SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
1
ผลการปฏิบัติงานสาธารณสุข
ป ๒๕60
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ่อตรุ
อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา
2
ผลงานเดน ป 2560
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลติดดาวระดับเขตสุขภาพที่ 12
3
สวนที่ 1
ขอมูลทั่วไป
1.1 ประวัติ
ประวัติความเปนมา
ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา มี 5 หมูบาน คําวาบอตรุ มีที่มาจาก “บอตรุเงิน บอตรุ
ทอง” ซึ่งในสมัยกอนชาวบานไดนําเงินทองที่จะไปทําบุญกอสรางเจดียวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด
นครศรีธรรมราช ระหวางทางเกิดพายุจึงไดนําเงินทองมาฝงไวบริเวณนี้และเรียกชื่อบริเวณนี้วา “บอตรุ”จนถึง
ปจจุบัน กํานันคนแรกของตําบลบอตรุชาวบานเรียกวา “ชายจอม” ไดรับพระราชทานนามสกุลจากร.5วา
“นิยมเดชา” ชาวบานสวนใหญในบานบอตรุจึงนิยมใชนามสกุลนิยมเดชาตามกันมา
ที่ตั้ง ขนาดและอาณาเขต
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา รับผิดชอบพื้นที่ จํานวน 5
หมูบาน มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้
- ทิศเหนือ จด ตําบลวัดสน อําเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา
- ทิศใต จด ตําบลชุมพล อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
- ทิศตะวันออก จด ทะเลอาวไทย
- ทิศตะวันตก จด ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ จังหวัดสงขลา
ภาพ 1 แผนที่ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา
N
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ่อตรุ
แผนทีตําบลบ่อตรุ
อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา
สัญลักษณ์
รพ.สต.บ่อตรุ
ถนน
วัด
มัสยิด
โรงเรียน
ต.วัดสน
อ.สทิงพระ
อ.กระแสสินธุ์
หมู่ 4
บ้านวัดประดู่
หมู่ 5
บ้านโพธิ
หมู่ 3
บ้านพังขีพร้า
หมู่ 2
บ้านเจดีย์งาม
หมู่ 1
บ้านบ่อตรุ
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก
เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง
ลักษณะภูมิอากาศ
มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี
ทะเลอาวไทย มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล
1.3 ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร
ประชากร
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ
1,595 หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล
3,186 คน หญิง 3,475 คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ
แผนภูมิ 1 ปรามิดประชากรตําบลบอตรุ ป
ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก
เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง
มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี 2ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล ชายฝง
มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล
ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ 5 หมูบาน 1,740 หลังคาเรือน เขตเทศบาล
หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล 145 หลังคาเรือน ประชากร
คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ ดังปรามิดประชากรตอไปนี้
ปรามิดประชากรตําบลบอตรุ ป 2560 (ณ 1 มิถุนายน 2560)
4
พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก
ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล ชายฝง
หลังคาเรือน เขตเทศบาล
หลังคาเรือน ประชากร 6,661 คน เพศชาย
ดังปรามิดประชากรตอไปนี้
5
ตาราง 1 จํานวนหลังคาเรือนและประชากรจากการสํารวจ จําแนกรายหมูบานในความรับผิดชอบของ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป พ.ศ.2560(1มิถุนายน2560)
ลําดับที่ ชื่อหมูบาน หมูที่ หลังคาเรือน ประชากร (คน)
ชาย หญิง รวม
1. บานบอตรุ 1 535 1,207 1,307 2,514
2. บานเจดียงาม 2 402 668 702 1,370
3. บานพังขี้พรา 3 252 467 525 992
4. บานวัดประดู 4 177 240 299 539
5. บานโพธิ์ 5 374 603 643 1,246
รวม - 1,740 3,185 3,476 6,661
ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560
ตาราง 2 ประชากรตําบลบอตรุตามกลุมวัยที่สําคัญ ป 2560
กลุมวัย จํานวน (คน) รอยละ
1.กลุมอายุ 0-5 ป 494 7.42
2.นักเรียน
-ป.1-6
-ม.1-3
630
140
9.46
2.10
3.กลุมอายุ 15-19 ป 526 7.89
4.กลุมอายุ 20-59 ป
5.กลุมผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป 1,284 19.27
ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560
ตาราง 3 อัตราเกิด อัตราตายและอัตราเพิ่มประชากรตําบลบอตรุ ป 2555-2559
สถานะชีพ ป2555 ป2556 ป2557 ป2558 ป2559
1.อัตราเกิดตอพัน 7.29 9.55 7.13 9.16 10.43
2.อัตราตายตอพัน 3.40 11.71 11.71 11.38 4.62
3.อัตราเพิ่มตอรอย 0.39 -0.54 -0.46 -0.22 0.58
ที่มา : ขอมูลกลางปรพ.สต.บอตรุป 2555-2559
1.4 ดานสังคมวัฒนธรรมและประเพณี
ตําบลบอตรุมีวัฒนธรรมประเพณีสืบตอกันมาตั้งแตบรรพบุรุษ จนถึงปจจุบัน ดังนี้
1. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันขึ้นปใหม วันที่ 1 มกราคม ของทุกป
2. ประเพณีทําบุญวันมาฆบูชา
3. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันวาง ( วันสงกรานต 13 เมษายน )
6
4. ประเพณีรดน้ําดําหัวขอพรผูสูงอายุ ในสัปดาหผูสูงอายุแหงชาติ เดือนเมษายน ของทุกป
5. ประเพณีทําบุญวันวิสาขบูชา
6. ประเพณีทําบุญวันเขาพรรษา
7. ประเพณีทําบุญวันสารทเดือนสิบ เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกบรรดาญาติมิตรที่ลวงลับไปแลว ซึ่งจะมี
การทําบุญตักบาตรปละ 2 ครั้ง ในวันแรม 1 ค่ํา และวันแรม 15 ค่ํา เดือนสิบของทุกป
8. ประเพณีทําบุญลากพระ ในวันแรม 1 ค่ําเดือน 11 หลังออกพรรษา มีกิจกรรมแหเรือทรงพระทาง
บกและทางน้ําใหชาวบานไดรวมทําบุญตักบาตรและแขวนขนมตม มีการประกวดเรือทรงพระ แขงตีโพน แขง
ทําขนมตม แขงขบวนกลองยาวและแขงเรือพาย
9. ประเพณีการทําบุญทอดกฐิน เพื่อทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา
10. ประเพณีลอยกระทง ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 ของทุกป
11. เดือนรอมฎอน (การถือศีลอดในศาสนาอิสลาม) ปละ 1 ครั้ง
1.4 การคมนาคม ขนสงและระบบสาธารณูปโภค
การคมนาคมของประชาชนในการเดินทางระหวางอําเภอ และระหวางจังหวัด สวนใหญเดินทางโดย
รถโดยสารรับจางประจําทาง และรถยนตรับจาง(ไมประจําทาง) โดยมีถนนสายหลัก คือ ระโนด - สงขลา
การคมนาคมภายในอําเภอ(ระหวางตําบล / หมูบาน) สวนใหญเดินทางโดยรถยนตรับจาง รถจักรยานยนต
รับจาง
การคมนาคมในหมูบาน สวนใหญจะเดินทางโดย รถจักรยานยนตรับจาง /สวนบุคคล โดยมีถนน
คอนกรีตภายในหมูบาน
สําหรับการเดินทางของประชาชน จากหมูบานเพื่อมารับบริการที่ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
บอตรุตําบลบอตรุ การคมนาคมสะดวก ใชเวลาไมมาก สวนใหญจะเดินทางโดย รถยนตสวนบุคคล
รถจักรยานยนตรับจาง/สวนบุคคล ระยะทางจาก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ถึง
- ทางหลวงแผนดินหมายเลข 408 ระโนด – สงขลา 1 กิโลเมตร
- โรงพยาบาลระโนด 30 กิโลเมตร
- สํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด 32 กิโลเมตร
- โรงพยาบาลสงขลา 68 กิโลเมตร
- โรงพยาบาลศูนยหาดใหญ 98 กิโลเมตร
1.5 เศรษฐกิจ
เนื่องจากภูมิประเทศเปนที่ราบลุมอยูระหวางทะเลสาบและอาวไทย จึงทําใหเหมาะแกการ
เกษตรกรรม ประชาชนมีอาชีพหลักคือ ทํานา เลี้ยงกุง ประมงชายฝงและอาชีพเสริมคือ การเลี้ยงสัตว
ขอมูลอาชีพ(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด) มีดังนี้
- ทํานา รอยละ 34.34
- รับจางทั่วไป รอยละ 14.58
- คาขาย ธุรกิจสวนตัว รอยละ 8.78
- ราชการ เจาหนาที่รัฐและรัฐวิสาหกิจ รอยละ 3.21
- ทําไร ทําสวน ประมงและปศุสัตว รอยละ 3.04
- วางงาน รอยละ 9.85
7
- กําลังศึกษา รอยละ 20.67
รายไดประชากร(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด)
- เขตเทศบาล รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 255,905 บาทตอป
รายไดเฉลี่ยตอคน 68,072 บาทตอป
- เขตชนบท(อบต.) รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 279,877 บาทตอป
รายไดเฉลี่ยตอคน 94,193 บาทตอป
1.6 สิ่งแวดลอม
รายการ จํานวน
(แหง)
1. โรงงานอุตสาหกรรมและสถานที่ผลิตอาหาร
-สถานที่ผลิตอาหารและน้ําดื่ม 2
2. สถานบริการสาธารณสุขเอกชน
-รานขายยา/สถานพยาบาล 2
3. รานอาหาร แผงลอย
-รานขายของชํา 33
-รานอาหาร แผงลอยจําหนายอาหาร 5
-แผงจําหนายอาหารสด 5
-รานเสริมสวย 4
-ตลาดนัด 3
4. อื่นๆ
-รานเกมส 1
-คอกหมู 1
-โรงสีขาว 2
-รานซอมรถจักรยานตยนต 3
-ลางอัดฉีด 2
1.7 ทุนทางสังคม /ศักยภาพชุมชน
รายการ จํานวน
1. กองทุน
-กลุมสัจจะวันละบาท 1 แหง
-กองทุนสัจจะออมทรัพย 1 แหง
-กองทุนเงินลาน 4 แหง
2. องคกรทางสังคม
-ชมรมอสม. 1 ชมรม
-ชมรมผูสูงอายุ 1 ชมรม
-ชมรมออกกําลังกาย 2 ชมรม
8
ตอ
รายการ จํานวน
-กลุมปลูกผักปลอดสารพิษ 1 ชมรม
-วิทยุชุมชน 1 แหง
3. บุคคลสําคัญ ผูนํา
-หมอพื้นบาน 1 คน
-หมอนวดแผนไทย 2 คน
-พระ/ผูนําศาสนา 10 รูป/2 คน
2. สุขภาวะสุขภาพของประชาชนตําบลบอตรุ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุไดทบทวนผลงานและวิเคราะหปญหาสุขภาพของประชาชน
ในตําบลบอตรุ โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานที่ผานมาและจากการทําประชาคมสุขภาพของเทศบาล
ตําบลบอตรุ ปรากฏผลดังนี้
ตาราง 4 อัตราปวยโรคที่สําคัญของประชาชนตําบลบอตรุ ป 2557-2560(มิ.ย.2560)
โรค อัตราปวย
1.ไขเลือดออก ป 2557 อัตราปวย 53.83 ตอแสนประชากร
ป 2558 อัตราปวย 27 ตอแสนประชากร
ป 2559 อัตราปวย 263 ตอแสนประชากร
ป 2560 อัตราปวย 135 ตอแสนประชากร
2. โรคระบบเมตาบอลิก
2.1 ความดันโลหิตสูง ป 2557 อัตราปวย 9218 ตอแสนประชากร
ป 2558 อัตราปวย 9378 ตอแสนประชากร
ป 2559 อัตราปวย 10425 ตอแสนประชากร
ป 2560 อัตราปวย 10899 ตอแสนประชากร
2.2 เบาหวาน ป 2557 อัตราปวย 4077 ตอแสนประชากร
ป 2558 อัตราปวย 4411 ตอแสนประชากร
ป 2559 อัตราปวย 4870 ตอแสนประชากร
ป 2560 อัตราปวย 5149 ตอแสนประชากร
3.ภาวะสุขภาพผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียง ป 2559 ผลการสํารวจสุขภาพผูสูงอายุ(ADL)
-ติดสังคม รอยละ 94.56
-ติดบาน รอยละ 4.56
-ติดเตียง รอยละ 0.88
ป 2560 ผลการสํารวจสุขภาพผูสูงอายุ(ADL)
-ติดสังคม รอยละ 94.52
-ติดบาน รอยละ 4.52
-ติดเตียง รอยละ 0.97
9
ตาราง 5 ปญหาสุขภาพชุมชนจากการประชุมประชาคมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560
ลําดับ สภาพปญหา ความคาดหวังและแนวโนมใน
อนาคต
1 มีการระบาดของโรคอุบัติใหม โรคระบาด โรคติดตอ โรค
ไขเลือดออก
ไมมีการระบาดของโรคติดตอและ
โรคอุบัติใหม
2 ประชาชนในพื้นที่ปวยเปนโรคเรื้อรังแนวโนมเพิ่มขึ้น เชน
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผูปวยเรื้อรังลดลง มีความรูในการ
ดูแลตนเอง
3 เด็ก ผูสูงอายุอยูตามลําพัง ผูสูงอายุมีปญหาสุขภาพและตอง
รับภาระดูแลเด็ก
ผูสูงอายุไดรับการดูแลสุขภาพ
และเด็กไดรับการดูแลที่ดี
4 สถานที่ในการออกกําลังกายและสถานที่พักผอน มีพื้นที่ออกกําลังกาย
5 ขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้น ปริมาณขยะที่ถูกกําจัดใหหมด
ดวยวิธีที่ถูกตอง
6 เยาวชนติดเกมส สิ่งลามก บุหรี่ สารเสพติดและทองกอนวัย
อันควร
เยาวชนมีอนาคตที่ดี
ที่มา: แผนพัฒนาทองถิ่น 4ป เทศบาลตําบลบอตรุ
3. ขอมูลโรงพยาบาลสงเสริมสุภาพตําบลบอตรุ
3.1 บุคลากร
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีบุคลากรปฏิบัติงาน จํานวน 8 คน ดังนี้
ลําดับ ชื่อ สกุล ตําแหนง หมอประจําครอบครัว
1 นางจิตรทิพย จันมณี ผอ.รพ.สต.บอตรุ หมู 5
2 นางสุพร ลอยลิบ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ หมู 2
3 นายศักดิ์กยะ บุญรอด นวก.สาธารณสุขชํานาญการ หมู 4
4 นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ หมู 3
5 น.ส.นุริสา ดีสะธรรม จพ.สาธารณสุขชุมชนปฏิบัติงาน หมู 1
6 น.ส.ภัสสร ไทยราษฎร จพ.ทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน หมู 2
7 น.ส.ทิพยภาภรณ เจิมขวัญ นวก.สาธารณสุข หมู 1
8 น.ส.สาวิตรี ชูแกว นวก.สาธารณสุข หมู 5
10
3.2 โครงสรางองคกร
โครงสรางการบริหารโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
สาธารณสุขอําเภอระโนด
นายนพพร นิลรัตน์
ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล
นางจิตรทิพย์ จันมณี
นางจิตรทิพย์ จันมณี
ผอ.รพ.สต.บ่อตรุ
- งานบริหารบุคคลและ
ทรัพยากร
- งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล
และพัฒนาหน่วยบริการ
- งานสุขศึกษา
นายศักดิกยะ บุญรอด
นวก.สาธารณสุขชํานาญการ
- งานข้อมูลข่าวสาร
- งานวิชาการ
- งานควบคุมโรคติดต่อและSRRT
- งานสุขภาพภาคประชาชน
- งานแผนงานและการประเมินผล
- งานอนามัยสิงแวดล้อม
นางสุพร ลอยลิบ
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
- งานรักษาพยาบาล
- งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ
- งานอนามัยแม่และเด็ก
- งานสุขภาพจิต
นส.สาวิตรี ชูแก้ว
นวก.สาธารณสุข
- งานอนามัยโรงเรียน
- งานคุ้มครองผู้บริโภค
- งานโภชนาการ
นางรสสุคนธ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
- งานรักษาพยาบาล
- งานชันสูตรสาธารณสุข
-งานควบคุมป้องกันการติดเชือ
นส.ภัสร ไทยราษฎร์
จพ.ทันตสาธารณสุขปฏิบัติการ
- งานทันตสาธารณสุข
- รับผิดชอบหมู่ 3
นส.ทิพย์ภาภรณ์ เจิมขวัญ
นวก.สาธารณสุข
- งานยาและเวชภัณฑ์
- งานผู้พิการ
- งานบัตรประกันสุขภาพ
นส. นุริสา ดีสะธรรม
จพ.สาธารณสุขปฏิบัติการ
- งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
- งานวางแผนครอบครัว
11
3.3 ภาคีเครือขายของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
หมูที่ อสม.
(คน)
ทีมแกนดูแลผูสูงอายุ
(Core Team) (คน)
ทีมผูดูแลผูสูงอายุ
(คน)
หมู 1 38 1 ทีมสุโขทัย จํานวน 7 คน
หมู 2 31 1 ทีมดอกดาวเรืองจํานวน7 คน
หมู 3 16 1 ทีมดอกรัก จํานวน 7 คน
หมู 4 19 1 ทีมบานไมรูโรยจํานวน 11คน
หมู 5 32 2 ทีมเฟองฟา จํานวน 7 คน
รวม 136 6 39
3.4 การสรางความผาสุกและความพึงพอใจแกบุคลากรโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560
ตาราง6 ผลการสํารวจความสุขของบุคลาการดวยเครื่องมือวัดความสุขดวยตนเอง(Happinometer)
ดาน คาเฉลี่ย ระดับ
1.สุขภาพกายดี 95.00 Very happy
2.ผอนคลายดี 82.50 Very happy
3.น้ําใจดี 85.83 Very happy
4.จิตวิญญาณดี 85.00 Very happy
5.ครอบครัวดี 95.83 Very happy
6.สังคมดี 87.50 Very happy
7.ใฝรูดี 86.11 Very happy
8.สุขภาพเงินดี 76.04 Very happy
9.การเงินดี 89.13 Very happy
คาเฉลี่ยรวม 86.99 Very happy
ที่มา : http://happinometer.moph.go.th/reports/bymyhosp เขาถึง 8 มิ.ย.2560
ผลการวิเคราะหความสุขของบุคลากรรพ.สต.บอตรุ ป 2560 ดวยเครื่องมือวัดความสุขดวยตนเอง
ของกระทรวงสาธารณสุข ปรากฏวา
คาเฉลี่ยรวมทุกดาน 86.99 ระดับ Very happy ดานที่มีคามากที่สุดคา ครอบครัวดี คาเฉลี่ย
95.83 รองลงมา สุขภาพกายดี คาเฉลี่ย 95.0 นอยที่สุดคือ สุขภาพเงินดี คาเฉลี่ย 76.04
ผลการสํารวจแสดงใหเห็นวาบุคลากรมีความสุขโดยรวมระดับมาก ทั้งนี้เนื่องจากสวนใหญบุคลากรมี
การปฏิบัติตามหลักการดูแลสุขภาพ 3อ2ส. มีการชวยเหลือเกื้อกูลในการทํางานรวมกันและมีการสงเสริมและ
12
สนับสนุนการทํางานจากผูบริหารทุกระดับ รวมทั้งครอบครัวใหการสนับสนุนและมีความสัมพันธที่ดีภายใน
ครอบครัว
3.5 ระบบการปรับปรุง performance ขององคกร
ระบบการพัฒนาคุณภาพ: กิจกรรม 5 ส
กระบวนการประเมินผล: กิจกรรม 5 ส การประเมินผลงานโดยคณะกรรมการประเมินผล
งานของสํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด การตรวจสอบภายในโดยสํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนดและ
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
กระบวนการเรียนรูระดับองคกร: การใชมาตรฐานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในการกําหนด
ทิศทางการพัฒนา การรับการนิเทศงานจากทีมสหวิชาชีพ การเทียบเคียงกับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
อื่น ศึกษาดูงาน คนควาขอมูลจาก Internet ฝกปฏิบัติหนางาน อบรม/สัมมนา ทําวิจัย
กระบวนการสรางนวัตกรรม: เสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรูในหนวยงาน นําเสนอผลงานใน
สํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด โรงพยาบาลระโนดและเวทีวิชาการอื่นๆ
ผลงานเดนและความภาคภูมิใจขององคกร:
- ป 2546 ไดรับรางวัลสถานีอนามัยดีเดนระดับเขต ภาคใตและระดับประเทศจากชมรมสาธารณสุข
แหงประเทศไทย
- ป 2552 ผานการรับรองมาตรฐานสุขศึกษาระดับจังหวัดสงขลา
- ป 2554 ไดรับประกาศเกียรติคุณองคการมีผลงานยอดเยี่ยมจากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ
ระโนด
- ป 2560 ไดรับรางวัลโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลติดดาวระดับเขต 12
13
สวนที่ 2
งานบริหาร
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินกิจกรรมงานบริหารดังตอไปนี้
ลําดับ กิจกรรม ผลงาน
1. การปรับปรุงสภาพสิ่งแวดลอมภายนอกอาคาร -มีเสาธงและธงชาติสวยงาม เหมาะสม
-มีปายรณรงคการใชหมวกนิรภัยและเข็มขัดนิรภัย
-มีปายแนะนําการดูแลสุขภาพ เชน 3อ2ส มีวิดิ
ทัศนสงเสริมสุขภาพแกผูรับบริการ
2. การปรับปรุงสภาพสิ่งแวดลอมภายในอาคาร -มีมุมจัดเก็บเอกสาร วารสาร บทความวิชาการ
-มีแผนที่ตําบลบอตรุ
-มีศูนยขอมูลขาวสารตําบลบอตรุ (Internet TV)
สําหรับนําเสนอผลงานและคนหาขอมูลวิชาการของ
เจาหนาที่
-มีผังการแบงงานรับผิดชอบ
-มีปายวิสัยทัศน พันธกิจ คานิยม วัฒนธรรมองคกร
3. งานสารบรรณ -มีรูปแบบหนังสือ ชนิดหนังสือถูกตอง
-มีการเสนอหนังสือถูกตองตามขั้นตอน
-มีทะเบียนรับสงหนังสือถูกตอง เปนปจจุบัน
4. การเก็บรักษาและทําลายหนังสือ -มีการจัดเก็บแฟมแยกหมวดหมู แยกสีชัดเจน มี
บัญชีคุมแฟม
-มีคณะกรรมการทําลายหนังสือและบัญชีขอทําลาย
หนังสือ
-มีการเก็บหนังสือที่รอทําลายที่สะดวก ปลอดภัย
5. การเงินและบัญชี -มีคําสั่งคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน เจาหนาที่
รับผิดชอบเบิก-จาย เจาหนาที่รับผิดชอบงาน
-มีแผนการใชเงินงบประมาณ เงินบํารุง
-มีการจัดทําบัญชีเกณฑคงคาง
6. งานพัสดุ -มีคําสั่งแตงตั้งเจาหนาที่พัสดุ
-มีคณะกรรมการกําหนดรายการความตองการใช
วัสดุ ครุภัณฑ มีแผนการจัดซื้อจัดจาง
-มีทะเบียนครุภัณฑ บัญชีรับจายวัสดุ
-มีรายงานการสํารวจพัสดุประจําป
14
ตอ
ลําดับ กิจกรรม ผลงาน
7. การบริหารงานพัสดุ
งานยาพาหนะ
-มีทะเบียนยานพาหนะ แผนการใช
-มีการขออนุญาตมีทะเบียนและการใช
-มีคําสั่งผูรับผิดชอบ ทะเบียนซอมบํารุงยานพาหนะ
8. การรักษาความปลอดภัยสวนราชการ -มีคําสั่งเวร ยาม มีการตรวจเวรยาม
-มีบัญชีลงชื่อปฏิบัติงาน มีบันทึกเหตุการณ
-มีระบบรักษาความปลอดภัยในหนวยงาน เชน
กลองวงจรปด
-มีการเตรียมพรอมรองรับกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือ
เหตุการณปกติ เชน มีถังดับเพลิง มีเบอรโทร
สําหรับติดตอ มีแผนฉุกเฉินดานยา
9 การบริหารงานบุคคล -มีสําเนา กพ.7 ครบทุกคน
-มีคําสั่งหมอบหมายหนาที่รับผิดชอบ
-มีโครงสรางสายงาน การควบคุมกํากับภายใน
-มีทะเบียนคุมใบลา สําเนาใบลา
-มีสําเนาบันทึกขอนุญาตไปราชการ
15
สวนที่ 3
งานวิชาการและพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินกิจกรรมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพดังตอไปนี้
ลําดับ กิจกรรม ผลงาน
1. ขอมูลการดําเนินงานดานสาธารณสุข 1.มีขอมูลพื้นฐานประจําป
-มีการสรุปผลงานประจําป
-มีการสรุปอัตราปวย สถิติการระบาดและอัตราตาย
2.การวิเคราะหขอมูลดานสุขภาพของประชาชน
-มีการจัดทําเอกสารผลงานยอนหลัง 3ป
3.มีการจัดเรียงลําดับปญหาสุขภาพในพื้นที่ ยอนหลัง
3 ป
2. การจัดทําแผนงานประจําป 1.มีการจัดทําแผนคําของบคาเสื่อม
2.มีการจัดทําแผนยุทธศาสตรตําบล/แผนปฏิบัติการ
พรอมทั้งชี้แจงและมอบหมายแกบุคลากร
3.มีการจัดทําแผนเงินบํารุง
4.มีโครงการประจําปที่ผานการอนุมัติ
3. งานระบาดวิทยา 1.มีคําสั่งทีม SRRTระดับตําบล
2.มีการดําเนินงานควบคุมการระบาดของโรคในพื้นที่
-มีทะเบียนรับแจงขาว
-มีการพัฒนาและใหความรูภาคีเครือขาย
-มีการสอบสวนโรค
-มีการจัดทํารายงานสอบสวนโรคเบื้องตน
-มีการวิเคราะหสถานการณโรคเพื่อการเฝาระวังและ
ควบคุมโรค
-มีการจัดทําโครงการแกไขปญหาโรคติดตอในพื้นที่
เชน โครงการควบคุมปองกันโรคไขเลือดออก ป 2560
3.มีรายงานสรุปผลการควบคุมโรค
4. งานพัฒนาวิชาการ 1.มีมุมวิชาการ มีหนังสือ คูมือปฏิบัติงาน
2.มีแผนพัฒนาบุคลากร
3.มีการพัฒนาฝกอบรมบุคลากร เชน การอบรมIC LAB
การอบรม IT
4.มีแผนและการถายทอดความรูวิชาการแกภาคีเครือขาย
16
ภาพ 2 กิจกรรมการพัฒนาบุคลากรของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุป 2560
ภาพ3 การพัฒนาความรูดานวิชาการแกภาคีเครือขายของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560
17
นอกจากนี้โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีการถายทอดความรูดานสุขภาพทั้งภายในสถาน
บริการ การบริการในชุมชน เพื่อใหประชาชนนําไปดูแลครอบครัวและตนเองได มีกิจกรรมสื่อสารแกประชาชน
หลายชองทางดังตอไปนี้
กิจกรรม ชองทางสื่อสารความรูดานสุขภาพแกประชาชน ผูรับบริการ
1.ในสถานบริการ -เจาหนาที่รพ.สต.บอตรุ
-สื่อวีดีทัศน
-เอกสาร แผนพับ บอรดใหความรู
-คลินิกบริการตางๆ ไดแก เบาหวาน ความดันโลหิตสูง คลินิกหุนดีไรโรค
คลินิกเกษตรกรปลอดโรค
-การประชุมอสม.และกลุมเปาหมายตางๆ
-การประชุมทีมดูแลผูสูงอายุ ทีมอสค.และภาคีอื่นๆ
2.ในชุมชน -การเยี่ยมบานของเจาหนาที่ประจําครอบครัว
-อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน,อาสาสมัครดูแลครอบครัว
-ทีมดูแลผูสูงอายุ
-วิทยุชุมชน รายการ อสม.จอขาว ,รายการกระดานขาวสุขภาพ
-หอกระจายขาว
- ปายไวนิล
-ชมรมออกกําลังกาย
-ชมรมผูสูงอายุ /กิจกรรมบริการของอสม.ในวัดทุกวันพระ
-การทํากิจกรรมตางๆในชุมชน ไดแก ประชุมชาวบาน, การทําประชาคม
-กิจกรรมอนามัยโรงเรียน การสงเสริมความรูครูและผูปกครองในศพด.
-โครงการเยาวชนรุนใหม หวงใยสุขภาพ
-โครงการผูสูงอายุบอตรุฟนดี
-โครงการหนูนอยฟนดี เริ่มที่ซี่แรก
18
ภาพ4 การสื่อสารความรูในสถานบริการและในชุมชนของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
19
สวนที่ 4
งานสนับสนุนบริการและเวชปฏิบัติ งานยุทธศาสตรกระทรวง
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีการใหบริการทุกมิติทั้งทางรางกาย จิตใจและจิตวิญญาณ
ครอบคลุมทุกงานสงเสริมสุขภาพ การควบคุมปองกันโรค การรักษาพยาบาล การฟนฟูสภาพและการคุมครอง
ผูบริโภค ตลอดจนงานตามแผนยุทธศาสตรและนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและหนวยงานบริหารตางๆ
มีผลสรุปการดําเนินงานยอนหลัง 3 ป ดังตอไปนี้
1. การดําเนินงานอนามัยแมและเด็ก มีผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง7 ผลการบริการอนามัยแมและเด็กของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. อัตราการฝากครรภครั้งแรกอายุ
ครรภกอน 12 สัปดาห
88.89 90.63 96.00 79.25
2. หญิงตั้งครรภที่มีอายุต่ํากวา 20 ป 22.22 15.62 5.88 -
3. อัตราการฝากครรภครบ 5 ครั้ง
ตามเกณฑ
100.00 90.70 94.87 100.00
4. เยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด
3ครั้งตามเกณฑ
100.00 100.00 88.68 70.59
5. เลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียว6ด. - - - 54/44
81.48
ที่มา:HDCกระทรวงสาธารณสุข
จากตาราง7 ผลการบริการอนามัยแมและเด็กของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-
2560 พบวากิจกรรมงานอนามัยแมและเด็กสวนใหญผานเกณฑ แตพบวาจํานวนหญิงตั้งครรภที่มีอายุต่ํากวา
20 ปมีมากกวาเกณฑในป 2557และ 2558 และลดต่ําลงในปตอมาจนถึงปจจุบัน
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว จึงไดดําเนินโครงการเยาวชนรุน
ใหม หวงใยสุขภาพ โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตําบลบอตรุ ในป 2558-2560 ซึ่ง
โครงการเนนกิจกรรมการเสริมทักษะชีวิตแกกลุมนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตําบลบอตรุ ตลอดจนปองกัน
ปญหาการตั้งครรภวัยรุน การมีเพศสัมพันธวัยเรียนและยาเสพติดเปนตน
20
2. การดําเนินงานอนามัยโรงเรียน มีผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง8 ผลการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในนักเรียนประถมศึกษาของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
ตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1 จํานวนนักเรียน ป.1-6ทั้งหมด (คน) 645 767 630 666
2 ตรวจสุขภาพนักเรียน 100.00 100.00 100.00 100.00
3 บริการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค
3.1 เปาหมาย ป.1 (คน) 115 113 124 83
-BCG - - - -
-DTP OPV - - - -
-MMR - - - 83
3.2 เปาหมาย ป.6 (คน) 114 111 97 106
-dT 100.00 100.00 100.00 -
4 ตรวจตานักเรียน ป.1
-รับการตรวจตา(คน)
-สงตอ (คน)
- - 112
111/99.11
1
-
ตาราง9 ผลการดําเนินงานสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนอายุ 6-12 ป ของโรงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตําบลบอตรุ อ.ระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
( ไตรมาส4)
1. จํานวนนักเรียน ป.1-6 645 767 630 666
2. น้ําหนักตามเกณฑสวนสูง -
-อวน 7.34 6.89 7.19 5.17
-เริ่มอวน 7.65 7.01 6.86 5.55
-ทวม 7.23 5.25 5.72 7.58
-สมสวน 62.37 70.24 71.22 70.11
-ผอม 7.23 6.58 5.21 6.42
-คอนขางผอม 8.18 4.03 3.80 5.17
จากตาราง9 ผลการดําเนินงานสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนอายุ 6-12 ป ของโรงพยาบาล
สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อ.ระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560(มิ.ย.2560) สวนใหญนักเรียนมีภาวะ
21
โภชนาการสมสวน แตพบวามีนักเรียนที่อยูในภาวะเริ่มอวนและอวนรวมกันทุกปมากกวารอยละ 10 ดังนั้นใน
ป 2560 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุจึงสงเสริมใหโรงเรียนสมัครเขาโครงการโชปาแอนดชายปา
นํารองโดยโรงเรียนวัดประดู
ตาราง10 ผลการจัดบริการตรวจสุขภาพชองปากนักเรียนป.1-6และเคลือบหลุมรองฟนนักเรียน ป.1 ของ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560
กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
จํานวนนักเรียนป.1-6ทั้งหมด(คน) 645 767 630 666
ตรวจสุขภาพชองปาก (รอยละ) 598/92.71 569/74.18 628/99.68 302/45.34
ฟนแทผุ (รอยละ) 115/19.23 115/20.21 91/14.49 83/27.48
หินปูน (รอยละ) 56/9.36 76/13.36 139/22.13 123/40.72
เด็ก ป.1ทั้งหมด (คน) 115 113 124 83
Sealant (รอยละ) 66/57.39 83/73.45 95/76.61 6/7.23
3. การดําเนินงานสุขภาพจิต มีผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง11 ผลการดําเนินงานคัดกรองสุขภาพจิตของโรงพยาบาลของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560
กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1.กลุมหญิงตั้งครรภ(คน) 53 66 70 35
-ผลการคัดกรอง 2Q 100.00 100.00 100.00 100.00
-ปกติ 100.00 100.00 100.00 100.00
-ผิดปกติ - - - -
2.กลุมวัยทํางานอายุ 35ป
ขึ้นไป(คน)
3,768 3,646 3,443 3,461
-ผลการคัดกรอง 2Q 3261/86.54 3050/83.37 2922/84.86 2974/85.92
-ปกติ 3261/100.00 3050/100.00 2922/100.00 2974/100.00
-ผิดปกติ - - - -
3.กลุมผูสูงอายุ (คน) 1,105 1,172 1,213 1,251
-ผลการคัดกรอง 2Q 954/87.60 1110/94.71 1171/96.54 1,168/93.36
22
ตอ
กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
-ปกติ 954/100.00 1110/100.00 1171/100.00 1168/100.00
-ผิดปกติ - - - -
4. การดําเนินงานยาเสพติด สุรา บุหรี่มีผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง12 ผลการดําเนินงานยาเสพติด สุรา บุหรี่ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-
2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1.
2.
3.
4.
5.
ผูเสพที่รับการสงตอจากรพ.ระโนด
ติดตามครบ 7 ครั้ง
สรุปผลการติดตาม
-เลิกเสพ
-เสพซ้ํา
-อื่นๆ
ผูสูบบุหรี่ แอลกอฮอลที่สมัครใจบําบัด
5.1 ใหคําปรึกษา จายยา
5.2 สงตอพบแพทย
5.3 ผลการติดตาม
- เลิกสูบ
- สูบซ้ํา
6
6/100.00
6/100.00
6/100.00
-
-
-
-
-
-
4
4/100.00
4/100.00
4/100.00
-
-
-
-
-
-
3
3/100.00
3/100.00
3/100.00
-
-
-
-
-
-
0
0
0
0
-
-
-
3
-
-
-
จากตาราง12 ผลการดําเนินงานยาเสพติด สุรา บุหรี่ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
ป 2557-2560 พบวากลุมเปาหมายไดรับการติดตามครบตามเกณฑรอยละ 100ทุกปและเลิกเสพรอยละ
100 ทุกป อยางไรก็ตามในป 2560 ยังไมมีกิจกรรมการสงตอผูเสพเพื่อติดตามผูปวยในพื้นที่หลังการบําบัด
เนื่องจากอําเภอระโนดอยูในระหวางดําเนินการเขาคายขวัญแผนดิน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูเสพและอยูใน
ระหวางวางแผนการติดตามรวมกันระหวางสถานบริการสาธารณสุขกับผูนําชุมชน
การดําเนินงานบําบัดแบบสมัครใจของผูสูบบุหรี่และแอลกอฮอลยังทําไดนอยในป 2560 โดย
สามารถดําเนินการได 3 ราย อยูในระหวางติดตามผล ซึ่งจําเปนตองประสานการดําเนินงานกับแกนนํา
และอสม.เพื่อกระตุนและเชิญชวนใหกลุมเปาหมายรวมโครงการมากขึ้น
23
5. การดําเนินงานดูแลผูสูงอายุระยะยาว(LTC) ผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง13 ผลการคัดกรองความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของผูสูงอายุ(ADL) ของโรงพยาบาล
สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. ผูสูงอายุทั้งหมด 1,105 1,172 1,213 1,251
2. ผูสูงอายุไดรับการคัดกรองADL 954/87.60 1,035/88.31 1,148/98.85 1,168/93.37
-ติดเตียง(0-4คะแนน) 0.42 0.48 0.88 0.97
-ติดบาน(5-11คะแนน) 1.06 0.97 4.56 4.52
-ติดสังคม(12-20คะแนน) 98.52 98.55 94.56 94.52
ตาราง14 ผลการเยี่ยมบานเพื่อดูแลสุขภาพกลุมติดบานติดเตียงและ Palliativeของโรงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. กลุมติดเตียง/ Palliative 4 5 13 12
2. กลุมติดบาน 10 10 38 56
3. ผลการเยี่ยมบานโดยทีมหมอ
ครอบครัวอําเภอระโนด
-ติดเตียง(คน)
-ติดบาน(คน)
-Palliative(คน)
4/100.00
-
-
5/100.00
-
-
13/100.00
-
-
12/100.00
-
1/100.00
4. ผลการเยี่ยมบานโดยทีมหมอ
ครอบครัวรพ.สต.บอตรุ
-ติดเตียง(คน)
-ติดบาน(คน)
-Palliative(คน)
4/100.00
10/100.00
-
5/100.00
10/100.00
-
13/100.00
38/100.00
-
10/100.00
56/100.00
1/100.00
5. สรุปผลการดูแลตอเนื่องกลุมติดบาน
ติดเตียงและPalliative
-ADLดีขึ้น
-ADLคงเดิม
-ADLเลวลง
- - - 12/100.00
1/8.33
9/75.00
2/16.67
6. การดําเนินงานเฝาระวังโภชนาการและพัฒนาการเด็ก0-5ป ผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง15 ผลการเฝาระวังภาวะโภชนาการของเด็ก0-72เดือนของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป
2557-2560
24
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
( ไตรมาส4)
1. เด็กอายุ0-72เดือน 513 448 478 386
2. เด็กที่ชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูง 97.86 97.32 93.64 -
-อวน 22.71 12.84 13.35 68/17.75
-เริ่มอวน 12.35 12.16 14.20 -
-ทวม 10.16 8.26 10.23 -
-สมสวน 50.80 60.78 54.55 -
-คอนขางผอม 1.20 2.52 4.26 -
-ผอม 1.79 2.98 3.41 15/3.92
ที่มา:HDCกระทรวงสาธารณสุข
จากตารางที่ 15 ผลการเฝาระวังภาวะโภชนาการของเด็ก0-72เดือนของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
ตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ปรากฏวาป 2560 มีเด็กอวนรอยละ 17.75 เกินเกณฑ(ไมเกินรอยละ10) ซึ่ง
ตองรณรงคการเฝาระวังเด็กอวนในผูปกครองตอไป
ตาราง16 ผลการคัดกรองและกระตุนพัฒนาการเด็ก9 18 30 42 เดือน ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
ตําบลบอตรุ ป 2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. เด็ก9,18,30,42
เดือนทั้งหมด
- - - 323
2. ตรวจพัฒนาการ - - - 323
3. -สมวัย - - - 228/98.28
4. -ลาชา - - - -
5. -สงตอ - -
ที่มา: รายงานพัฒนาการและสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข Online: https://hdcservice.moph.go.th
25
7.การดําเนินงานวางแผนครอบครัว ผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง17 ผลการดําเนินงานวางแผนครอบครัวในสตรีวัยเจริญพันธุอายุ15-44ปของโรงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1 สตรีอายุ15-44ปที่สมรสแลว 837 790 702 691
2 วางแผนครอบครัวทุกวิธี 731/87.33 652/82.53 593/84.47 581/84.08
-ยาเม็ดคุมกําเนิด 583/79.75 518/79.44 469/79.08 466/80.20
-ยาฉีด 114/15.59 102/15.64 98/16.52 91/15.66
-ทําหมันหญิง 6/0.82 27/4.14 23/3.88 21/3.61
-ทําหมันชาย - - - -
-หวงอนามัย 2/1.92 3/0.46 2/0.26 2/0.34
-ยาฝงคุมกําเนิด 2/1.92 2/0.32 2/0.26 1/0.19
ที่มา:ขอมูลกลางปของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
8.การดําเนินงานดูแลผูพิการ ผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง18 ผลการดําเนินงานดูแลผูพิการของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. ผูพิการทั้งหมด 239 233 256 262
2. ไดรับการจดทะเบียนผูพิการ 93.72 100.00 100.00 100.00
3. รับสวัสดิการบัตรทองผูพิการ 93.72 100.00 100.00 100.00
4. ติดตามเยี่ยมบานโดยหมอครอบครัว 100.00 100.00 100.00 100.00
5. ไดรับการฟนฟูสมรรถภาพจน
ชวยเหลือตนเองได
- - - 1
6. ไดรับอุปกรณชวยเหลือ(ราย) - 4 3 2
ที่มา:ขอมูลกลางปของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
26
9.การดําเนินงานศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง19 ผลการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพในศูนยพัฒนาเด็กเล็กของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1 เด็กทั้งหมด (คน) 213 209 191 -
2 รับการตรวจพัฒนาการ (คน) 213 209 191 -
-สมวัย 213
100.00
209
100.00
191
100.00
-
-ลาชา - - - -
-ติดตามกระตุนพัฒนาการ - - - -
3. ทันตสาธารณสุข 213 209 191 -
-ตรวจสุขภาพชองปากและสอน
แปรงฟน (คน)
181
84.97
178
85.16
162
84.82
-
-ฟนผุ - - 78/48.15 -
-อุดฟนน้ํานม - - 69/42.59 -
-ถอนฟนน้ํานม - - 26/16.05 -
ที่มา : งานพัฒนาการและงานทันตสาธารณสุข ป 2557-2560
ตาราง20 ผลการพัฒนาศูนยพัฒนาเด็กเล็กของของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ผลการประเมิน
ป 2557 ป2558 ป2559 ป2560
1.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กวัดประดู ผาน ผาน ผาน ผาน
2.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเจดียงาม ผาน ผาน ผาน ผาน
3.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กมัสยิดสากลม.2 ผาน ผาน ผาน ผาน
27
10. งานแพทยแผนไทย มีผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง21 ผลการจัดบริการงานแพทยแผนไทยของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด
จ.สงขลา ป 2557-2560
กิจกรรม ผลการประเมิน
ป 2557 ป2558 ป2559 ป2560
1.จายยาสมุนไพรในสถานบริการ(ครั้ง) 1065 1340 1717 1190
2.สงเสริมการใชสมุนไพรรางจืดในชุมชน
สําหรับลางสารพิษ(หมูบาน)
- - 1 1
11. งานหมอครอบครัวและการพัฒนาการดูแลตอเนื่อง มีผลการดําเนินงานดังนี้
11.1 งานหมอครอบครัว
การดําเนินงานหมอครอบครัวและการดูแลตอเนื่อง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ไดจัดตั้ง
ทีมดูแลตอเนื่องในระดับหมูบานจํานวน 5 หมูบาน ประกอบดวย ทีมแกนหลัก ทีมรองและอสม. ซึ่งไดมีการ
พัฒนาทักษะ การฝกปฏิบัติหนางานโดยสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตําบล มีการจัดประชุม
ภายในเพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน ควบคุมกํากับและประเมินผลการทํางานรวมกันดังนี้
หมูที่ ทีมหมอครอบครัว ทีมแกนหลักอสม. ทีมรอง/อสม.
หมู 1 1.น.ส.นุริสา ดีสะธรรม
2.น.ส.ทิพยภาภรณ เจิมขวัญ
1.น.ส.อุบล ตําภู
2.นางนวลละออง สังขทอง
1.ทีมสุโขทัย
2.อสม.38 คน
หมู 2 1.นางสุพร ลอยลิบ
2.น.ส.รสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล
1.น.ส.ศรีอําพร สรสวัสดิ์
2.นางอารี ฤทธิเดช
1.ทีมดอกดาวเรือง
2.อสม.31คน
หมู 3 1.นางจิตรทิพย จันมณี
2.น.ส.ภัสสร ไทยราษฎร
1.นางวันเพ็ญ ดวงทอง
2.นางหนูกี เชียรไชย
1.ทีมดอกรัก
2.อสม.16คน
หมู 4 1.นายศักดิ์กยะ บุญรอด 1.น.ส.อรพินท พรอมมูล
2.นางอรทัย บางเสน
1.ทีมดอกบานไมรูโรย
2.อสม.19 คน
หมู 5 1.น.ส.สาวิตรี ชูแกว 1.น.ส.จริยา ผอมไผ
2.น.ส.กัญภิรมย ชวยนุกูล
1.ทีมเฟองฟา
2.อสม.32 คน
28
ตาราง22 ผลการจัดบริการดูแลตอเนื่องโดยทีมหมอครอบครัวของเครือขายสหวิชาชีพและโรงพยาบาล
สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1.
2.
3.
จํานวนผูปวยระดับ1
-ผลการเยี่ยมบาน
จํานวนผูปวยระดับ2
-ผลการเยี่ยมบาน
จํานวนผูปวยระดับ3
-ผลการเยี่ยมบาน
-
-
10
10/100.00
4
4/100.00
-
-
10
10/100.00
5
5/100.00
-
-
38
38/100.00
13
13/100.00
203
203/100.00
963
776/80.58
12
12/100.00
ที่มา:ทะเบียนกลุมติดบานติดเตียงและHHC ป2557-2560
11.2 การพัฒนางานดูแลตอเนื่องของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
กลุมเปาหมาย
1.เจาหนาที่ประจําครอบครัวของรพ.สต.บอตรุ จํานวน 8 คน
2.เครือขายดูแลสุขภาพของเทศบาลตําบลบอตรุ จํานวน 6 คน
3.อสม.ตําบลบอตรุ จํานวน 136 คน
เปาหมาย
1.มีแนวทางการดูแลตอเนื่องของภาคีเครือขายตําบลบอตรุ
2.มีศูนยขอมูลสารสนเทศผูปวยเพื่อการดูแลตอเนื่องของตําบลบอตรุ
3.ทีมดูแลสุขภาพของเทศบาลตําบลบอตรุไดรับการพัฒนาความรูในการดูแลสุขภาพเบื้องตน
รอยละ 100
4.มีการประชุมวางแผนและการแลกเปลี่ยนเรียนรูการการเยี่ยมบาน เดือนละ 1 ครั้ง
5.ผูรับบริการกลุมติดเตียงไดรับบริการเยี่ยมบานอยางนอย ปละ 2 ครั้ง รอยละ 100
6.ผูปวยที่สงตอเพื่อการดูแลตอเนื่องที่บานจากโรงพยาบาลตางๆ รอยละ 100
29
ผลการดําเนินงาน
1.การฝกอบรมเครือขายการดูแลตอเนื่องระยะที่ 1และระยะที่ 2 การเตรียมการและการฝกอบรม
เครือขายการดูแลตอเนื่อง
2.ฝกอบรมฟนฟูทีมดูแลตอเนื่องทีมหลักและทีมรอง
-ฝกอบรมตามหลักสูตรฯโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ จํานวน 6 คน
-ฝกอบรมหนางานทีมผูดูแลหลัก จํานวน 6 คน
-ฝกหนางานทีมรอง จํานวน 35 คน
30
ตาราง 23 ผลการสํารวจผูปวยติดเตียงโดยเครือขายการดูแลตอเนื่องของรพ.สต.บอตรุ ป 2558-2560
หมูที่ เยี่ยมติดบาน
ติดเตียงป2558
(คน)
เยี่ยมติดบาน
ติดเตียงป2559
(คน)
เยี่ยมติดบาน
ติดเตียง ป2560
(คน)
ผูดูแลทีมหลัก
1 4 3 3 น.ส.อุบล ตําภู
2 7 3 2 น.ส.จันจิรา หนูทอง
3 10 2 2 น.ส.วันเพ็ญ ดวงทอง
4 2 2 2 น.ส.อรพินท พรอมมูล
5 - 3 3 น.ส.จริยา ผอมไผ
รวม 23 13 12
ที่มา:ทะเบียนผูปวยติดเตียง ณ กันยายน 2558-2560
ตาราง24 ผลการจัดกิจกรรมดูแลผูปวยติดเตียงในชุมชนโดยเครือขายการดูแลตอเนื่องของรพ.สต.บอตรุ
ป 2558-2560(มิ.ย.2560)
ชื่อ สกุล(ผูปวย) ที่อยู กิจกรรม
1.นายใจ สิริพร 67 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
2.นายจวน แกววิเชียร 60 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
3.นายกลับ จันทรสุวรรณ 192 ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
4.นาย พลั่ง เพชรริน 75 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
5.นายดํา สายทองคํา 47 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
6.นายเหลี้ยม คงเพชร 42 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
7.นางยวง เสือแกว 740 ระโนด สงขลา ม.3 ตรวจน้ําตาลปลายนิ้ว/BP
8.นางปลื้ม สุมณฑา 824 ระโนด สงขลา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
9.นางหับ สังขทอง 14 ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
10.นางดํา แกวรัตนะ 3 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป
11.นายโสบ นิยมเดชา 15 บอตรุ 1 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป
12.นางเคียง พูลสวัสดิ์ 36 บอตรุ3 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป
13.นางเสาะ นิยมเดชา 44 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป
14.นางหรอ พงศภัทรายุทธ 13 มัสยิด ม.1 ตรวจน้ําตาลปลายนิ้ว/BP
15.นายเกษม โสวิรัตน 39 ถ.เทศบาล16 ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป/สายสวนปสสาวะ
16.นายแดง จันทรางกูล 650 ถ.ระโนด สงขลา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป
17.น.ส.คลาย สุภาพบุรุษ 16 ซ.มวลประชา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป
18.นางถิ้น ทองเอียด 16 ถ.เทศบาล16 ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป
19.นางพัว นิลประยูร 672 ถ.ระโนด สงขลา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป
20.นางหอง มากสวัสดิ์ 510 ถ.ระโนด สงขลา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป
21.นางแคลว บัวทอง 6 มิตรสัมพันธ ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป
22.นายอนันต ภิญโญ ถ.ระโนด สงขลา ม.4 ดูแลแผลกดทับที่กนกบ
23.นางเอี้ยน ไหมออน ถ.ระโนด สงขลา ม.4 ดูแลสุขภาพทั่วไป
31
ตาราง24 (ตอ)
ชื่อ สกุล(ผูปวย) ที่อยู กิจกรรม
24.นางถนอม บุญคง 666 ม.5 ดูแลสุขภาพทั่วไป
25.นายเจริญ วิจิตต 140 ม.5 ดูแลสุขภาพทั่วไป
26.นางหมะ แหละโรจน 130 ถ.นิยมเดชา ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป
27.เจะแหละ นิยมเดชา 156 ถ.สายโยด ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป
28.นายกมล จันทรมีศรี 14 ซ.บอตรุ1 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป
ที่มา:ทะเบียนเยี่ยมผูปวยติดบานติดเตียง ป2558-2560
12. การดําเนินงานมะเร็งเตานมและมะเร็งปากมดลูก มีผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง 25 ผลการดําเนินงานมะเร็งเตานมและมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1 เปาหมายมะเร็งเตานม(คน) 1573 1548 1465 1747
-ตรวจดวยตนเอง 1536/98.16 1463/94.64 1400/95.84 843/48.25
-ตรวจโดย จนท. 8/0.52 2/0.13 4/0.28 1534/87.81
2 เปาหมายมะเร็งปากมดลูก 1544 1509 1398 1386
ผลการคัดกรอง 1271/82.32 429/28.43 443/31.69 44832.32
-ผิดปกติ 2/0.15 3/0.69 2/0.45 -
13. การดําเนินงานสิ่งแวดลอมและอาชีวอนามัย โดยมีกิจกรรมตรวจเลือดเกษตรกร มีผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง26 ผลการดําเนินงานตรวจเลือดเกษตรกรของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-
2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. จํานวนการตรวจเลือดเกษตร 81 32 33 -
-ปกติ 9/11.11 5/15.62 3/9.09 -
-ปลอดภัย 45/55.55 7/21.87 20/60.60 -
-มีความเสี่ยง 19/23.45 11/34.37 5/15.15 -
-ไมปลอดภัย 8/9.87 9/28.12 5/15.15 -
32
14.การดําเนินงานควบคุมและปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผลการดําเนินงานดังนี้
ตาราง27 ผลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ35ปขึ้นไปของโรงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. เปาหมายคัดกรองDM 3295 3197 3006 3069
2. ผลการคัดกรองDM 3261/98.96 3050/95.40 2922/97.20 2974/96.90
-ปกติ 3168/97.16 2918/95.69 2755/94.30 2923/98.29
-เสี่ยง 84/2.57 86/2.81 153/5.23 39/1.31
-ปวย 9/0.27 46/1.50 14/0.47 12/0.40
-สงตอพบแพทยเพื่อ
วินิจฉัย
- - - 3
3. เปาหมายคัดกรองHT 2918 2835 2664 2698
ผลการคัดกรองHT 2875/98.52 2750/97.00 2563/96.20 2606/96.59
-ปกติ 2711/94.31 2368/86.12 1880/73.37 2367/90.84
-เสี่ยง 108/3.75 193/7.01 509/19.85 168/6.44
-ปวย 56/1.94 189/6.87 174/6.78 71/2.72
-สงตอพบแพทยเพื่อ
วินิจฉัย
- - - 2
ที่มา : ระบบสารสนเทศอําเภอระโนด Online: http://61.19.78.139/hinforeport
33
ตาราง28 ผลการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ2ส.แกกลุมเสี่ยงกลุมปวยในชุมชนและคลินิกหุนดี ไร
โรค(DPAC)ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. ติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ
2ส.กลุมเสี่ยงโดยเจาหนาที่
และอสม.
1.1กลุมเสี่ยงDM (คน) 93 132 167 52
-ติดตามการปรับเปลี่ยนฯ 89/95.70 127/96.21 160/95.81 51/98.08
1.2กลุมเสี่ยงHT (คน) 164 382 683 239
-ติดตามการปรับเปลี่ยนฯ 159/96.95 358/93.72 608/89.02 233/97.49
2. ผลการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมในคลินิกหุนดีไรโรค
(DPAC)
2.1จํานวนสมาชิกเขาโครงการ(คน) - - 10 8
2.2 ติดตาม(คน) - - 10 -
-BMI ลดลง (คน) - - 8 -
-รอบเอวลดลง (คน) - - 8 -
-น้ําหนักลดลง (คน) - - 8 -
ผลการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ2ส.แกกลุมเสี่ยงกลุมปวยในชุมชนและคลินิกหุนดี ไรโรค
(DPAC)ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 พบวาการติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลุมเสี่ยงดวย3อ2ส.ป 2557-2560 ทําไดครอบคลุมมากกวารอยละ 90 แตผลการดําเนินงานคลินิกหุนดีไร
โรคยังมีสมาชิกจํานวนนอยอยู เนื่องจากไมมีผูสมัครใจเขาโครงการซึ่งจําเปนตองเรงรัดและเชิญชวนกลุมเสี่ยง
ใหเขารวมโครงการใหมากยิ่งขึ้น
34
ตาราง29 เปรียบเทียบกลุมเสี่ยงและกลุมปวยของผูปวยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. ผูปวยDMทั้งหมด 303 318 327 343
-อัตราปวยDMตอแสน 4077 4411 4870 5149
2. กลุมเสี่ยงDMทั้งหมด 93 132 167 52
-รายใหมจากPre-DM - - - 3
-รอยละ - - - 1.26
3. ผูปวยHTทั้งหมด 685 676 700 726
-อัตราปวยHTตอแสน 9218 9378 10,425 10,899
4. กลุมเสี่ยงHTทั้งหมด 164 382 683 239
-รายใหมจาก Pre-HT - - - 12
-รอยละ - - - 1.11
ที่มา : ระบบสารสนเทศอําเภอระโนด Online: http://61.19.78.139/hinforeport
ตาราง30 ผลการจัดบริการผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
บอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. ผูปวยDMทั้งหมด 303 318 327 343
-ผูปวยDMรับบริการที่รพ.สต. 121 136 151 142
-ควบคุมได 107/35.31 82/25.79 85/25.99 81/23.61
-ตรวจเลือดประจําป 192
-ตรวจเทา - - - 103
-ตรวจตา - - - 148
2. ผูปวยHTทั้งหมด 685 676 700 726
-ผูปวยHTรับบริการที่รพ.สต. 327 347 377 389
-ควบคุมได 495/72.26 271/40.09 343/49.00 173/23.83
-ตรวจเลือดประจําป
3. ประเมินCVD Risk
ในผูปวยHT DM
- - - 323/74.94
4. คัดกรองภาวะแทรกซอนทางไต
ในผูปวยHT DM
- - - 313/72.62
ที่มา : ระบบสารสนเทศอําเภอระโนด Online: http://61.19.78.139/hinforeport
35
15. การดําเนินงานควบคุมปองกันโรคติดตอ ผลการดําเนินงานดังนี้
15.1 งานควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออก
ตาราง31 อัตราปวยโรคไขเลือดออกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2555-2560
ป จํานวนปวย(ราย) อัตราปวยตอแสน
2555 4 51.12
2556 16 208.74
2557 8 107.66
2558 2 27.75
2559 19 263.59
2560 14 210.18
ที่มา:ทะเบียนผูปวยไขเลือดออกตําบลบอตรุ ป 2555-2560
จากตาราง 31 อัตราปวยโรคไขเลือดออกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2555-
2560ปรากฏวา ป 2560 มีผูปวยจํานวน 14 ราย อัตราปวย 210.18 ตอแสนประชากรซึ่งสูงกวาคามัธย
ฐานยอนหลัง 5 ป (ป2557) รอยละ 12.50 ทั้งนี้สาเหตุที่มีผูปวยเพิ่มขึ้นเนื่องจากปที่ผานมาและตนปมีฝน
ตกตอเนื่อง บานเรือนหนาแนนและมีภาชนะขังน้ําจํานวนมาก
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุไดดําเนินการควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออกโดยใช
มาตรการ 3 เก็บ 5ป.และมาตรการ 3:1:1 ตามนโยบายของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เพื่อปองกัน
และควบคุมโรคไขเลือดออกในพื้นที่ นอกจากนั้นมีการประสานงานกับเทศบาลบอตรุ โรงเรียนและประชาชน
ในพื้นที่รวมกันรณรงคทําความสะอาดใหญทุกหมูบานและมีการสํารวจและทําลายแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลาย
ทุกเดือนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
36
15.2 งานควบคุมและปองกันโรควัณโรค
ตาราง32 ผลการดําเนินงานปองกันและควบคุมวัณโรคของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ
ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. ผูปวยวัณโรคทั้งหมด 2 3 8 2
2. สรุปผลการติดตามDOT 2 3 8 2
-ติดตามครบ 2/100.00 3/100.00 6/75.00 1
-ติดตามไมครบ - - - -
-อยูระหวางการรักษา - - - 1
3. ความสําเร็จของการรักษา
-หาย 2/100.00 3/100.00 6/75.00 1
-รักษาครบ 2/100.00 3/100.00 - -
-เสียชีวิต - - 2/25.00 -
-กําลังรักษา - - - 1
-อื่นๆ - - - -
4. ผลการติดตามผูสัมผัสรวมบาน
-ผูสัมผัสทั้งหมด - - 13 5
-คัดกรองอาการผูสัมผัสรวมบาน
-ไดรับการเก็บเสมหะและตรวจ
รังสีทรวงอก
- - 8/61.54
8/61.54
5/100.00
4/80.00
จากตาราง32 ผลการดําเนินงานปองกันและควบคุมวัณโรคของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอ
ตรุ ป 2557-2560 พบวาอัตราความสําเร็จในป 2559 รอยละ 75 เนื่องจากมีผูปวยเสียชีวิตจํานวน 2 ราย
จากสาเหตุการมีโรครวมกอนการรักษาวัณโรคคือ HIVและ CA สวนการติดตามผูสัมผัสในป 2559 ยังต่ํา แนว
ทางแกไขตองเรงการคัดกรองผูสัมผัสรวมบานและประชากรในกลุมเสี่ยงใหมากขึ้น สวนป 2560 รักษาครบ
1 รายรอยละ 50 อีก1รายอยูระหวางการรักษา
37
15.3 งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค
ตาราง33 ผลการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในกลุมเด็ก0-5และหญิงตั้งครรภของโรงพยาบาล
สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน
ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560
1. หญิงตั้งครรภทั้งหมด 53 66 70 35
-ไดรับDTตามเกณฑ 53 66 70 35
-รอยละ 100.00 100.00 100.00 100.00
2. เด็ก0-1ปทั้งหมด
-BCG 100.00 100.00 100.00 100.00
-DTP OPV 100.00 100.00 100.00 100.00
-DTPHB OPV 100.00 100.00 100.00 100.00
-IPV 100.00 100.00 100.00 100.00
-MMR 100.00 100.00 100.00 100.00
3. เด็ก2-3ป
-DTP OPV กระตุน 100.00 100.00 100.00 100.00
-JE2 100.00 100.00 100.00 100.00
-MMR 100.00 100.00 100.00 100.00
4. เด็ก4-5ป
-DTP OPV กระตุน 100.00 100.00 100.00 100.00
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560

More Related Content

What's hot

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม Dr.Suradet Chawadet
 
Power point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมPower point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมyahapop
 
Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58PPtocky
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนPrasit Chanarat
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกคู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องPPtocky
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัดwptraining
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560Sutthinee Sudchai
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59riders
 

What's hot (20)

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
Power point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมPower point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคม
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 
Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58Coc ln กันยา58
Coc ln กันยา58
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกคู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59
 

Similar to ผลการปฏิบัติงานปี 2560

ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60Jame Boonrod
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐dtschool
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลาsiep
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553Nithimar Or
 
สถานีอนามัย
สถานีอนามัยสถานีอนามัย
สถานีอนามัยPuPea-_-zaza
 
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่าแผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่าguested9be4d
 
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557พัฒนาชุมชน นครราชสีมา
 
นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61BrownSoul Tewada
 
เมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาวเมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาวdtschool
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพThanom Sak
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพThanom Sak
 
ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์Siriprapa Prapaluk
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 

Similar to ผลการปฏิบัติงานปี 2560 (20)

ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
ประเมินรพ.สต.ติดดาว60
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
สถานีอนามัย
สถานีอนามัยสถานีอนามัย
สถานีอนามัย
 
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่าแผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
แผนที่ตำบลจระเข้เรียบร้อยกว่า
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
District Health System : DHS
District Health System : DHSDistrict Health System : DHS
District Health System : DHS
 
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
 
นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61
 
เมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาวเมืองน่าอยู่ติดดาว
เมืองน่าอยู่ติดดาว
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
test uplode
test uplodetest uplode
test uplode
 
ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์
 
P6social+science2552
P6social+science2552P6social+science2552
P6social+science2552
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
Onet m.3 2553 (1)
Onet m.3 2553 (1)Onet m.3 2553 (1)
Onet m.3 2553 (1)
 
P6thai+math2552
P6thai+math2552P6thai+math2552
P6thai+math2552
 

ผลการปฏิบัติงานปี 2560

  • 3. 3 สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1.1 ประวัติ ประวัติความเปนมา ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา มี 5 หมูบาน คําวาบอตรุ มีที่มาจาก “บอตรุเงิน บอตรุ ทอง” ซึ่งในสมัยกอนชาวบานไดนําเงินทองที่จะไปทําบุญกอสรางเจดียวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด นครศรีธรรมราช ระหวางทางเกิดพายุจึงไดนําเงินทองมาฝงไวบริเวณนี้และเรียกชื่อบริเวณนี้วา “บอตรุ”จนถึง ปจจุบัน กํานันคนแรกของตําบลบอตรุชาวบานเรียกวา “ชายจอม” ไดรับพระราชทานนามสกุลจากร.5วา “นิยมเดชา” ชาวบานสวนใหญในบานบอตรุจึงนิยมใชนามสกุลนิยมเดชาตามกันมา ที่ตั้ง ขนาดและอาณาเขต โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา รับผิดชอบพื้นที่ จํานวน 5 หมูบาน มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ - ทิศเหนือ จด ตําบลวัดสน อําเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา - ทิศใต จด ตําบลชุมพล อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา - ทิศตะวันออก จด ทะเลอาวไทย - ทิศตะวันตก จด ตําบลเชิงแส อําเภอกระแสสินธุ จังหวัดสงขลา ภาพ 1 แผนที่ตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา N โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ่อตรุ แผนทีตําบลบ่อตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา สัญลักษณ์ รพ.สต.บ่อตรุ ถนน วัด มัสยิด โรงเรียน ต.วัดสน อ.สทิงพระ อ.กระแสสินธุ์ หมู่ 4 บ้านวัดประดู่ หมู่ 5 บ้านโพธิ หมู่ 3 บ้านพังขีพร้า หมู่ 2 บ้านเจดีย์งาม หมู่ 1 บ้านบ่อตรุ
  • 4. 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง ลักษณะภูมิอากาศ มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี ทะเลอาวไทย มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล 1.3 ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร ประชากร โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ 1,595 หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล 3,186 คน หญิง 3,475 คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ แผนภูมิ 1 ปรามิดประชากรตําบลบอตรุ ป ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก เหมาะแกการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ประมงชายฝง มีลักษณะอากาศเปนแบบรอนชื้น และแบบมรสุม มี 2ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล ชายฝง มีลมพัดผานตลอดป อากาศไมรอนจัด มีฝนตกตลอด ตามฤดูกาล ลักษณะสําคัญทางสังคมและประชากร โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ รับผิดชอบ 5 หมูบาน 1,740 หลังคาเรือน เขตเทศบาล หลังคาเรือน เขตองคการบริหารสวนตําบล 145 หลังคาเรือน ประชากร คน กลุมอายุของประชากรตําบลบอตรุ ดังปรามิดประชากรตอไปนี้ ปรามิดประชากรตําบลบอตรุ ป 2560 (ณ 1 มิถุนายน 2560) 4 พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุมเหมาะแกการเพาะปลูกและที่ราบชายฝงทะเลอาวไทยดานทิศตะวันออก ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน อยูใกล ชายฝง หลังคาเรือน เขตเทศบาล หลังคาเรือน ประชากร 6,661 คน เพศชาย ดังปรามิดประชากรตอไปนี้
  • 5. 5 ตาราง 1 จํานวนหลังคาเรือนและประชากรจากการสํารวจ จําแนกรายหมูบานในความรับผิดชอบของ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป พ.ศ.2560(1มิถุนายน2560) ลําดับที่ ชื่อหมูบาน หมูที่ หลังคาเรือน ประชากร (คน) ชาย หญิง รวม 1. บานบอตรุ 1 535 1,207 1,307 2,514 2. บานเจดียงาม 2 402 668 702 1,370 3. บานพังขี้พรา 3 252 467 525 992 4. บานวัดประดู 4 177 240 299 539 5. บานโพธิ์ 5 374 603 643 1,246 รวม - 1,740 3,185 3,476 6,661 ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560 ตาราง 2 ประชากรตําบลบอตรุตามกลุมวัยที่สําคัญ ป 2560 กลุมวัย จํานวน (คน) รอยละ 1.กลุมอายุ 0-5 ป 494 7.42 2.นักเรียน -ป.1-6 -ม.1-3 630 140 9.46 2.10 3.กลุมอายุ 15-19 ป 526 7.89 4.กลุมอายุ 20-59 ป 5.กลุมผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป 1,284 19.27 ที่มา : โปรแกรม JHCIS ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2560 ตาราง 3 อัตราเกิด อัตราตายและอัตราเพิ่มประชากรตําบลบอตรุ ป 2555-2559 สถานะชีพ ป2555 ป2556 ป2557 ป2558 ป2559 1.อัตราเกิดตอพัน 7.29 9.55 7.13 9.16 10.43 2.อัตราตายตอพัน 3.40 11.71 11.71 11.38 4.62 3.อัตราเพิ่มตอรอย 0.39 -0.54 -0.46 -0.22 0.58 ที่มา : ขอมูลกลางปรพ.สต.บอตรุป 2555-2559 1.4 ดานสังคมวัฒนธรรมและประเพณี ตําบลบอตรุมีวัฒนธรรมประเพณีสืบตอกันมาตั้งแตบรรพบุรุษ จนถึงปจจุบัน ดังนี้ 1. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันขึ้นปใหม วันที่ 1 มกราคม ของทุกป 2. ประเพณีทําบุญวันมาฆบูชา 3. ประเพณีทําบุญตักบาตรวันวาง ( วันสงกรานต 13 เมษายน )
  • 6. 6 4. ประเพณีรดน้ําดําหัวขอพรผูสูงอายุ ในสัปดาหผูสูงอายุแหงชาติ เดือนเมษายน ของทุกป 5. ประเพณีทําบุญวันวิสาขบูชา 6. ประเพณีทําบุญวันเขาพรรษา 7. ประเพณีทําบุญวันสารทเดือนสิบ เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกบรรดาญาติมิตรที่ลวงลับไปแลว ซึ่งจะมี การทําบุญตักบาตรปละ 2 ครั้ง ในวันแรม 1 ค่ํา และวันแรม 15 ค่ํา เดือนสิบของทุกป 8. ประเพณีทําบุญลากพระ ในวันแรม 1 ค่ําเดือน 11 หลังออกพรรษา มีกิจกรรมแหเรือทรงพระทาง บกและทางน้ําใหชาวบานไดรวมทําบุญตักบาตรและแขวนขนมตม มีการประกวดเรือทรงพระ แขงตีโพน แขง ทําขนมตม แขงขบวนกลองยาวและแขงเรือพาย 9. ประเพณีการทําบุญทอดกฐิน เพื่อทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา 10. ประเพณีลอยกระทง ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 ของทุกป 11. เดือนรอมฎอน (การถือศีลอดในศาสนาอิสลาม) ปละ 1 ครั้ง 1.4 การคมนาคม ขนสงและระบบสาธารณูปโภค การคมนาคมของประชาชนในการเดินทางระหวางอําเภอ และระหวางจังหวัด สวนใหญเดินทางโดย รถโดยสารรับจางประจําทาง และรถยนตรับจาง(ไมประจําทาง) โดยมีถนนสายหลัก คือ ระโนด - สงขลา การคมนาคมภายในอําเภอ(ระหวางตําบล / หมูบาน) สวนใหญเดินทางโดยรถยนตรับจาง รถจักรยานยนต รับจาง การคมนาคมในหมูบาน สวนใหญจะเดินทางโดย รถจักรยานยนตรับจาง /สวนบุคคล โดยมีถนน คอนกรีตภายในหมูบาน สําหรับการเดินทางของประชาชน จากหมูบานเพื่อมารับบริการที่ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บอตรุตําบลบอตรุ การคมนาคมสะดวก ใชเวลาไมมาก สวนใหญจะเดินทางโดย รถยนตสวนบุคคล รถจักรยานยนตรับจาง/สวนบุคคล ระยะทางจาก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ถึง - ทางหลวงแผนดินหมายเลข 408 ระโนด – สงขลา 1 กิโลเมตร - โรงพยาบาลระโนด 30 กิโลเมตร - สํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด 32 กิโลเมตร - โรงพยาบาลสงขลา 68 กิโลเมตร - โรงพยาบาลศูนยหาดใหญ 98 กิโลเมตร 1.5 เศรษฐกิจ เนื่องจากภูมิประเทศเปนที่ราบลุมอยูระหวางทะเลสาบและอาวไทย จึงทําใหเหมาะแกการ เกษตรกรรม ประชาชนมีอาชีพหลักคือ ทํานา เลี้ยงกุง ประมงชายฝงและอาชีพเสริมคือ การเลี้ยงสัตว ขอมูลอาชีพ(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด) มีดังนี้ - ทํานา รอยละ 34.34 - รับจางทั่วไป รอยละ 14.58 - คาขาย ธุรกิจสวนตัว รอยละ 8.78 - ราชการ เจาหนาที่รัฐและรัฐวิสาหกิจ รอยละ 3.21 - ทําไร ทําสวน ประมงและปศุสัตว รอยละ 3.04 - วางงาน รอยละ 9.85
  • 7. 7 - กําลังศึกษา รอยละ 20.67 รายไดประชากร(การสํารวจ จปฐ.ป 2559,สํานักพัฒนาชุมชนอําเภอระโนด) - เขตเทศบาล รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 255,905 บาทตอป รายไดเฉลี่ยตอคน 68,072 บาทตอป - เขตชนบท(อบต.) รายไดครัวเรือนเฉลี่ย 279,877 บาทตอป รายไดเฉลี่ยตอคน 94,193 บาทตอป 1.6 สิ่งแวดลอม รายการ จํานวน (แหง) 1. โรงงานอุตสาหกรรมและสถานที่ผลิตอาหาร -สถานที่ผลิตอาหารและน้ําดื่ม 2 2. สถานบริการสาธารณสุขเอกชน -รานขายยา/สถานพยาบาล 2 3. รานอาหาร แผงลอย -รานขายของชํา 33 -รานอาหาร แผงลอยจําหนายอาหาร 5 -แผงจําหนายอาหารสด 5 -รานเสริมสวย 4 -ตลาดนัด 3 4. อื่นๆ -รานเกมส 1 -คอกหมู 1 -โรงสีขาว 2 -รานซอมรถจักรยานตยนต 3 -ลางอัดฉีด 2 1.7 ทุนทางสังคม /ศักยภาพชุมชน รายการ จํานวน 1. กองทุน -กลุมสัจจะวันละบาท 1 แหง -กองทุนสัจจะออมทรัพย 1 แหง -กองทุนเงินลาน 4 แหง 2. องคกรทางสังคม -ชมรมอสม. 1 ชมรม -ชมรมผูสูงอายุ 1 ชมรม -ชมรมออกกําลังกาย 2 ชมรม
  • 8. 8 ตอ รายการ จํานวน -กลุมปลูกผักปลอดสารพิษ 1 ชมรม -วิทยุชุมชน 1 แหง 3. บุคคลสําคัญ ผูนํา -หมอพื้นบาน 1 คน -หมอนวดแผนไทย 2 คน -พระ/ผูนําศาสนา 10 รูป/2 คน 2. สุขภาวะสุขภาพของประชาชนตําบลบอตรุ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุไดทบทวนผลงานและวิเคราะหปญหาสุขภาพของประชาชน ในตําบลบอตรุ โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานที่ผานมาและจากการทําประชาคมสุขภาพของเทศบาล ตําบลบอตรุ ปรากฏผลดังนี้ ตาราง 4 อัตราปวยโรคที่สําคัญของประชาชนตําบลบอตรุ ป 2557-2560(มิ.ย.2560) โรค อัตราปวย 1.ไขเลือดออก ป 2557 อัตราปวย 53.83 ตอแสนประชากร ป 2558 อัตราปวย 27 ตอแสนประชากร ป 2559 อัตราปวย 263 ตอแสนประชากร ป 2560 อัตราปวย 135 ตอแสนประชากร 2. โรคระบบเมตาบอลิก 2.1 ความดันโลหิตสูง ป 2557 อัตราปวย 9218 ตอแสนประชากร ป 2558 อัตราปวย 9378 ตอแสนประชากร ป 2559 อัตราปวย 10425 ตอแสนประชากร ป 2560 อัตราปวย 10899 ตอแสนประชากร 2.2 เบาหวาน ป 2557 อัตราปวย 4077 ตอแสนประชากร ป 2558 อัตราปวย 4411 ตอแสนประชากร ป 2559 อัตราปวย 4870 ตอแสนประชากร ป 2560 อัตราปวย 5149 ตอแสนประชากร 3.ภาวะสุขภาพผูสูงอายุ ผูปวยติดบาน ติดเตียง ป 2559 ผลการสํารวจสุขภาพผูสูงอายุ(ADL) -ติดสังคม รอยละ 94.56 -ติดบาน รอยละ 4.56 -ติดเตียง รอยละ 0.88 ป 2560 ผลการสํารวจสุขภาพผูสูงอายุ(ADL) -ติดสังคม รอยละ 94.52 -ติดบาน รอยละ 4.52 -ติดเตียง รอยละ 0.97
  • 9. 9 ตาราง 5 ปญหาสุขภาพชุมชนจากการประชุมประชาคมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560 ลําดับ สภาพปญหา ความคาดหวังและแนวโนมใน อนาคต 1 มีการระบาดของโรคอุบัติใหม โรคระบาด โรคติดตอ โรค ไขเลือดออก ไมมีการระบาดของโรคติดตอและ โรคอุบัติใหม 2 ประชาชนในพื้นที่ปวยเปนโรคเรื้อรังแนวโนมเพิ่มขึ้น เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผูปวยเรื้อรังลดลง มีความรูในการ ดูแลตนเอง 3 เด็ก ผูสูงอายุอยูตามลําพัง ผูสูงอายุมีปญหาสุขภาพและตอง รับภาระดูแลเด็ก ผูสูงอายุไดรับการดูแลสุขภาพ และเด็กไดรับการดูแลที่ดี 4 สถานที่ในการออกกําลังกายและสถานที่พักผอน มีพื้นที่ออกกําลังกาย 5 ขยะมีปริมาณเพิ่มขึ้น ปริมาณขยะที่ถูกกําจัดใหหมด ดวยวิธีที่ถูกตอง 6 เยาวชนติดเกมส สิ่งลามก บุหรี่ สารเสพติดและทองกอนวัย อันควร เยาวชนมีอนาคตที่ดี ที่มา: แผนพัฒนาทองถิ่น 4ป เทศบาลตําบลบอตรุ 3. ขอมูลโรงพยาบาลสงเสริมสุภาพตําบลบอตรุ 3.1 บุคลากร โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีบุคลากรปฏิบัติงาน จํานวน 8 คน ดังนี้ ลําดับ ชื่อ สกุล ตําแหนง หมอประจําครอบครัว 1 นางจิตรทิพย จันมณี ผอ.รพ.สต.บอตรุ หมู 5 2 นางสุพร ลอยลิบ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ หมู 2 3 นายศักดิ์กยะ บุญรอด นวก.สาธารณสุขชํานาญการ หมู 4 4 นางรสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ หมู 3 5 น.ส.นุริสา ดีสะธรรม จพ.สาธารณสุขชุมชนปฏิบัติงาน หมู 1 6 น.ส.ภัสสร ไทยราษฎร จพ.ทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน หมู 2 7 น.ส.ทิพยภาภรณ เจิมขวัญ นวก.สาธารณสุข หมู 1 8 น.ส.สาวิตรี ชูแกว นวก.สาธารณสุข หมู 5
  • 10. 10 3.2 โครงสรางองคกร โครงสรางการบริหารโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ สาธารณสุขอําเภอระโนด นายนพพร นิลรัตน์ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล นางจิตรทิพย์ จันมณี นางจิตรทิพย์ จันมณี ผอ.รพ.สต.บ่อตรุ - งานบริหารบุคคลและ ทรัพยากร - งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล และพัฒนาหน่วยบริการ - งานสุขศึกษา นายศักดิกยะ บุญรอด นวก.สาธารณสุขชํานาญการ - งานข้อมูลข่าวสาร - งานวิชาการ - งานควบคุมโรคติดต่อและSRRT - งานสุขภาพภาคประชาชน - งานแผนงานและการประเมินผล - งานอนามัยสิงแวดล้อม นางสุพร ลอยลิบ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ - งานรักษาพยาบาล - งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ - งานอนามัยแม่และเด็ก - งานสุขภาพจิต นส.สาวิตรี ชูแก้ว นวก.สาธารณสุข - งานอนามัยโรงเรียน - งานคุ้มครองผู้บริโภค - งานโภชนาการ นางรสสุคนธ์ ภักดีไพบูลย์สกุล พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ - งานรักษาพยาบาล - งานชันสูตรสาธารณสุข -งานควบคุมป้องกันการติดเชือ นส.ภัสร ไทยราษฎร์ จพ.ทันตสาธารณสุขปฏิบัติการ - งานทันตสาธารณสุข - รับผิดชอบหมู่ 3 นส.ทิพย์ภาภรณ์ เจิมขวัญ นวก.สาธารณสุข - งานยาและเวชภัณฑ์ - งานผู้พิการ - งานบัตรประกันสุขภาพ นส. นุริสา ดีสะธรรม จพ.สาธารณสุขปฏิบัติการ - งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - งานวางแผนครอบครัว
  • 11. 11 3.3 ภาคีเครือขายของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ หมูที่ อสม. (คน) ทีมแกนดูแลผูสูงอายุ (Core Team) (คน) ทีมผูดูแลผูสูงอายุ (คน) หมู 1 38 1 ทีมสุโขทัย จํานวน 7 คน หมู 2 31 1 ทีมดอกดาวเรืองจํานวน7 คน หมู 3 16 1 ทีมดอกรัก จํานวน 7 คน หมู 4 19 1 ทีมบานไมรูโรยจํานวน 11คน หมู 5 32 2 ทีมเฟองฟา จํานวน 7 คน รวม 136 6 39 3.4 การสรางความผาสุกและความพึงพอใจแกบุคลากรโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560 ตาราง6 ผลการสํารวจความสุขของบุคลาการดวยเครื่องมือวัดความสุขดวยตนเอง(Happinometer) ดาน คาเฉลี่ย ระดับ 1.สุขภาพกายดี 95.00 Very happy 2.ผอนคลายดี 82.50 Very happy 3.น้ําใจดี 85.83 Very happy 4.จิตวิญญาณดี 85.00 Very happy 5.ครอบครัวดี 95.83 Very happy 6.สังคมดี 87.50 Very happy 7.ใฝรูดี 86.11 Very happy 8.สุขภาพเงินดี 76.04 Very happy 9.การเงินดี 89.13 Very happy คาเฉลี่ยรวม 86.99 Very happy ที่มา : http://happinometer.moph.go.th/reports/bymyhosp เขาถึง 8 มิ.ย.2560 ผลการวิเคราะหความสุขของบุคลากรรพ.สต.บอตรุ ป 2560 ดวยเครื่องมือวัดความสุขดวยตนเอง ของกระทรวงสาธารณสุข ปรากฏวา คาเฉลี่ยรวมทุกดาน 86.99 ระดับ Very happy ดานที่มีคามากที่สุดคา ครอบครัวดี คาเฉลี่ย 95.83 รองลงมา สุขภาพกายดี คาเฉลี่ย 95.0 นอยที่สุดคือ สุขภาพเงินดี คาเฉลี่ย 76.04 ผลการสํารวจแสดงใหเห็นวาบุคลากรมีความสุขโดยรวมระดับมาก ทั้งนี้เนื่องจากสวนใหญบุคลากรมี การปฏิบัติตามหลักการดูแลสุขภาพ 3อ2ส. มีการชวยเหลือเกื้อกูลในการทํางานรวมกันและมีการสงเสริมและ
  • 12. 12 สนับสนุนการทํางานจากผูบริหารทุกระดับ รวมทั้งครอบครัวใหการสนับสนุนและมีความสัมพันธที่ดีภายใน ครอบครัว 3.5 ระบบการปรับปรุง performance ขององคกร ระบบการพัฒนาคุณภาพ: กิจกรรม 5 ส กระบวนการประเมินผล: กิจกรรม 5 ส การประเมินผลงานโดยคณะกรรมการประเมินผล งานของสํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด การตรวจสอบภายในโดยสํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนดและ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา กระบวนการเรียนรูระดับองคกร: การใชมาตรฐานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในการกําหนด ทิศทางการพัฒนา การรับการนิเทศงานจากทีมสหวิชาชีพ การเทียบเคียงกับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล อื่น ศึกษาดูงาน คนควาขอมูลจาก Internet ฝกปฏิบัติหนางาน อบรม/สัมมนา ทําวิจัย กระบวนการสรางนวัตกรรม: เสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรูในหนวยงาน นําเสนอผลงานใน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอระโนด โรงพยาบาลระโนดและเวทีวิชาการอื่นๆ ผลงานเดนและความภาคภูมิใจขององคกร: - ป 2546 ไดรับรางวัลสถานีอนามัยดีเดนระดับเขต ภาคใตและระดับประเทศจากชมรมสาธารณสุข แหงประเทศไทย - ป 2552 ผานการรับรองมาตรฐานสุขศึกษาระดับจังหวัดสงขลา - ป 2554 ไดรับประกาศเกียรติคุณองคการมีผลงานยอดเยี่ยมจากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ ระโนด - ป 2560 ไดรับรางวัลโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลติดดาวระดับเขต 12
  • 13. 13 สวนที่ 2 งานบริหาร โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินกิจกรรมงานบริหารดังตอไปนี้ ลําดับ กิจกรรม ผลงาน 1. การปรับปรุงสภาพสิ่งแวดลอมภายนอกอาคาร -มีเสาธงและธงชาติสวยงาม เหมาะสม -มีปายรณรงคการใชหมวกนิรภัยและเข็มขัดนิรภัย -มีปายแนะนําการดูแลสุขภาพ เชน 3อ2ส มีวิดิ ทัศนสงเสริมสุขภาพแกผูรับบริการ 2. การปรับปรุงสภาพสิ่งแวดลอมภายในอาคาร -มีมุมจัดเก็บเอกสาร วารสาร บทความวิชาการ -มีแผนที่ตําบลบอตรุ -มีศูนยขอมูลขาวสารตําบลบอตรุ (Internet TV) สําหรับนําเสนอผลงานและคนหาขอมูลวิชาการของ เจาหนาที่ -มีผังการแบงงานรับผิดชอบ -มีปายวิสัยทัศน พันธกิจ คานิยม วัฒนธรรมองคกร 3. งานสารบรรณ -มีรูปแบบหนังสือ ชนิดหนังสือถูกตอง -มีการเสนอหนังสือถูกตองตามขั้นตอน -มีทะเบียนรับสงหนังสือถูกตอง เปนปจจุบัน 4. การเก็บรักษาและทําลายหนังสือ -มีการจัดเก็บแฟมแยกหมวดหมู แยกสีชัดเจน มี บัญชีคุมแฟม -มีคณะกรรมการทําลายหนังสือและบัญชีขอทําลาย หนังสือ -มีการเก็บหนังสือที่รอทําลายที่สะดวก ปลอดภัย 5. การเงินและบัญชี -มีคําสั่งคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน เจาหนาที่ รับผิดชอบเบิก-จาย เจาหนาที่รับผิดชอบงาน -มีแผนการใชเงินงบประมาณ เงินบํารุง -มีการจัดทําบัญชีเกณฑคงคาง 6. งานพัสดุ -มีคําสั่งแตงตั้งเจาหนาที่พัสดุ -มีคณะกรรมการกําหนดรายการความตองการใช วัสดุ ครุภัณฑ มีแผนการจัดซื้อจัดจาง -มีทะเบียนครุภัณฑ บัญชีรับจายวัสดุ -มีรายงานการสํารวจพัสดุประจําป
  • 14. 14 ตอ ลําดับ กิจกรรม ผลงาน 7. การบริหารงานพัสดุ งานยาพาหนะ -มีทะเบียนยานพาหนะ แผนการใช -มีการขออนุญาตมีทะเบียนและการใช -มีคําสั่งผูรับผิดชอบ ทะเบียนซอมบํารุงยานพาหนะ 8. การรักษาความปลอดภัยสวนราชการ -มีคําสั่งเวร ยาม มีการตรวจเวรยาม -มีบัญชีลงชื่อปฏิบัติงาน มีบันทึกเหตุการณ -มีระบบรักษาความปลอดภัยในหนวยงาน เชน กลองวงจรปด -มีการเตรียมพรอมรองรับกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือ เหตุการณปกติ เชน มีถังดับเพลิง มีเบอรโทร สําหรับติดตอ มีแผนฉุกเฉินดานยา 9 การบริหารงานบุคคล -มีสําเนา กพ.7 ครบทุกคน -มีคําสั่งหมอบหมายหนาที่รับผิดชอบ -มีโครงสรางสายงาน การควบคุมกํากับภายใน -มีทะเบียนคุมใบลา สําเนาใบลา -มีสําเนาบันทึกขอนุญาตไปราชการ
  • 15. 15 สวนที่ 3 งานวิชาการและพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ดําเนินกิจกรรมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพดังตอไปนี้ ลําดับ กิจกรรม ผลงาน 1. ขอมูลการดําเนินงานดานสาธารณสุข 1.มีขอมูลพื้นฐานประจําป -มีการสรุปผลงานประจําป -มีการสรุปอัตราปวย สถิติการระบาดและอัตราตาย 2.การวิเคราะหขอมูลดานสุขภาพของประชาชน -มีการจัดทําเอกสารผลงานยอนหลัง 3ป 3.มีการจัดเรียงลําดับปญหาสุขภาพในพื้นที่ ยอนหลัง 3 ป 2. การจัดทําแผนงานประจําป 1.มีการจัดทําแผนคําของบคาเสื่อม 2.มีการจัดทําแผนยุทธศาสตรตําบล/แผนปฏิบัติการ พรอมทั้งชี้แจงและมอบหมายแกบุคลากร 3.มีการจัดทําแผนเงินบํารุง 4.มีโครงการประจําปที่ผานการอนุมัติ 3. งานระบาดวิทยา 1.มีคําสั่งทีม SRRTระดับตําบล 2.มีการดําเนินงานควบคุมการระบาดของโรคในพื้นที่ -มีทะเบียนรับแจงขาว -มีการพัฒนาและใหความรูภาคีเครือขาย -มีการสอบสวนโรค -มีการจัดทํารายงานสอบสวนโรคเบื้องตน -มีการวิเคราะหสถานการณโรคเพื่อการเฝาระวังและ ควบคุมโรค -มีการจัดทําโครงการแกไขปญหาโรคติดตอในพื้นที่ เชน โครงการควบคุมปองกันโรคไขเลือดออก ป 2560 3.มีรายงานสรุปผลการควบคุมโรค 4. งานพัฒนาวิชาการ 1.มีมุมวิชาการ มีหนังสือ คูมือปฏิบัติงาน 2.มีแผนพัฒนาบุคลากร 3.มีการพัฒนาฝกอบรมบุคลากร เชน การอบรมIC LAB การอบรม IT 4.มีแผนและการถายทอดความรูวิชาการแกภาคีเครือขาย
  • 16. 16 ภาพ 2 กิจกรรมการพัฒนาบุคลากรของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุป 2560 ภาพ3 การพัฒนาความรูดานวิชาการแกภาคีเครือขายของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2560
  • 17. 17 นอกจากนี้โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีการถายทอดความรูดานสุขภาพทั้งภายในสถาน บริการ การบริการในชุมชน เพื่อใหประชาชนนําไปดูแลครอบครัวและตนเองได มีกิจกรรมสื่อสารแกประชาชน หลายชองทางดังตอไปนี้ กิจกรรม ชองทางสื่อสารความรูดานสุขภาพแกประชาชน ผูรับบริการ 1.ในสถานบริการ -เจาหนาที่รพ.สต.บอตรุ -สื่อวีดีทัศน -เอกสาร แผนพับ บอรดใหความรู -คลินิกบริการตางๆ ไดแก เบาหวาน ความดันโลหิตสูง คลินิกหุนดีไรโรค คลินิกเกษตรกรปลอดโรค -การประชุมอสม.และกลุมเปาหมายตางๆ -การประชุมทีมดูแลผูสูงอายุ ทีมอสค.และภาคีอื่นๆ 2.ในชุมชน -การเยี่ยมบานของเจาหนาที่ประจําครอบครัว -อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน,อาสาสมัครดูแลครอบครัว -ทีมดูแลผูสูงอายุ -วิทยุชุมชน รายการ อสม.จอขาว ,รายการกระดานขาวสุขภาพ -หอกระจายขาว - ปายไวนิล -ชมรมออกกําลังกาย -ชมรมผูสูงอายุ /กิจกรรมบริการของอสม.ในวัดทุกวันพระ -การทํากิจกรรมตางๆในชุมชน ไดแก ประชุมชาวบาน, การทําประชาคม -กิจกรรมอนามัยโรงเรียน การสงเสริมความรูครูและผูปกครองในศพด. -โครงการเยาวชนรุนใหม หวงใยสุขภาพ -โครงการผูสูงอายุบอตรุฟนดี -โครงการหนูนอยฟนดี เริ่มที่ซี่แรก
  • 19. 19 สวนที่ 4 งานสนับสนุนบริการและเวชปฏิบัติ งานยุทธศาสตรกระทรวง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ มีการใหบริการทุกมิติทั้งทางรางกาย จิตใจและจิตวิญญาณ ครอบคลุมทุกงานสงเสริมสุขภาพ การควบคุมปองกันโรค การรักษาพยาบาล การฟนฟูสภาพและการคุมครอง ผูบริโภค ตลอดจนงานตามแผนยุทธศาสตรและนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและหนวยงานบริหารตางๆ มีผลสรุปการดําเนินงานยอนหลัง 3 ป ดังตอไปนี้ 1. การดําเนินงานอนามัยแมและเด็ก มีผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง7 ผลการบริการอนามัยแมและเด็กของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. อัตราการฝากครรภครั้งแรกอายุ ครรภกอน 12 สัปดาห 88.89 90.63 96.00 79.25 2. หญิงตั้งครรภที่มีอายุต่ํากวา 20 ป 22.22 15.62 5.88 - 3. อัตราการฝากครรภครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ 100.00 90.70 94.87 100.00 4. เยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด 3ครั้งตามเกณฑ 100.00 100.00 88.68 70.59 5. เลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียว6ด. - - - 54/44 81.48 ที่มา:HDCกระทรวงสาธารณสุข จากตาราง7 ผลการบริการอนามัยแมและเด็กของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557- 2560 พบวากิจกรรมงานอนามัยแมและเด็กสวนใหญผานเกณฑ แตพบวาจํานวนหญิงตั้งครรภที่มีอายุต่ํากวา 20 ปมีมากกวาเกณฑในป 2557และ 2558 และลดต่ําลงในปตอมาจนถึงปจจุบัน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว จึงไดดําเนินโครงการเยาวชนรุน ใหม หวงใยสุขภาพ โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตําบลบอตรุ ในป 2558-2560 ซึ่ง โครงการเนนกิจกรรมการเสริมทักษะชีวิตแกกลุมนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตําบลบอตรุ ตลอดจนปองกัน ปญหาการตั้งครรภวัยรุน การมีเพศสัมพันธวัยเรียนและยาเสพติดเปนตน
  • 20. 20 2. การดําเนินงานอนามัยโรงเรียน มีผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง8 ผลการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในนักเรียนประถมศึกษาของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1 จํานวนนักเรียน ป.1-6ทั้งหมด (คน) 645 767 630 666 2 ตรวจสุขภาพนักเรียน 100.00 100.00 100.00 100.00 3 บริการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค 3.1 เปาหมาย ป.1 (คน) 115 113 124 83 -BCG - - - - -DTP OPV - - - - -MMR - - - 83 3.2 เปาหมาย ป.6 (คน) 114 111 97 106 -dT 100.00 100.00 100.00 - 4 ตรวจตานักเรียน ป.1 -รับการตรวจตา(คน) -สงตอ (คน) - - 112 111/99.11 1 - ตาราง9 ผลการดําเนินงานสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนอายุ 6-12 ป ของโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลบอตรุ อ.ระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 ( ไตรมาส4) 1. จํานวนนักเรียน ป.1-6 645 767 630 666 2. น้ําหนักตามเกณฑสวนสูง - -อวน 7.34 6.89 7.19 5.17 -เริ่มอวน 7.65 7.01 6.86 5.55 -ทวม 7.23 5.25 5.72 7.58 -สมสวน 62.37 70.24 71.22 70.11 -ผอม 7.23 6.58 5.21 6.42 -คอนขางผอม 8.18 4.03 3.80 5.17 จากตาราง9 ผลการดําเนินงานสงเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนอายุ 6-12 ป ของโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อ.ระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560(มิ.ย.2560) สวนใหญนักเรียนมีภาวะ
  • 21. 21 โภชนาการสมสวน แตพบวามีนักเรียนที่อยูในภาวะเริ่มอวนและอวนรวมกันทุกปมากกวารอยละ 10 ดังนั้นใน ป 2560 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุจึงสงเสริมใหโรงเรียนสมัครเขาโครงการโชปาแอนดชายปา นํารองโดยโรงเรียนวัดประดู ตาราง10 ผลการจัดบริการตรวจสุขภาพชองปากนักเรียนป.1-6และเคลือบหลุมรองฟนนักเรียน ป.1 ของ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560 กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 จํานวนนักเรียนป.1-6ทั้งหมด(คน) 645 767 630 666 ตรวจสุขภาพชองปาก (รอยละ) 598/92.71 569/74.18 628/99.68 302/45.34 ฟนแทผุ (รอยละ) 115/19.23 115/20.21 91/14.49 83/27.48 หินปูน (รอยละ) 56/9.36 76/13.36 139/22.13 123/40.72 เด็ก ป.1ทั้งหมด (คน) 115 113 124 83 Sealant (รอยละ) 66/57.39 83/73.45 95/76.61 6/7.23 3. การดําเนินงานสุขภาพจิต มีผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง11 ผลการดําเนินงานคัดกรองสุขภาพจิตของโรงพยาบาลของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา ป 2557-2560 กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1.กลุมหญิงตั้งครรภ(คน) 53 66 70 35 -ผลการคัดกรอง 2Q 100.00 100.00 100.00 100.00 -ปกติ 100.00 100.00 100.00 100.00 -ผิดปกติ - - - - 2.กลุมวัยทํางานอายุ 35ป ขึ้นไป(คน) 3,768 3,646 3,443 3,461 -ผลการคัดกรอง 2Q 3261/86.54 3050/83.37 2922/84.86 2974/85.92 -ปกติ 3261/100.00 3050/100.00 2922/100.00 2974/100.00 -ผิดปกติ - - - - 3.กลุมผูสูงอายุ (คน) 1,105 1,172 1,213 1,251 -ผลการคัดกรอง 2Q 954/87.60 1110/94.71 1171/96.54 1,168/93.36
  • 22. 22 ตอ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 -ปกติ 954/100.00 1110/100.00 1171/100.00 1168/100.00 -ผิดปกติ - - - - 4. การดําเนินงานยาเสพติด สุรา บุหรี่มีผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง12 ผลการดําเนินงานยาเสพติด สุรา บุหรี่ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557- 2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. 2. 3. 4. 5. ผูเสพที่รับการสงตอจากรพ.ระโนด ติดตามครบ 7 ครั้ง สรุปผลการติดตาม -เลิกเสพ -เสพซ้ํา -อื่นๆ ผูสูบบุหรี่ แอลกอฮอลที่สมัครใจบําบัด 5.1 ใหคําปรึกษา จายยา 5.2 สงตอพบแพทย 5.3 ผลการติดตาม - เลิกสูบ - สูบซ้ํา 6 6/100.00 6/100.00 6/100.00 - - - - - - 4 4/100.00 4/100.00 4/100.00 - - - - - - 3 3/100.00 3/100.00 3/100.00 - - - - - - 0 0 0 0 - - - 3 - - - จากตาราง12 ผลการดําเนินงานยาเสพติด สุรา บุหรี่ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 พบวากลุมเปาหมายไดรับการติดตามครบตามเกณฑรอยละ 100ทุกปและเลิกเสพรอยละ 100 ทุกป อยางไรก็ตามในป 2560 ยังไมมีกิจกรรมการสงตอผูเสพเพื่อติดตามผูปวยในพื้นที่หลังการบําบัด เนื่องจากอําเภอระโนดอยูในระหวางดําเนินการเขาคายขวัญแผนดิน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูเสพและอยูใน ระหวางวางแผนการติดตามรวมกันระหวางสถานบริการสาธารณสุขกับผูนําชุมชน การดําเนินงานบําบัดแบบสมัครใจของผูสูบบุหรี่และแอลกอฮอลยังทําไดนอยในป 2560 โดย สามารถดําเนินการได 3 ราย อยูในระหวางติดตามผล ซึ่งจําเปนตองประสานการดําเนินงานกับแกนนํา และอสม.เพื่อกระตุนและเชิญชวนใหกลุมเปาหมายรวมโครงการมากขึ้น
  • 23. 23 5. การดําเนินงานดูแลผูสูงอายุระยะยาว(LTC) ผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง13 ผลการคัดกรองความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของผูสูงอายุ(ADL) ของโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. ผูสูงอายุทั้งหมด 1,105 1,172 1,213 1,251 2. ผูสูงอายุไดรับการคัดกรองADL 954/87.60 1,035/88.31 1,148/98.85 1,168/93.37 -ติดเตียง(0-4คะแนน) 0.42 0.48 0.88 0.97 -ติดบาน(5-11คะแนน) 1.06 0.97 4.56 4.52 -ติดสังคม(12-20คะแนน) 98.52 98.55 94.56 94.52 ตาราง14 ผลการเยี่ยมบานเพื่อดูแลสุขภาพกลุมติดบานติดเตียงและ Palliativeของโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. กลุมติดเตียง/ Palliative 4 5 13 12 2. กลุมติดบาน 10 10 38 56 3. ผลการเยี่ยมบานโดยทีมหมอ ครอบครัวอําเภอระโนด -ติดเตียง(คน) -ติดบาน(คน) -Palliative(คน) 4/100.00 - - 5/100.00 - - 13/100.00 - - 12/100.00 - 1/100.00 4. ผลการเยี่ยมบานโดยทีมหมอ ครอบครัวรพ.สต.บอตรุ -ติดเตียง(คน) -ติดบาน(คน) -Palliative(คน) 4/100.00 10/100.00 - 5/100.00 10/100.00 - 13/100.00 38/100.00 - 10/100.00 56/100.00 1/100.00 5. สรุปผลการดูแลตอเนื่องกลุมติดบาน ติดเตียงและPalliative -ADLดีขึ้น -ADLคงเดิม -ADLเลวลง - - - 12/100.00 1/8.33 9/75.00 2/16.67 6. การดําเนินงานเฝาระวังโภชนาการและพัฒนาการเด็ก0-5ป ผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง15 ผลการเฝาระวังภาวะโภชนาการของเด็ก0-72เดือนของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
  • 24. 24 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 ( ไตรมาส4) 1. เด็กอายุ0-72เดือน 513 448 478 386 2. เด็กที่ชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูง 97.86 97.32 93.64 - -อวน 22.71 12.84 13.35 68/17.75 -เริ่มอวน 12.35 12.16 14.20 - -ทวม 10.16 8.26 10.23 - -สมสวน 50.80 60.78 54.55 - -คอนขางผอม 1.20 2.52 4.26 - -ผอม 1.79 2.98 3.41 15/3.92 ที่มา:HDCกระทรวงสาธารณสุข จากตารางที่ 15 ผลการเฝาระวังภาวะโภชนาการของเด็ก0-72เดือนของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ปรากฏวาป 2560 มีเด็กอวนรอยละ 17.75 เกินเกณฑ(ไมเกินรอยละ10) ซึ่ง ตองรณรงคการเฝาระวังเด็กอวนในผูปกครองตอไป ตาราง16 ผลการคัดกรองและกระตุนพัฒนาการเด็ก9 18 30 42 เดือน ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลบอตรุ ป 2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. เด็ก9,18,30,42 เดือนทั้งหมด - - - 323 2. ตรวจพัฒนาการ - - - 323 3. -สมวัย - - - 228/98.28 4. -ลาชา - - - - 5. -สงตอ - - ที่มา: รายงานพัฒนาการและสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข Online: https://hdcservice.moph.go.th
  • 25. 25 7.การดําเนินงานวางแผนครอบครัว ผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง17 ผลการดําเนินงานวางแผนครอบครัวในสตรีวัยเจริญพันธุอายุ15-44ปของโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1 สตรีอายุ15-44ปที่สมรสแลว 837 790 702 691 2 วางแผนครอบครัวทุกวิธี 731/87.33 652/82.53 593/84.47 581/84.08 -ยาเม็ดคุมกําเนิด 583/79.75 518/79.44 469/79.08 466/80.20 -ยาฉีด 114/15.59 102/15.64 98/16.52 91/15.66 -ทําหมันหญิง 6/0.82 27/4.14 23/3.88 21/3.61 -ทําหมันชาย - - - - -หวงอนามัย 2/1.92 3/0.46 2/0.26 2/0.34 -ยาฝงคุมกําเนิด 2/1.92 2/0.32 2/0.26 1/0.19 ที่มา:ขอมูลกลางปของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 8.การดําเนินงานดูแลผูพิการ ผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง18 ผลการดําเนินงานดูแลผูพิการของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. ผูพิการทั้งหมด 239 233 256 262 2. ไดรับการจดทะเบียนผูพิการ 93.72 100.00 100.00 100.00 3. รับสวัสดิการบัตรทองผูพิการ 93.72 100.00 100.00 100.00 4. ติดตามเยี่ยมบานโดยหมอครอบครัว 100.00 100.00 100.00 100.00 5. ไดรับการฟนฟูสมรรถภาพจน ชวยเหลือตนเองได - - - 1 6. ไดรับอุปกรณชวยเหลือ(ราย) - 4 3 2 ที่มา:ขอมูลกลางปของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560
  • 26. 26 9.การดําเนินงานศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง19 ผลการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพในศูนยพัฒนาเด็กเล็กของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1 เด็กทั้งหมด (คน) 213 209 191 - 2 รับการตรวจพัฒนาการ (คน) 213 209 191 - -สมวัย 213 100.00 209 100.00 191 100.00 - -ลาชา - - - - -ติดตามกระตุนพัฒนาการ - - - - 3. ทันตสาธารณสุข 213 209 191 - -ตรวจสุขภาพชองปากและสอน แปรงฟน (คน) 181 84.97 178 85.16 162 84.82 - -ฟนผุ - - 78/48.15 - -อุดฟนน้ํานม - - 69/42.59 - -ถอนฟนน้ํานม - - 26/16.05 - ที่มา : งานพัฒนาการและงานทันตสาธารณสุข ป 2557-2560 ตาราง20 ผลการพัฒนาศูนยพัฒนาเด็กเล็กของของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ผลการประเมิน ป 2557 ป2558 ป2559 ป2560 1.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กวัดประดู ผาน ผาน ผาน ผาน 2.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเจดียงาม ผาน ผาน ผาน ผาน 3.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กมัสยิดสากลม.2 ผาน ผาน ผาน ผาน
  • 27. 27 10. งานแพทยแผนไทย มีผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง21 ผลการจัดบริการงานแพทยแผนไทยของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ อําเภอระโนด จ.สงขลา ป 2557-2560 กิจกรรม ผลการประเมิน ป 2557 ป2558 ป2559 ป2560 1.จายยาสมุนไพรในสถานบริการ(ครั้ง) 1065 1340 1717 1190 2.สงเสริมการใชสมุนไพรรางจืดในชุมชน สําหรับลางสารพิษ(หมูบาน) - - 1 1 11. งานหมอครอบครัวและการพัฒนาการดูแลตอเนื่อง มีผลการดําเนินงานดังนี้ 11.1 งานหมอครอบครัว การดําเนินงานหมอครอบครัวและการดูแลตอเนื่อง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ไดจัดตั้ง ทีมดูแลตอเนื่องในระดับหมูบานจํานวน 5 หมูบาน ประกอบดวย ทีมแกนหลัก ทีมรองและอสม. ซึ่งไดมีการ พัฒนาทักษะ การฝกปฏิบัติหนางานโดยสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตําบล มีการจัดประชุม ภายในเพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน ควบคุมกํากับและประเมินผลการทํางานรวมกันดังนี้ หมูที่ ทีมหมอครอบครัว ทีมแกนหลักอสม. ทีมรอง/อสม. หมู 1 1.น.ส.นุริสา ดีสะธรรม 2.น.ส.ทิพยภาภรณ เจิมขวัญ 1.น.ส.อุบล ตําภู 2.นางนวลละออง สังขทอง 1.ทีมสุโขทัย 2.อสม.38 คน หมู 2 1.นางสุพร ลอยลิบ 2.น.ส.รสสุคนธ ภักดีไพบูลยสกุล 1.น.ส.ศรีอําพร สรสวัสดิ์ 2.นางอารี ฤทธิเดช 1.ทีมดอกดาวเรือง 2.อสม.31คน หมู 3 1.นางจิตรทิพย จันมณี 2.น.ส.ภัสสร ไทยราษฎร 1.นางวันเพ็ญ ดวงทอง 2.นางหนูกี เชียรไชย 1.ทีมดอกรัก 2.อสม.16คน หมู 4 1.นายศักดิ์กยะ บุญรอด 1.น.ส.อรพินท พรอมมูล 2.นางอรทัย บางเสน 1.ทีมดอกบานไมรูโรย 2.อสม.19 คน หมู 5 1.น.ส.สาวิตรี ชูแกว 1.น.ส.จริยา ผอมไผ 2.น.ส.กัญภิรมย ชวยนุกูล 1.ทีมเฟองฟา 2.อสม.32 คน
  • 28. 28 ตาราง22 ผลการจัดบริการดูแลตอเนื่องโดยทีมหมอครอบครัวของเครือขายสหวิชาชีพและโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. 2. 3. จํานวนผูปวยระดับ1 -ผลการเยี่ยมบาน จํานวนผูปวยระดับ2 -ผลการเยี่ยมบาน จํานวนผูปวยระดับ3 -ผลการเยี่ยมบาน - - 10 10/100.00 4 4/100.00 - - 10 10/100.00 5 5/100.00 - - 38 38/100.00 13 13/100.00 203 203/100.00 963 776/80.58 12 12/100.00 ที่มา:ทะเบียนกลุมติดบานติดเตียงและHHC ป2557-2560 11.2 การพัฒนางานดูแลตอเนื่องของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ กลุมเปาหมาย 1.เจาหนาที่ประจําครอบครัวของรพ.สต.บอตรุ จํานวน 8 คน 2.เครือขายดูแลสุขภาพของเทศบาลตําบลบอตรุ จํานวน 6 คน 3.อสม.ตําบลบอตรุ จํานวน 136 คน เปาหมาย 1.มีแนวทางการดูแลตอเนื่องของภาคีเครือขายตําบลบอตรุ 2.มีศูนยขอมูลสารสนเทศผูปวยเพื่อการดูแลตอเนื่องของตําบลบอตรุ 3.ทีมดูแลสุขภาพของเทศบาลตําบลบอตรุไดรับการพัฒนาความรูในการดูแลสุขภาพเบื้องตน รอยละ 100 4.มีการประชุมวางแผนและการแลกเปลี่ยนเรียนรูการการเยี่ยมบาน เดือนละ 1 ครั้ง 5.ผูรับบริการกลุมติดเตียงไดรับบริการเยี่ยมบานอยางนอย ปละ 2 ครั้ง รอยละ 100 6.ผูปวยที่สงตอเพื่อการดูแลตอเนื่องที่บานจากโรงพยาบาลตางๆ รอยละ 100
  • 29. 29 ผลการดําเนินงาน 1.การฝกอบรมเครือขายการดูแลตอเนื่องระยะที่ 1และระยะที่ 2 การเตรียมการและการฝกอบรม เครือขายการดูแลตอเนื่อง 2.ฝกอบรมฟนฟูทีมดูแลตอเนื่องทีมหลักและทีมรอง -ฝกอบรมตามหลักสูตรฯโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ จํานวน 6 คน -ฝกอบรมหนางานทีมผูดูแลหลัก จํานวน 6 คน -ฝกหนางานทีมรอง จํานวน 35 คน
  • 30. 30 ตาราง 23 ผลการสํารวจผูปวยติดเตียงโดยเครือขายการดูแลตอเนื่องของรพ.สต.บอตรุ ป 2558-2560 หมูที่ เยี่ยมติดบาน ติดเตียงป2558 (คน) เยี่ยมติดบาน ติดเตียงป2559 (คน) เยี่ยมติดบาน ติดเตียง ป2560 (คน) ผูดูแลทีมหลัก 1 4 3 3 น.ส.อุบล ตําภู 2 7 3 2 น.ส.จันจิรา หนูทอง 3 10 2 2 น.ส.วันเพ็ญ ดวงทอง 4 2 2 2 น.ส.อรพินท พรอมมูล 5 - 3 3 น.ส.จริยา ผอมไผ รวม 23 13 12 ที่มา:ทะเบียนผูปวยติดเตียง ณ กันยายน 2558-2560 ตาราง24 ผลการจัดกิจกรรมดูแลผูปวยติดเตียงในชุมชนโดยเครือขายการดูแลตอเนื่องของรพ.สต.บอตรุ ป 2558-2560(มิ.ย.2560) ชื่อ สกุล(ผูปวย) ที่อยู กิจกรรม 1.นายใจ สิริพร 67 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 2.นายจวน แกววิเชียร 60 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 3.นายกลับ จันทรสุวรรณ 192 ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 4.นาย พลั่ง เพชรริน 75 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 5.นายดํา สายทองคํา 47 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 6.นายเหลี้ยม คงเพชร 42 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 7.นางยวง เสือแกว 740 ระโนด สงขลา ม.3 ตรวจน้ําตาลปลายนิ้ว/BP 8.นางปลื้ม สุมณฑา 824 ระโนด สงขลา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 9.นางหับ สังขทอง 14 ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 10.นางดํา แกวรัตนะ 3 พังขี้พรา ม.3 ดูแลสุขภาพทั่วไป 11.นายโสบ นิยมเดชา 15 บอตรุ 1 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป 12.นางเคียง พูลสวัสดิ์ 36 บอตรุ3 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป 13.นางเสาะ นิยมเดชา 44 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป 14.นางหรอ พงศภัทรายุทธ 13 มัสยิด ม.1 ตรวจน้ําตาลปลายนิ้ว/BP 15.นายเกษม โสวิรัตน 39 ถ.เทศบาล16 ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป/สายสวนปสสาวะ 16.นายแดง จันทรางกูล 650 ถ.ระโนด สงขลา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป 17.น.ส.คลาย สุภาพบุรุษ 16 ซ.มวลประชา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป 18.นางถิ้น ทองเอียด 16 ถ.เทศบาล16 ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป 19.นางพัว นิลประยูร 672 ถ.ระโนด สงขลา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป 20.นางหอง มากสวัสดิ์ 510 ถ.ระโนด สงขลา ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป 21.นางแคลว บัวทอง 6 มิตรสัมพันธ ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป 22.นายอนันต ภิญโญ ถ.ระโนด สงขลา ม.4 ดูแลแผลกดทับที่กนกบ 23.นางเอี้ยน ไหมออน ถ.ระโนด สงขลา ม.4 ดูแลสุขภาพทั่วไป
  • 31. 31 ตาราง24 (ตอ) ชื่อ สกุล(ผูปวย) ที่อยู กิจกรรม 24.นางถนอม บุญคง 666 ม.5 ดูแลสุขภาพทั่วไป 25.นายเจริญ วิจิตต 140 ม.5 ดูแลสุขภาพทั่วไป 26.นางหมะ แหละโรจน 130 ถ.นิยมเดชา ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป 27.เจะแหละ นิยมเดชา 156 ถ.สายโยด ม.2 ดูแลสุขภาพทั่วไป 28.นายกมล จันทรมีศรี 14 ซ.บอตรุ1 ม.1 ดูแลสุขภาพทั่วไป ที่มา:ทะเบียนเยี่ยมผูปวยติดบานติดเตียง ป2558-2560 12. การดําเนินงานมะเร็งเตานมและมะเร็งปากมดลูก มีผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง 25 ผลการดําเนินงานมะเร็งเตานมและมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1 เปาหมายมะเร็งเตานม(คน) 1573 1548 1465 1747 -ตรวจดวยตนเอง 1536/98.16 1463/94.64 1400/95.84 843/48.25 -ตรวจโดย จนท. 8/0.52 2/0.13 4/0.28 1534/87.81 2 เปาหมายมะเร็งปากมดลูก 1544 1509 1398 1386 ผลการคัดกรอง 1271/82.32 429/28.43 443/31.69 44832.32 -ผิดปกติ 2/0.15 3/0.69 2/0.45 - 13. การดําเนินงานสิ่งแวดลอมและอาชีวอนามัย โดยมีกิจกรรมตรวจเลือดเกษตรกร มีผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง26 ผลการดําเนินงานตรวจเลือดเกษตรกรของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557- 2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. จํานวนการตรวจเลือดเกษตร 81 32 33 - -ปกติ 9/11.11 5/15.62 3/9.09 - -ปลอดภัย 45/55.55 7/21.87 20/60.60 - -มีความเสี่ยง 19/23.45 11/34.37 5/15.15 - -ไมปลอดภัย 8/9.87 9/28.12 5/15.15 -
  • 32. 32 14.การดําเนินงานควบคุมและปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผลการดําเนินงานดังนี้ ตาราง27 ผลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ35ปขึ้นไปของโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. เปาหมายคัดกรองDM 3295 3197 3006 3069 2. ผลการคัดกรองDM 3261/98.96 3050/95.40 2922/97.20 2974/96.90 -ปกติ 3168/97.16 2918/95.69 2755/94.30 2923/98.29 -เสี่ยง 84/2.57 86/2.81 153/5.23 39/1.31 -ปวย 9/0.27 46/1.50 14/0.47 12/0.40 -สงตอพบแพทยเพื่อ วินิจฉัย - - - 3 3. เปาหมายคัดกรองHT 2918 2835 2664 2698 ผลการคัดกรองHT 2875/98.52 2750/97.00 2563/96.20 2606/96.59 -ปกติ 2711/94.31 2368/86.12 1880/73.37 2367/90.84 -เสี่ยง 108/3.75 193/7.01 509/19.85 168/6.44 -ปวย 56/1.94 189/6.87 174/6.78 71/2.72 -สงตอพบแพทยเพื่อ วินิจฉัย - - - 2 ที่มา : ระบบสารสนเทศอําเภอระโนด Online: http://61.19.78.139/hinforeport
  • 33. 33 ตาราง28 ผลการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ2ส.แกกลุมเสี่ยงกลุมปวยในชุมชนและคลินิกหุนดี ไร โรค(DPAC)ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. ติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ 2ส.กลุมเสี่ยงโดยเจาหนาที่ และอสม. 1.1กลุมเสี่ยงDM (คน) 93 132 167 52 -ติดตามการปรับเปลี่ยนฯ 89/95.70 127/96.21 160/95.81 51/98.08 1.2กลุมเสี่ยงHT (คน) 164 382 683 239 -ติดตามการปรับเปลี่ยนฯ 159/96.95 358/93.72 608/89.02 233/97.49 2. ผลการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในคลินิกหุนดีไรโรค (DPAC) 2.1จํานวนสมาชิกเขาโครงการ(คน) - - 10 8 2.2 ติดตาม(คน) - - 10 - -BMI ลดลง (คน) - - 8 - -รอบเอวลดลง (คน) - - 8 - -น้ําหนักลดลง (คน) - - 8 - ผลการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ2ส.แกกลุมเสี่ยงกลุมปวยในชุมชนและคลินิกหุนดี ไรโรค (DPAC)ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 พบวาการติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุมเสี่ยงดวย3อ2ส.ป 2557-2560 ทําไดครอบคลุมมากกวารอยละ 90 แตผลการดําเนินงานคลินิกหุนดีไร โรคยังมีสมาชิกจํานวนนอยอยู เนื่องจากไมมีผูสมัครใจเขาโครงการซึ่งจําเปนตองเรงรัดและเชิญชวนกลุมเสี่ยง ใหเขารวมโครงการใหมากยิ่งขึ้น
  • 34. 34 ตาราง29 เปรียบเทียบกลุมเสี่ยงและกลุมปวยของผูปวยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. ผูปวยDMทั้งหมด 303 318 327 343 -อัตราปวยDMตอแสน 4077 4411 4870 5149 2. กลุมเสี่ยงDMทั้งหมด 93 132 167 52 -รายใหมจากPre-DM - - - 3 -รอยละ - - - 1.26 3. ผูปวยHTทั้งหมด 685 676 700 726 -อัตราปวยHTตอแสน 9218 9378 10,425 10,899 4. กลุมเสี่ยงHTทั้งหมด 164 382 683 239 -รายใหมจาก Pre-HT - - - 12 -รอยละ - - - 1.11 ที่มา : ระบบสารสนเทศอําเภอระโนด Online: http://61.19.78.139/hinforeport ตาราง30 ผลการจัดบริการผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. ผูปวยDMทั้งหมด 303 318 327 343 -ผูปวยDMรับบริการที่รพ.สต. 121 136 151 142 -ควบคุมได 107/35.31 82/25.79 85/25.99 81/23.61 -ตรวจเลือดประจําป 192 -ตรวจเทา - - - 103 -ตรวจตา - - - 148 2. ผูปวยHTทั้งหมด 685 676 700 726 -ผูปวยHTรับบริการที่รพ.สต. 327 347 377 389 -ควบคุมได 495/72.26 271/40.09 343/49.00 173/23.83 -ตรวจเลือดประจําป 3. ประเมินCVD Risk ในผูปวยHT DM - - - 323/74.94 4. คัดกรองภาวะแทรกซอนทางไต ในผูปวยHT DM - - - 313/72.62 ที่มา : ระบบสารสนเทศอําเภอระโนด Online: http://61.19.78.139/hinforeport
  • 35. 35 15. การดําเนินงานควบคุมปองกันโรคติดตอ ผลการดําเนินงานดังนี้ 15.1 งานควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออก ตาราง31 อัตราปวยโรคไขเลือดออกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2555-2560 ป จํานวนปวย(ราย) อัตราปวยตอแสน 2555 4 51.12 2556 16 208.74 2557 8 107.66 2558 2 27.75 2559 19 263.59 2560 14 210.18 ที่มา:ทะเบียนผูปวยไขเลือดออกตําบลบอตรุ ป 2555-2560 จากตาราง 31 อัตราปวยโรคไขเลือดออกของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2555- 2560ปรากฏวา ป 2560 มีผูปวยจํานวน 14 ราย อัตราปวย 210.18 ตอแสนประชากรซึ่งสูงกวาคามัธย ฐานยอนหลัง 5 ป (ป2557) รอยละ 12.50 ทั้งนี้สาเหตุที่มีผูปวยเพิ่มขึ้นเนื่องจากปที่ผานมาและตนปมีฝน ตกตอเนื่อง บานเรือนหนาแนนและมีภาชนะขังน้ําจํานวนมาก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุไดดําเนินการควบคุมและปองกันโรคไขเลือดออกโดยใช มาตรการ 3 เก็บ 5ป.และมาตรการ 3:1:1 ตามนโยบายของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เพื่อปองกัน และควบคุมโรคไขเลือดออกในพื้นที่ นอกจากนั้นมีการประสานงานกับเทศบาลบอตรุ โรงเรียนและประชาชน ในพื้นที่รวมกันรณรงคทําความสะอาดใหญทุกหมูบานและมีการสํารวจและทําลายแหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลาย ทุกเดือนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน
  • 36. 36 15.2 งานควบคุมและปองกันโรควัณโรค ตาราง32 ผลการดําเนินงานปองกันและควบคุมวัณโรคของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. ผูปวยวัณโรคทั้งหมด 2 3 8 2 2. สรุปผลการติดตามDOT 2 3 8 2 -ติดตามครบ 2/100.00 3/100.00 6/75.00 1 -ติดตามไมครบ - - - - -อยูระหวางการรักษา - - - 1 3. ความสําเร็จของการรักษา -หาย 2/100.00 3/100.00 6/75.00 1 -รักษาครบ 2/100.00 3/100.00 - - -เสียชีวิต - - 2/25.00 - -กําลังรักษา - - - 1 -อื่นๆ - - - - 4. ผลการติดตามผูสัมผัสรวมบาน -ผูสัมผัสทั้งหมด - - 13 5 -คัดกรองอาการผูสัมผัสรวมบาน -ไดรับการเก็บเสมหะและตรวจ รังสีทรวงอก - - 8/61.54 8/61.54 5/100.00 4/80.00 จากตาราง32 ผลการดําเนินงานปองกันและควบคุมวัณโรคของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบอ ตรุ ป 2557-2560 พบวาอัตราความสําเร็จในป 2559 รอยละ 75 เนื่องจากมีผูปวยเสียชีวิตจํานวน 2 ราย จากสาเหตุการมีโรครวมกอนการรักษาวัณโรคคือ HIVและ CA สวนการติดตามผูสัมผัสในป 2559 ยังต่ํา แนว ทางแกไขตองเรงการคัดกรองผูสัมผัสรวมบานและประชากรในกลุมเสี่ยงใหมากขึ้น สวนป 2560 รักษาครบ 1 รายรอยละ 50 อีก1รายอยูระหวางการรักษา
  • 37. 37 15.3 งานสรางเสริมภูมิคุมกันโรค ตาราง33 ผลการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในกลุมเด็ก0-5และหญิงตั้งครรภของโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบลบอตรุ ป 2557-2560 ลําดับ กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ป 2557 ป 2558 ป 2559 ป 2560 1. หญิงตั้งครรภทั้งหมด 53 66 70 35 -ไดรับDTตามเกณฑ 53 66 70 35 -รอยละ 100.00 100.00 100.00 100.00 2. เด็ก0-1ปทั้งหมด -BCG 100.00 100.00 100.00 100.00 -DTP OPV 100.00 100.00 100.00 100.00 -DTPHB OPV 100.00 100.00 100.00 100.00 -IPV 100.00 100.00 100.00 100.00 -MMR 100.00 100.00 100.00 100.00 3. เด็ก2-3ป -DTP OPV กระตุน 100.00 100.00 100.00 100.00 -JE2 100.00 100.00 100.00 100.00 -MMR 100.00 100.00 100.00 100.00 4. เด็ก4-5ป -DTP OPV กระตุน 100.00 100.00 100.00 100.00