสงเสริมความรูและทักษะในการดูแลสุขภาพของผูดูแลผูปวย เปาหมาย กลุมเปาหมาย 1.ผูสูงอายุ 2.ผูปวยติดบาน ติดเตียง ผูปวยระยะสุดทาย เปาหมายกิจกรรม 1.คัดกรองสุขภาพผูสูงอายุในชุมชนและจัดประเภทผูสูงอายุเปน3กลุม(ติดบาน ติดสังคม ติดเตียง)
  • 28. 28 2.บริการเยี่ยมบานเพื่อดูแลสุขภาพกลุมติดบาน ติดเตียง ผูปวยระยะสุดทายหรือมีปญหาสุขภาพ ครอบคลุมทุกมิติโดยเจาหนาที่ประจําครอบครัวของรพ.สต.รวมกับทีมเยี่ยมบานและอาสาสมัครสาธารณสุข ประจําหมูบาน (อสม.) รอยละ 100 กลวิธีการดําเนินงาน ขั้นเตรียมการ 1 .ประชุมชี้แจงเจาหนาที่รพ.สต., ทีมเยี่ยมบานหลักและอสม.และประสานการดําเนินโครงการกับ เทศบาลตําบลบอตรุ 2. จัดหาวัสดุ อุปกรณทางการแพทยเพื่อจัดบริการเยี่ยมบานในชุมชน 3. พัฒนาทีมเยี่ยมบานหลักของตําบลบอตรุอยางตอเนื่องรวมกับเทศบาลบอตรุ 4. เตรียมเอกสารการเยี่ยมบานและขอมูลผูสูงอายุ ผูปวยติดบานติดเตียง ผูพิการ 5. ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตําบล ขั้นดําเนินงาน 1.ประชุมชี้แจงวัตถุประสงคโครงการกับ อสม.กลุมผูปวยและญาติ 2.รวมวางแผนการเยี่ยมบาน 3.พัฒนาทีมแกนเยี่ยมบานในชุมชนอยางตอเนื่องรวมกับอสม.ตําบลบอตรุ 4. เยี่ยมบานเพื่อดูแลสุขภาพทุกมิติ ประเมินปญหาสุขภาพแตละรายในชุมชน รวมทั้งการสงตอใน รายที่ตองพบแพทย จากเจาหนาที่ประจําครอบครัวของ รพ.สต. ทีมเยี่ยมบานและอสม. 5.สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและภาคีเครือขายในการมีสวนรวมการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ ขั้นสรุปผล สรุปผลงานทุก 6 เดือนและเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ ระยะการดําเนินการ ระยะแรก มกราคม –กันยายน 2559 ระยะที่สอง ตุลาคม 2559 - กันยายน 2560 สถานที่ดําเนินงาน ม.1-5 ตําบลบอตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา งบประมาณ การพัฒนาทีมแกนนําหลักดูแลผูสูงอายุในชุมชน สนับสนุนโดยเทศบาลตําบลบอตรุ การประเมินผล ประเมินจากตัวชี้วัดตอไปนี้ 1. รอยละของผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงที่ไดรับการเยี่ยมบาน 2. รอยละของผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงที่ประเมินพบปญหาสุขภาพไดรับการแกไขและจัดการปญหา สุขภาพโดยทีมเยี่ยมบาน
  • 29. 29 3. รอยละของผูดูแลหรือญาติมีทักษะและสามารถจัดการปญหาสุขภาพและดูแลสุขภาพของผูปวยได ผลประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ผูปวยไดรับการเยี่ยมบานโดยทีมเยี่ยมบานและทีมสหสาขาวิชาชีพ ซึ่งจะชวยลดอาการเจ็บปวย ลด ภาวะแทรกซอนจากโรคและชวยเสริมพลังอํานาจของผูปวยตอการดูแลสุขภาพและอาการเจ็บปวย 2. ผูดูแลผูปวยและญาติมีความรูการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพไดดีขึ้นตลอดจนมีขวัญ กําลังใจในการดําเนินชีวิต
  • 31. 31 ตาราง4 ทีมดูแลผูสูงอายุและผูปวยติดเตียง(CORE TEAM) ป 2560 ของรพ.สต.บอตรุ ลําดับ ชื่อ สกุล หมูที่ รับผิดชอบ โทรศัพท จนท.ประจําครอบครัว 1 น.ส.อุบล ตําภู ม.1 095-2699231 น.ส.ทิพยภาภรณ เจิมขวัญ น.ส.นุริสา ดีสะธรรม 2 น.ส.ศรีอําพร สรสวัสดิ์ ม.2 063-9687467 นางสุพร ลอยลิบ นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล 3 น.ส.วันเพ็ญ ดวงทอง ม.3 084-8555540 นางจิตรทิพย จันมณี น.ส.ภัสสร ไทยราษฎร 4 น.ส.อรพินท พรอมมูล ม.4 086-9608755 นายศักดิ์กยะ บุญรอด 5 น.ส.จริยา ผอมไผ ม.5 082-8033906 น.ส.สาวิตรี ชูแกว 6. น.ส.กัญภิรมย ชวยนุกูล ม.5 081-5411332 น.ส.สาวิตรี ชูแกว บทบาทหนาที่ 1.สํารวจผูสูงอายุ ผูสูงอายุติดบาน ติดเตียงและจัดทําทะเบียนรวมกับอสม.ในหมูบาน 2.ประสานการเยี่ยมบานผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียงรวมกับ อสม.ในหมูบาน 3.เยี่ยมบานผูสูงอายุติดบานติดเตียงและใหความรูการดูแลสุขภาพแกผูดูแลในครอบครัว 4.ประสานการทํางานเยี่ยมบานผูสูงอายุและผูปวยติดเตียงในหมูบานรวมกับเจาหนาที่ประจํา ครอบครัวของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ 5.ประสานการรับบริจาคสิ่งของในชุมชนและเทศบาลบอตรุ เพื่อชวยเหลือผูสูงอายุ ผูปวยติดบานติด เตียง
  • 32. 32 แผนผังการทํางานทีมดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง(CORE TEAM)รพ.สต.บ่อตรุ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล เจ้าหน้าทีประจําครอบครัว ภาคีเครือข่าย เทศบาลตําบลบ่อตรุ ผู้นําชุมชน อสม. ผู้ดูแล ประชาชนทัวไป ทีมเยียมบ้านในชุมชน CORE TEAM บริการเยียมบ้านในชุมชน(3HOME) จัดทําแผนเยียมบ้าน Care plan ประสานงานรพ.แม่ข่าย/ อสม. แกนนําและผู้ดูแลใน ชุมชน วัดสัญญาณชีพ ซักประวัติ สัมภาษณ์ ตรวจร่างกาย ประเมินภาวะสุขภาพ ให้สุขศึกษา คําแนะนํา ส่งต่อรพ.สต.หรือแม่ข่าย บันทึกข้อมูลการให้บริการด้วยโปรแกรมFFC/JHCIS รพ.ระโนด
  • 34. 34 2.พัฒนาทีมดูแลผูสูงอายุ ติดบานและติดเตียง หมูบานละ 7 คน จํานวน 35 คน หมูบาน จํานวนแกนนําหลัก (คน) ทีมผูดูแลผูสูงอายุ ติดบาน ติดเตียง (คน) อสม. (คน) หมู 1 1 ทีมสุโขทัย จํานวน 7 คน 38 หมู 2 1 ทีมดอกดาวเรือง จํานวน 7 คน 31 หมู 3 1 ทีมดอกรัก จํานวน 7 คน 16 หมู 4 1 ทีมบานไมรูโรย จํานวน 11 คน 19 หมู 5 2 ทีมเฟองฟา จํานวน 7 คน 32 รวม 6 39 136 ภาพ 3 การอบรมและฝกหนางานทีมดูแลผูสูงอายุ ติดบานและติดเตียง ป 2560