SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
บทที่ 7
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด และสารระเหย
มนุษย์ได้เกี่ยวข้องกับสารเสพติดมาเป็นเวลาช้านาน โดยข้อมูลในประวัติศาสตร์พบว่ามนุษย์ได้
นาสารเสพติดจากธรรมชาติมาใช้เป็นยาในการรักษาการเจ็บป่วย ซึ่งสารเสพติดมีทั้งคุณประโยชน์และ
โทษภัยเช่นกัน โดยในประเทศไทย สารเสพติดบางชนิดมีการนามาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์และ
สาธารณสุข ในขณะที่ปัจจุบันมีการนาสารเสพติดมาใช้ในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ และไม่ถูกต้องตาม
กฎหมาย จึงก่อให้เกิดปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด และเกิดผลกระทบทาให้เกิดปัญหา
อาชญากรรมตามมา ดังที่พบเห็นเป็นข่าวในสื่อต่างๆ
สารเสพติด
1. ความหมายของสารเสพติด
ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะ
โดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะ
สาคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งทาง
ร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืช
หรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและ
สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ไม่
หมายความถึงยาสามัญประจาบ้านบางตารับตามกฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่
(พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ, 2528)
จากความหมายข้างต้น ยาเสพติดให้โทษจึงเป็นสารหรือวัตถุที่ทาให้เกิดผลต่อร่างกาย
และจิตใจในลักษณะสาคัญ ดังนี้ คือ
1.1 ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากอาการดื้อต่อฤทธิ์สารเสพติดของร่างกาย
1.2 มีความต้องการเสพทางร่างกาย คือเป็นอาการพึ่งยาทางร่างกาย จากการที่ใช้ยาเป็น
ประจา เป็นระยะเวลานาน เมื่อหยุดเสพจะมีอาการที่ผิดปกติของร่างกายอันเนื่องมาจากการขาดยา
1.3 มีความต้องการเสพทางใจ คือเป็นอาการติดและต้องพึ่งยาทางจิตใจ
1.4 มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีลักษณะที่แสดงอาการหลายอย่างประกอบกันทั้งทาง
ร่างกายและจิตใจ เป็นลักษณะเฉพาะสาหรับสารเสพติดในแต่ละตัว
2. ประเภทของสารเสพติด
การจัดประเภทของสารเสพติด โดยทั่วไปใช้หลักการควบคุม และผลเสียต่อสุขภาพมาใช้เป็น
แนวทางในการพิจารณา คือ ประโยชน์จากฤทธิ์ของสารเสพติดต่อการรักษาโรค และ สารเสพติดนั้นทา
ให้เกิดความเสี่ยงต่อการเสพติดมากน้อยเพียงใด ซึ่งตามกฎหมายในประเทศไทย ได้แบ่งประเภทของ
ยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ คือ
2.1 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 1 เป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ไม่มีประโยชน์ทาง
การแพทย์ ห้ามผลิต ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครอง เช่น เฮโรอีน (Heroin)
114
2.2 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 2 เป็นยาเสพติดให้โทษทั่วไป มีประโยชน์ทางการแพทย์
การผลิต นาเข้า จัดหาได้เฉพาะสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และจาหน่ายให้แก่ผู้มีใบอนุญาต
จาหน่าย หรืออนุญาตให้มีไว้ในครอบครองเท่านั้น เช่น มอร์ฟีน (Morphine) โคคาอีน (Cocaine)
โคเดอีน (Codeine) ฝิ่นยา (Medicinal Opium) ซึ่งหมายรวมถึง ฝิ่นที่ได้ผ่านกรรมวิธีปรุงแต่ง โดยมี
ความมุ่งหมายเพื่อใช้ในทางยา
2.3 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 3 เป็นยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นตารับยา และที่มียา
เสพติดให้โทษในประเภท 2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 95 (พ.ศ.2531) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับยาเสพ
ติดให้โทษประเภท 3) ซึ่งต้องได้รับใบสาคัญการขึ้นทะเบียนก่อนจึงจะผลิต หรือนาเข้า หรือจาหน่ายได้
เช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน (Codeine Cough Syrup) เป็นส่วนผสม ยาแก้ปวดที่มีโคเดอีนเป็นส่วนผสม
ยาแก้ไอที่มีฝิ่นเป็นส่วนผสม ยาแก้ท้องเสียที่มีดีฟีโนซิเลทเป็นส่วนผสม (Diphenoxylate) เป็นต้น
2.4 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 4 เป็นสารตั้งต้นที่นาไปใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ
ประเภท 1 หรือประเภท 2 ได้ แต่มีประโยชน์ในทางการแพทย์ อุตสาหกรรม หรือวิทยาศาสตร์ เช่น
ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งแปรรูป ผลิตสี ผลิตเม็ดพลาสติก ผลิตยา ใช้เป็นสารทดสอบ
ในห้องปฏิบัติการ การมีสารประเภทนี้ไว้ใช้ประโยชน์ จะต้องได้รับอนุญาตมีไว้ในครอบครองเท่านั้น
ตัวอย่าง เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride)
2.5 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่ไม่ได้อยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4
ส่วนใหญ่จะเป็นพืชที่ทาให้เกิดสารเสพติดได้ ซึ่งมีดังต่อไปนี้ คือ กัญชา พืชกระท่อม พืชฝิ่น และ
เห็ดขี้ควาย
3. ประโยชน์ของสารเสพติด
เมื่อกล่าวถึงสารเสพติด ส่วนใหญ่จะทราบถึงผลเสียที่มีโทษและพิษภัยเท่านั้น จะไม่ทราบถึง
ประโยชน์ แต่ความจริงแล้วสารเสพติดก็มีประโยชน์ในทางการแพทย์และสาธารณสุขด้วยเช่นกัน
หากแต่ต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง เพราะถ้าใช้ไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดอันตรายได้ และที่สาคัญนั้น มีสาร
เสพติดบางประเภทเท่านั้นที่มีประโยชน์ หรืออาจกล่าวได้ว่าสารเสพติดส่วนน้อยเท่านั้นที่ให้ประโยชน์ใน
การรักษาโรค ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่มีพิษภัยอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น
ดังนั้นจึงขอนาเสนอข้อมูลด้านประโยชน์ของสารเสพติดในทางการแพทย์ เพราะนอกจาก
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่ให้ผลในทางการแพทย์แล้ว สารเสพติดให้โทษบางชนิดก็มีประโยชน์
ทางการแพทย์เช่นเดียวกัน โดยจะแตกต่างกันไปแต่ละชนิด เช่น สมัยโบราณที่ยังไม่มีความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีการผลิตยา ก็มีการใช้ฝิ่นเป็นยาแก้ปวด ยากล่อมประสาท ไปจนถึงผสมให้เจือจางเป็นยาแก้
ท้องเสีย ซึ่งปัจจุบันก็ยังพบว่ามีการใช้ฝิ่นเป็นส่วนผสมในยาแก้ท้องเสียอยู่แม้แต่ในตารับยาสามัญประจา
บ้าน นอกจากนี้แล้วยังมีการใช้สารสังเคราะห์ที่ได้จากฝิ่น คือ มอร์ฟีน เพื่อเป็นยาฉีด ระงับอาการปวดที่
รุนแรง ที่ยาแก้ปวดทั่วไปไม่สามารถระงับอาการได้ เช่น อาการปวดรุนแรงหลังจากการผ่าตัด อาการ
ปวดจากโรคมะเร็ง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วก็มีการใช้ โคเดอีนเป็นส่วนผสมของตัวยาในยาแก้ไอ
อะโทรปีนซัลเฟดใช้เป็นยาขยายม่านตา และไดเฟนอกไซใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย เป็นต้น
115
4. บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติด
4.1 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน, แอลเอสดี, แอมเฟตามีนและอนุพันธ์
ทั้งสิ้น 15 ชนิด เป็นต้น ตัวที่สาคัญ คือ เมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า), เมทิลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน
หรือ MDMA (ยาอี)และเมทิลีนไดออกซีแอมเฟตามีน หรือ MDA (ยาเลิฟ) เนื่องจากกาลังแพร่ระบาด
อย่างรุนแรงในปัจจุบัน มีบทลงโทษสูงสุดสาหรับผู้เสพ ผู้จาหน่าย ผู้ครอบครอง นาเข้าและส่งออก
ยาเสพติดให้โทษประเภทนี้ไม่ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แต่อย่างใด
บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 1 คือ ผู้ใดผลิต นาเข้า หรือส่งออกซึ่งยา
เสพติดให้โทษในประเภท 1 ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็น
การกระทาเพื่อจาหน่ายต้องระวางโทษประหารชีวิต
4.2 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 2 เช่น ฝิ่น, มอร์ฟีน, โคเคนและใบโคคา, โคเดอีน และเม
ทาโดนเป็นต้น ยาเสพติดให้โทษประเภทนี้สามารถนามาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่มีโทษมาก
ดังนั้นต้องใช้ภายใต้ความควบคุมของแพทย์ และใช้ในเฉพาะกรณีที่จาเป็นเท่านั้น
บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 2 มีดังนี้
4.2.1 ผู้ใดผลิต นาเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็นการฝ่าฝืน
ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1 - 10 ปีและปรับตั้งแต่ 10,000 – 100,000 บาท
4.2.2 ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทาความผิดเป็นมอร์ฟีนหรือโคคาอีน ผู้
นั้นต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 20 ปีถึงจาคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่ 200,000 – 500,000 บาท
4.2.3 มาตรา 69 ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็นการฝ่า
ฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปีและปรับไม่เกิน 50,000 บาท ผู้ใดจาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครอง
เพื่อจาหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็น การฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1 - 10 ปี
และปรับตั้งแต่ 10,000 – 100,000 บาท
4.3 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 3 เช่น ยาแก้ไอ เข้าฝิ่น ห้ามผลิต จาหน่าย นาเข้า หรือ
ส่งออกนอกจากได้รับอนุญาตโดยขออนุญาตเป็นครั้งๆไป ห้ามโฆษณาเพื่อการค้านอกจากกระทา
โดยตรงต่อผู้อนุญาต
บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 3 มีดังนี้
4.3.1 ผู้ผลิต, นาเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปีและปรับไม่เกิน
30,000 บาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
4.3.2 ผู้จาหน่ายหรือส่งออก โดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี และ
ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
4.3.3 ผู้นาเข้าหรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน และ
ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
4.3.4 ผู้ได้รับอนุญาตนาไปใช้กระทาผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปีและปรับไม่เกิน
50,000 บาท
4.4 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 4 เป็นสารเคมีที่ใช้ผลิตสารเสพติดประเภทที่ 1 และ 2
ห้ามผลิตจาหน่าย นาเข้า หรือส่งออก ครอบครองหรือจาหน่าย นอกจากได้รับอนุญาต โดยหน่วยงาน
ของทางราชการ
116
บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 4 มีดังนี้
4.4.1 ผู้ผลิต, นาเข้าหรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุก 1 ปี – 10 ปี
และปรับตั้งแต่ 10,000 – 100,000 บาท
4.4.2 ผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน
50,000 บาท
4.4.3 ผู้ครอบครองเพื่อจาหน่าย ต้องระวางโทษจาคุก 1 ปี – 10 ปี และปรับไม่เกิน
10,000 – 100,000 บาท (การครอบครองตั้งแต่ 10 กิโลกรัมขึ้นไป ถือว่าเพื่อจาหน่าย)
4.5 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดอื่นๆ เช่นกัญชา และพืชกระท่อม
ห้ามผลิต, นาเข้า หรือส่งออก ครอบครองหรือจาหน่าย นอกจากได้รับอนุญาต โดยหน่วยงานของทางราชการ
บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 5 มีดังนี้
4.5.1 ผู้ผลิต, นาเข้า หรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุก 2 ปี- 15 ปี
และปรับตั้งแต่ 20,000 – 150,000 บาท
4.5.2 ถ้าเป็นพืชกระท่อม ผู้ผลิต, นาเข้าหรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท สาหรับผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
4.5.3 ถ้าเป็นพืชกระท่อม ผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษไม่เกิน 1 ปี
และปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ สาหรับผู้ครอบครองเพื่อจาหน่าย ต้องระวางโทษจาคุก
2 ปี– 5 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 – 150,000 บาท
4.5.4 ถ้าเป็นพืชกระท่อมผู้ครอบครองเพื่อจาหน่าย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี
และปรับไม่เกิน 20,000 บาท (การครอบครองตั้งแต่10 กิโลกรัม ขึ้นไป ถือว่าเพื่อจาหน่าย) ผู้เสพ ต้อง
ระวางโทษจาคุก ไม่เกิน 1 ปีและปรับไม่เกิน 10,000 บาท ถ้าเป็นพืชกระท่อม ผู้เสพ ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกิน 1 เดือน
แนวทางการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด
สารเสพติด กฎหมายกาหนดให้ไม่สามารถจาหน่ายทั่วไป จะนามาใช้เฉพาะทางการแพทย์ เพื่อ
การบาบัดรักษาโรคบางโรคเท่านั้น หากผู้บริโภคไม่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง บริโภคโดยไม่อยู่ในการ
ดูแลของแพทย์หรือเภสัชกร จะส่งผลกระทบที่รุนแรงและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ ซึ่งแนวทางการ
คุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด มีดังนี้ คือ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554)
1. การปราบปรามและสกัดกั้นการค้าสารเสพติด
ดาเนินการปลูกพืชทดแทนและควบคุมการปลูกฝิ่น รวมถึงปราบปรามมิให้มีการผลิต การ
ลักลอบค้าสารเสพติดทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายๆ
ฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือประชาชนทั่วไปที่จะให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่การปราบปราม
2. การเพิ่มมาตรการควบคุมตามกฎหมาย
ดาเนินการควบคุมการใช้สารเสพติดในทางการแพทย์ให้อยู่ในปริมาณที่พอเหมาะพอควรมิ
ให้มีการใช้สารเสพติดฟุ่มเฟือยเกินความจาเป็น หรือหลุดลอดออกไปนอกระบบ อันเป็นสาเหตุให้มีการ
แพร่ระบาดต่อไปได้
117
3. การบาบัดรักษาผู้ติดสารเสพติด
เป็นการช่วยเหลือให้ผู้ติดสารเสพติดเลิกจาการเสพ และปรับสภาพร่างกายให้กลับคืนมาสู่
ภาวะปกติ กลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข กระบวนการบาบัดรักษาต้องใช้วิธีการรักษาทั้งทาง
ร่างกายและจิตใจ เพื่อฟื้นฟูสภาพของผู้ติดสารเสพติดให้พร้อมที่จะอยู่ในสังคมอย่างเข้มแข็ง และไม่หวน
กลับไปติดสารเสพติดอีกครั้ง
4. การป้องกันการติดสารเสพติด
เป็นมาตรการที่สาคัญมาก เพราะการป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นย่อมดีกว่าการแก้ไขปัญหา
ถ้าเราสามารถป้องกันบุคคลไม่ให้ใช้ติดสารเสพติด ปัญหาด้านอื่นๆ เช่น ปัญหาการปราบปราม ปัญหา
อาชญากรรมก็จะลดลงไปด้วย ซึ่งการดาเนินงานป้องกันการติดสารเสพติดจะต้องพัฒนาบุคคลให้มี
ภูมิคุ้มกัน มีความเข้มแข็ง สามารถเผชิญกับสภาพความกดดันของสิ่งแวดล้อมที่ยุ่งยากซับซ้อนของสังคม
ปัจจุบัน ให้ความรู้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการดาเนินชีวิต โดยไม่จาเป็นจะต้องพึ่งสารเสพติด ให้ความรู้
ความเข้าในที่ถูกต้องเกี่ยวกับพิษภัยของสารเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันให้เกิดขึ้นกับตัวบุคคล โดย
ส่งเสริมให้เกิดความนับถือตนเอง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ส่งเสริมให้มีความมุ่งมั่นและมีเป้าหมายในชีวิต
ส่งเสริมการเคารพสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น พัฒนาทักษะส่วนบุคคลและทักษะสังคม การใช้เหตุผล
การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ทางานเป็นทีมและการช่วยเหลือผู้อื่น
5. การส่งเสริมสถาบันครอบครัว
ครอบครัวเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสังคม เป็นสถาบันทางสังคมในการเริ่มต้นชีวิตของทุกคน
ถ้าครอบครัวอบอุ่น มีความเข้าใจ แม้ฐานะจะยากจนก็ไม่เป็นปัจจัยส่งเสริมต่อการติดสารเสพติด หาก
ครอบครัวมีความเข้มแข็ง ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครองควรทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับบุตร ให้คาปรึกษากับ
บุตรเมื่อเกิดปัญหา และส่งเสริมการศึกษาของบุตรเท่าที่จะมีกาลังความสามารถ และที่สาคัญที่สุดคือ
การให้ความรัก ความเข้าใจ ความอบอุ่นแก่ลูก
สารระเหย
ปัจจุบันได้มีการนาสารระเหย หรือวัตถุ หรือผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่มีสารระเหยผสม หรือ
เจือปนอยู่ ซึ่งผลิตขึ้นเพื่อใช้ในทางอุตสาหกรรม หรือทางอื่น ไปใช้สูด ดม หรือวิธีอื่นใด อันก่อให้เกิด
อันตรายอย่างมากแก่ผู้สูดดม โดยเฉพาะเยาวชน ประกอบกับยังไม่มีกฎหมายบังคับ จึงสมควรที่จะ
ดาเนินการป้องกันการใช้สารระเหยไปในทางที่ไม่ถูกต้อง และโดยที่เป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็น
รีบด่วนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยสาธารณะ จึงมีการประกาศใช้ พระราชกาหนดป้องกันการใช้สาร
ระเหย ขึ้น
1. ความหมายของสารระเหย
สารระเหย หมายความว่า (สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2558) สารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมประกาศว่าเป็นสาร
ระเหย เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวยาง และลูกโป่งวิทยาศาสตร์รวมถึงตัวทาละลายในผลิตภัณฑ์นานา
ชนิด เช่น สีพ่น กาววิทยาศาสตร์ น้ายาล้างเล็บ น้ายาลบคาผิด
สารระเหย คือ สารประกอบอินทรีย์เคมีประเภทไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon) ที่ได้มาจาก
น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติเป็นสารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมิปกติ ลักษณะทางกายภาพ
118
สารระเหยเกือบทุกชนิดเป็นของเหลว มีกลิ่นเฉพาะตัว หรือกลิ่นหอม ระเหยได้ดี มีความหนืดต่าค่าแรง
ตึงผิวต่า บางตัวติดไฟ ได้ เช่น Toluene, Ethyl Acetate, Acetone และ Methyl Ethyl Ketone เป็น
ต้น ส่วนมากมักไม่มีสีใส ไม่มีตะกอน ค่าความดันไอต่อละลายในน้าได้ไม่ดี แต่มีคุณสมบัติละลายได้ดีใน
ไขมัน
ลักษณะของสารระเหย คือ เป็นสารเคมีที่ระเหยได้ง่าย มีลักษณะเป็นไอ ระเหยได้ในอากาศ
และมีคุณสมบัติในการทาลายและใช้ในการอุตสาหกรรม เช่น ทินเนอร์ แอลกอฮอล์ กาว ฯลฯ เรานา
สารระเหยมาใช้เป็นส่วนผสมในสีสเปรย์ น้ายาล้างเล็บ กาวยางน้า ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ผลิตภัณฑ์
ต่างๆ ที่มีส่วนผสมของสารระเหยไม่ใช่สารเสพติดแต่อย่างใด เป็นสิ่งที่มนุษย์ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์
ในเชิงอุตสาหกรรม แต่ที่กลับกลายมาเป็นปัญหาเพราะคนนามาใช้ในทางที่ผิด จงใจสูดดมให้เกิดอาการ
มึนเมาจนติด เกิดโทษพิษภัยอย่างมหันต์ เด็กและเยาวชนจานวนมากที่หลงผิดหันไปลองสูดดมสาร
ระเหย และเกิดภาวะเสพติดเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
คุณสมบัติของสารระเหย เนื่องจากสารระเหยมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย พกพาสะดวก ออกฤทธิ์
เร็ว และ ช่วยให้ผู้เสพเคลิบเคลิ้ม เป็นสุข ร่าเริง ลืมความทุกข์ ซึ่งเป็นอาการที่เกิดขึ้นในระยะแรกๆ ของ
การเสพสารระเหย ทาให้ผู้เสพตัดสินใจเสพสารระเหยง่ายขึ้น
อาการผู้เสพ ผู้เสพสารระเหยในระยะแรกจะรู้สึกเคลิบเคลิ้มเป็นสุข ร่าเริง ศีรษะเบาหวิว
ตื่นเต้น หลังจากนั้นจะมีอาการคล้ายคนเมาเหล้า ควบคุมตนเองไม่ได้ เดินโซเซ ตาพร่ามัว น้าลายไหล
มาก ถ้ายังสูดดมต่อไปอีกจะง่วงนอน ซึม และหมดสติในที่สุด
ผู้ติดสารระเหย หมายความว่า ผู้ซึ่งต้องใช้สารระเหยบาบัดความต้องการของร่างกาย หรือ
จิตใจเป็นประจาโดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นว่านั้นได้ตามหลักวิชาการ
โทษของการเสพติดสารระเหย ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณการเสพ ประวัติการใช้ยาของผู้
เสพ วิธีการเสพ ความแข็งแรงและภูมิต้านทานของร่างกาย ตลอดจนชนิดของเคมีภัณฑ์ที่ใช้ผสมในสาร
ระเหย ที่ผู้เสพสูดดม โดยพิษที่เกิดขึ้นแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 พิษเฉียบพลัน หลังจากเกิดอาการเคลิ้มเป็นสุข ร่าเริง ตื่นเต้น ต่อมาจะมึนงง พูดจา
อ้อแอ้ ควบคุมตัวเองไม่ได้ จากนั้นจะคลื่นไส้ อาเจียน หายใจถี่เบาและเร็ว ประสาทหลอน หากสูดดมใน
ปริมาณมากอาจชักหมดสติ หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะและอาจหัวใจวาย หรือสารระเหยอาจกดศูนย์หายใจ
ทาให้ตายได้
ระยะที่ 2 พิษเรื้อรัง การสูดดมติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้ระบบอวัยวะต่างๆ อาทิ ระบบ
ประสาทส่วนกลาง ประสาทส่วนปลาย กล้ามเนื้อ ทางเดินหายใจ หัวใจ โลหิต และระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ
เสื่อมสภาพลง อาการที่เกิดขึ้น เช่น
- อาการทางระบบประสาท โดยทาให้เกิดอาการวิงเวียน เดินโซเซ ลูกตาแกว่ง พูด
ลาบาก มือสั่น ตัวสั่น เซื่องซึม ความคิดอ่านช้าลง หลงลืม สับสน นิสัยและอารมณ์เปลี่ยนแปลง ความจา
เสื่อม สมองฝ่อ การรับรู้ต่างๆ เช่น การได้กลิ่นผิดปกติ การมองเห็นอาจเห็นภาพซ้อน หรืออาจเกิด
อาการปลายประสาทอักเสบ ชาตามมือ ปลายเท้า
- อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ทาให้จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ กดการ
ทางานของไขกระดูกทาให้เม็ดเลือดแดงต่า เกร็ดเลือดต่า เลือดออกง่าย อ่อนเพลีย บางรายอาจเกิด
มะเร็งในเม็ดเลือดขาวได้
119
- อาการทางระบบทางเดินหายใจ อาจเกิดอาการระคายเคือง จนถึงอักเสบตั้งแต่ปลาย
จมูกจนถึงหลอดลม ปอด ถุงลม อาจเกิดอาการน้าคั่งในปอด มีเลือดออกในถุงลม
- อาการทางระบบทางเดินอาหาร ทาให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
เบื่ออาหาร น้าหนักลด บางรายพบเลือดออกในกระเพาะอาหาร นอกจากนี้ยังพบว่ามีการทาลายเนื้อเยื่อ
ของตับเป็นหย่อมๆ ตับโต ตับและไตอักเสบ บางรายปัสสาวะเป็นเลือด
- อาการทางระบบกล้ามเนื้อ ทาให้กล้ามเนื้อลีบ จนถึงเป็นอัมพาตได้
- ระบบสืบพันธุ์ เกิดการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม ซึ่งมีหน้าที่ ถ่ายทอดทาง
พันธุกรรม จึงอาจลดการสร้างอสุจิ
ผู้เสพสารระเหยจะเกิดการติดทางด้านจิตใจ นอกจากนี้แล้วการติดทางด้านร่างกาย ก็
อาจเกิดขึ้นได้ถ้าสูดดมสารระเหยประเภทที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบเช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ เป็น
ต้น เมื่อไม่ได้เสพอาจเกิดอาการหงุดหงิด หาวนอน ปวดท้อง เหงื่ออกมาก คลื่นไส้ อาเจียน จาม คัดจมูก
ปวดตามกล้ามเนื้อ ฟุ้งซ่าน น้าตาไหล ขนลุก ตะคริว นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย ปวดกระดูก
เจ็บหน้าอก ซึ่งเป็นอาการที่เกิดจากการขาดยา (Withdrawal Symptoms)
2. ประเภทของสารระเหย
เพื่อป้องกันการนาสารระเหยไปใช้ในทางที่ผิด สารระเหยตามกฎหมายในปัจจุบันมี 23 ชนิด
แบ่งได้ 2 กลุ่ม ดังนี้ คือ (สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558)
2.1 ผลิตภัณฑ์ที่มีสารระเหยเป็นส่วนประกอบ 5 ชนิด ได้แก่
2.1.1 ทินเนอร์ (Thiners) แลคเกอร์ (Lacqures)
2.1.2 แลคเกอร์ (Lacquers)
2.1.3 กาวอินทรีย์สังเคราะห์ (Synthetic Organic Adhesive) ที่มียางนิโอปริน
(Neoprene Based) หรือ สารกลุ่ม (Vinyl Resin Based) เป็นส่วนประกอบ
2.1.4 กาวอินทรีย์ธรรมชาติ (Natural Organic Adhesive) ที่มียางสนหรือชันสน
(Resin) ยางธรรมชาติ (Natural Rubber หรือ Isoprene) หรือสารเซลลูโลส(Cellulose) เป็นตัวประสาน
2.1.5 ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ หรือลูกโป่งพลาสติก (Blowing Balloon)
2.2 สารระเหยที่เป็นสารเคมี 18 ชนิด ได้แก่
2.2.1 โทลูอีน (Toluene) มีชื่อทางเคมีว่า Methylbenzene
2.2.2 อาซีโทน (Acetone) มีชื่อทางเคมีว่า Mropan-2-one
2.2.3 เมทิลเอทิลคีโทน(Methylethylketone)หรือเอ็มอีเค(MEK)มีชื่อทางเคมีว่าButan-2-one
2.2.4 เมทิลไอโซบิวทิลคีโทน (Methyl isobutyl ketone) หรือ เอ็มไอบีเค (MIBK) มีชื่อ
ทางเคมีว่า 4-Methylpentan-2-One
2.2.5 เอทิลอาซีเทต (Ethyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Ethyl acetate
2.2.6 เซลโลโซล์ฟอาซีเทต (Cellosolve acetate) มีชื่อทางเคมีว่า 2-ethoxyethyl acetate
2.2.7 เมทิลอาซีเทต (Methyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Methyl acetate
2.2.8 นอร์มาลบิวทิลอาซีเทต (n-Butyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Butyl acetate
2.2.9 เซคันดารีบิวทิลอาซีเทต (sec-Butyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Butan-2yl acetate
2.2.10 เอมิลไนไตรท์ (Amyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า 3-Methylbutyl nitrite
120
2.2.11 ไซโคลเฮ็กซิลไนไตรท์ (Cyclohexyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Cyclohexyl nitrite
2.2.12 เอทิลไนไตรท์ (Ethyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Ethyl nitrite
2.2.13 ไอโซ-บิวทิลไนโตร์ท (Isobutyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า 2-Methylpropyl nitrite
2.2.14 ไอโซโพรพิลไนไตรท์ (Isopropyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Propan-2-yl nitrite
2.2.15 นอร์มาล-บิวทิลไนโตร์ท (n-Butyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Butyl nitrite
2.2.16 บิลทิลเซลโลโซล์ฟ (Butyl cellosolve) มีชื่อทางเคมีว่า 2-Butoxyethanol
2.2.17 เซลโลโซล์ฟ (Cellosolve)(Butyl cellosolve) มีชื่อทางเคมีว่า 2-Ethoxyethanol
2.2.18 เมทิลเซลโลโซล์ฟ (Methyl cellosolve) ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า 2-Methoxyethanol
3. การแสดงฉลากของสารระเหย (สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2558)
จากการที่ผู้บริโภคมีสิทธิ์ที่จะรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและเพียงพอ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
ฉลากผลิตภัณฑ์จึงเสมือนสื่อกลางที่ช่วยสื่อสารให้ผู้บริโภครับทราบถึงข้อมูลสาคัญที่เป็นประโยชน์ต่อ
ตนเอง ดังนั้น ผู้ผลิตและผู้นาเข้าสารระเหย จึงต้องจัดให้มีภาพ/เครื่องหมาย/ข้อความที่ภาชนะบรรจุ
หรือหีบห่อบรรจุสารระเหยตามที่กฎหมายกาหนด ดังนี้
3.1 คาว่า “สารระเหย” ให้ใช้ตัวอักษรสีแดงบนพื้นขาว
3.2 ชื่อและสถานที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้นาเข้า แล้วแต่กรณี
3.3 ปริมาณที่บรรจุเป็นระบบเมตริก
3.4 ชื่อทางเคมีและอัตราส่วนของสารผสมทั้งหมดในสารระเหย
3.5 วิธีใช้และวิธีเก็บรักษา
3.6 คาว่า “คาเตือน ห้ามสูดดมเป็นอันตรายต่อชีวิต” ให้ใช้ตัวอักษรสีแดงบนพื้นขาว
สาหรับสารระเหยที่บรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่มีขนาดบรรจุเกิน 550 มิลลิลิตร หรือ 550 กรัม
หากมีการจัดภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ
หรือเงื่อนไขแห่งกฎหมายอื่นแล้ว ก่อนนาออกขายผู้ผลิต หรือนาเข้าสารระเหย จะไม่จัดให้มีข้อความที่
ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย ตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงแห่งพระราชกาหนดป้องกัน
การใช้สารระเหย พ.ศ. 2553 ก็ได้
4. การป้องกันการติดสารระเหย
4.1 รู้จักป้องกันตนเอง โดยการหาความรู้เกี่ยวกับสารระเหย อย่าหลงเชื่อคาชักชวนให้เสพ
เมื่อมีปัญหาควรใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหา ปรึกษาผู้ใหญ่ หรือหาทางออกโดยการเล่นกีฬา และทางาน
อดิเรกที่ตนเองชอบ
4.2 ผู้ที่มีความจาเป็นต้องใช้สารระเหยในการประกอบอาชีพหรือทางาน ควรปฏิบัติตาม
ข้อแนะนาบนฉลาก และขณะที่ใช้สารระเหยควรใช้ผ้าปิดปากจมูก อยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก
หรืออยู่เหนือลม เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับสารระเหย
4.3 สาหรับพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง ควรหมั่นสังเกต และสอดส่องดูแลบุตรหลานอย่างใกล้ชิด
ด้วยการให้ความรัก ความเข้าใจ ตลอดจนให้เวลาแก่บุตรหลานของตนเองอย่างเพียงพอ หากพบผู้ใดติด
121
สารระเหย ไม่ควรกระทาการรุนแรง ควรรีบหาสาเหตุ และแก้ไข โดยปรึกษาแพทย์ และนาไป
บาบัดรักษาในสถานพยาบาลที่เหมาะสมต่อไป
5. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารระเหย
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสารระเหยนั้น คือผลิตภัณฑ์ที่มีสารเคมีที่กฎหมายกาหนดให้เป็น
สารระเหยเป็นส่วนประกอบอยู่ในผลิตภัณฑ์ พบมาในทางอุตสาหกรรม อาทิ
- ทินเนอร์ แลคเกอร์
- น้ายาทาเล็บ น้ายาล้างเล็บ และเครื่องสาอางบางประเภท
- ตัวทาละลายในอุตสาหกรรมผลิตสี
- น้ามันไฟแช็ก น้ายาทาความสะอาด
- กาว อุตสาหกรรมทายาง อุตสาหกรรมทาพลาสติก
- สารแต่งกลิ่นบางชนิด ฯลฯ
โดยผลิตภัณฑ์บางตัว ได้แก่ ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวอินทรีย์สังเคราะห์ กาวอินทรีย์ธรรมชาติ
และลูกโป่งวิทยาศาสตร์ ถูกนาไปใช้ในทางที่ผิดกันมาก ดังนั้นกฎหมาย จึงระบุให้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็น
ผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิต/ผู้นาเข้าและผู้จาหน่ายต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระราชกาหนดป้องกันการใช้สาร
ระเหย พ.ศ. 2533
6. บทลงโทษผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย (สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2558)
สารระเหยมีอันตรายต่อผู้บริโภค ดังนั้นกฎหมายจึงกาหนดบทลงโทษสาหรับผู้ที่กระทาผิด
และฝ่าฝืนกฎหมาย มีดังนี้
6.1 ผู้ผลิตสารระเหยต้องจัดให้มีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่
บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหยดังกล่าว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และ
เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
6.2 ผู้นาเข้าสารระเหยก่อนนาออกขาย ต้องจัดให้มีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะ
บรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหยดังกล่าว ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
6.3 สารระเหยที่ผู้ขายจะขายนั้นต้องมีภาพ เครื่องหมายหรือข้อความที่ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าได้
จัดให้มีที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุ อยู่ครบถ้วน
บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
6.4 ห้ามมิให้ผู้ใดขายสารระเหยแก่ผู้ที่มีอายุไม่เกิน 17 ปีเว้นแต่เป็นการขายโดยสถานศึกษา
เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
122
บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
6.5 ห้ามมิให้ผู้ใดขาย จัดหา หรือให้สารระเหยแก่ผู้ซึ่งตนรู้หรือควรรู้ว่าเป็นผู้ติดสารระเหย
บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
6.6 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้สารระเหยบาบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม
หรือวิธีอื่นใด
บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
6.7 ห้ามมิให้ผู้ใดจูงใจ ชักนา ยุยงส่งเสริม หรือใช้อุบาย หลอกลวงให้บุคคลอื่นใช้สารระเหย
บาบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรือวิธีอื่นใด
บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
บทสรุป
สารเสพติด และสารระเหย เป็นสารที่เมื่อเสพหรือสูดดมเข้าไปแล้วจะทาให้มีอาการเสพติด
และมีความต้องการเสพในปริมาณที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นผู้บริโภคจึงควรระมัดระวังในการใช้ผลิตภัณฑ์
สุขภาพกลุ่มนี้ เพราะอาจมีการใช้ผิดวิธี จนทาให้เกิดการเสพติดโดยไม่รู้ตัว เพราะสารเสพติดบาง
ประเภทมีการนามาใช้เป็นยาเพื่อการรักษาโรคในทางการแพทย์และสาธารณสุข เช่น ยาแก้ไอ ยาแก้
ปวด ยาแก้ท้องเสีย เป็นต้น ทั้งนี้รวมไปถึงสารระเหยที่นามาใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง เด็กและเยาวชน
จานวนมากที่หลงผิดหันไปลองสูดดมสารระเหย และเกิดภาวะเสพติดเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพราะสาร
ระเหยมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย โทษที่เกิดกับผู้เสพที่สูดดมสารระเหย มีทั้งพิษเฉียบพลัน หมดสติ หัว
ใจเต้นเร็วผิดจังหวะและอาจหัวใจวาย และพิษเรื้อรัง ทาให้ระบบอวัยวะต่างๆ อาทิ ทางเดินหายใจ
หัวใจ โลหิต และระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ เสื่อมสภาพลง อาการที่เกิดขึ้น เช่น ชาตามมือ ปลายเท้า เกร็ด
เลือดต่า บางรายอาจเกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาวได้
ดังนั้นผู้บริโภคจึงต้องรู้จักป้องกันตนเอง โดยการหาความรู้เกี่ยวกับสารระเหย อย่าหลงเชื่อคา
ชักชวนให้เสพ เมื่อมีปัญหาควรใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหา ปรึกษาผู้ใหญ่ หรือหาทางออกโดยการเล่น
กีฬา และทางานอดิเรก เป็นต้น ส่วนผู้ที่จาเป็นต้องใช้สารระเหยในการประกอบอาชีพ ต้องปฏิบัติตาม
ข้อแนะนาบนฉลาก และขณะที่ใช้สารระเหยควรใช้ผ้าปิดปากจมูก อยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก
หรืออยู่เหนือลม เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับสารระเหย สาหรับพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง ควรหมั่นสังเกต
และสอดส่องดูแลบุตรหลานอย่างใกล้ชิด ด้วยการให้ความรัก ความเข้าใจ ตลอดจนให้เวลาแก่บุตรหลาน
ของตนเองอย่างเพียงพอ หากพบผู้ใดติดสารระเหย ไม่ควรกระทาการรุนแรง ควรรีบหาสาเหตุ และ
แก้ไข โดยปรึกษาแพทย์ และนาไปบาบัดรักษาในสถานพยาบาลที่เหมาะสมต่อไป
123
คาถามท้ายบทที่ 7
1. สารเสพติดประเภทใดที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์และสาธารณสุข
2. จงบอกแนวทางการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด
3. สารละเหยมีความแตกต่างจากยาเสพติดให้โทษอย่างไร
4. สารระเหยมีกี่ประเภทอะไรบ้าง
5. จงยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารระเหยในชีวิตประจาวัน
6. จงบอกวิธีป้องกันการติดสารระเหย
124
เอกสารอ้างอิง
พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.fda.moph.go.th [24 พฤศจิกายน 2558].
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2528 [ออนไลน์].
แหล่งที่มา http://narcotic.fda.moph.go.th/welcome/ [24 พฤศจิกายน 2558].
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2554). เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภค
ทางสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 8. นนทบุรี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2558). พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 แก้ไข
โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 พ.ศ.
2542 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 (ฉบับ
ที่ 2 พ.ศ. 2543) และแก้ไขเพิ่มเติม พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533
(ฉบับที่ 3 พ.ศ.2550) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://elib.fda.moph.go.th [29 พฤศจิกายน
2558].
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2544). งานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพประจาปี
2544 เรื่อง อย. กับงาน คบส. ในยุคปฏิรูประบบสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร : สานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา.
. (2546). กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง
“สารระเหยอันตราย.” ปรับปรุงครั้งที่ 1 (โรเนียว) มปท.
. (2557). กองควบคุมวัตถุเสพติด. บทกาหนดโทษตามพระราช
กาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/addict/lawTable3.html [29
พฤศจิกายน 2558].
. (2558). กองควบคุมวัตถุเสพติด. สารระเหย. [ออนไลน์].
แหล่งที่มา : http://narcotic.fda.moph.go.th/welcome/?p=6444 [29 พฤศจิกายน
2558].

More Related Content

What's hot

งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดIce Ice
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษพัน พัน
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดN'Name Phuthiphong
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดPear Pimnipa
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดJettanut Poonlaptavee
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดพัน พัน
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดsarawut chaicharoen
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดchueng
 

What's hot (15)

ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 

Similar to บทที่ 7

4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacyatit604
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ PseudoephedrineSurang Judistprasert
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจsaranyu sosing
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจsaranyu sosing
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายGawewat Dechaapinun
 
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.Utai Sukviwatsirikul
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
2562 final-project .dede
2562 final-project .dede2562 final-project .dede
2562 final-project .dedekanokwanintra1
 

Similar to บทที่ 7 (18)

บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
Newya
NewyaNewya
Newya
 
Work
WorkWork
Work
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
บท4กฎหมาย
บท4กฎหมายบท4กฎหมาย
บท4กฎหมาย
 
คำถาม PH law group 6
คำถาม PH law group 6คำถาม PH law group 6
คำถาม PH law group 6
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมาย
 
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
 
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้ารวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
2562 final-project .dede
2562 final-project .dede2562 final-project .dede
2562 final-project .dede
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

บทที่ 7

  • 1. บทที่ 7 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด และสารระเหย มนุษย์ได้เกี่ยวข้องกับสารเสพติดมาเป็นเวลาช้านาน โดยข้อมูลในประวัติศาสตร์พบว่ามนุษย์ได้ นาสารเสพติดจากธรรมชาติมาใช้เป็นยาในการรักษาการเจ็บป่วย ซึ่งสารเสพติดมีทั้งคุณประโยชน์และ โทษภัยเช่นกัน โดยในประเทศไทย สารเสพติดบางชนิดมีการนามาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์และ สาธารณสุข ในขณะที่ปัจจุบันมีการนาสารเสพติดมาใช้ในทางที่ผิดวัตถุประสงค์ และไม่ถูกต้องตาม กฎหมาย จึงก่อให้เกิดปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด และเกิดผลกระทบทาให้เกิดปัญหา อาชญากรรมตามมา ดังที่พบเห็นเป็นข่าวในสื่อต่างๆ สารเสพติด 1. ความหมายของสารเสพติด ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะ โดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะ สาคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งทาง ร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืช หรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและ สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ไม่ หมายความถึงยาสามัญประจาบ้านบางตารับตามกฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่ (พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ, 2528) จากความหมายข้างต้น ยาเสพติดให้โทษจึงเป็นสารหรือวัตถุที่ทาให้เกิดผลต่อร่างกาย และจิตใจในลักษณะสาคัญ ดังนี้ คือ 1.1 ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากอาการดื้อต่อฤทธิ์สารเสพติดของร่างกาย 1.2 มีความต้องการเสพทางร่างกาย คือเป็นอาการพึ่งยาทางร่างกาย จากการที่ใช้ยาเป็น ประจา เป็นระยะเวลานาน เมื่อหยุดเสพจะมีอาการที่ผิดปกติของร่างกายอันเนื่องมาจากการขาดยา 1.3 มีความต้องการเสพทางใจ คือเป็นอาการติดและต้องพึ่งยาทางจิตใจ 1.4 มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีลักษณะที่แสดงอาการหลายอย่างประกอบกันทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ เป็นลักษณะเฉพาะสาหรับสารเสพติดในแต่ละตัว 2. ประเภทของสารเสพติด การจัดประเภทของสารเสพติด โดยทั่วไปใช้หลักการควบคุม และผลเสียต่อสุขภาพมาใช้เป็น แนวทางในการพิจารณา คือ ประโยชน์จากฤทธิ์ของสารเสพติดต่อการรักษาโรค และ สารเสพติดนั้นทา ให้เกิดความเสี่ยงต่อการเสพติดมากน้อยเพียงใด ซึ่งตามกฎหมายในประเทศไทย ได้แบ่งประเภทของ ยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ คือ 2.1 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 1 เป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ไม่มีประโยชน์ทาง การแพทย์ ห้ามผลิต ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครอง เช่น เฮโรอีน (Heroin)
  • 2. 114 2.2 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 2 เป็นยาเสพติดให้โทษทั่วไป มีประโยชน์ทางการแพทย์ การผลิต นาเข้า จัดหาได้เฉพาะสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และจาหน่ายให้แก่ผู้มีใบอนุญาต จาหน่าย หรืออนุญาตให้มีไว้ในครอบครองเท่านั้น เช่น มอร์ฟีน (Morphine) โคคาอีน (Cocaine) โคเดอีน (Codeine) ฝิ่นยา (Medicinal Opium) ซึ่งหมายรวมถึง ฝิ่นที่ได้ผ่านกรรมวิธีปรุงแต่ง โดยมี ความมุ่งหมายเพื่อใช้ในทางยา 2.3 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 3 เป็นยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นตารับยา และที่มียา เสพติดให้โทษในประเภท 2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจา นุเบกษา (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 95 (พ.ศ.2531) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับยาเสพ ติดให้โทษประเภท 3) ซึ่งต้องได้รับใบสาคัญการขึ้นทะเบียนก่อนจึงจะผลิต หรือนาเข้า หรือจาหน่ายได้ เช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน (Codeine Cough Syrup) เป็นส่วนผสม ยาแก้ปวดที่มีโคเดอีนเป็นส่วนผสม ยาแก้ไอที่มีฝิ่นเป็นส่วนผสม ยาแก้ท้องเสียที่มีดีฟีโนซิเลทเป็นส่วนผสม (Diphenoxylate) เป็นต้น 2.4 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 4 เป็นสารตั้งต้นที่นาไปใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภท 1 หรือประเภท 2 ได้ แต่มีประโยชน์ในทางการแพทย์ อุตสาหกรรม หรือวิทยาศาสตร์ เช่น ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งแปรรูป ผลิตสี ผลิตเม็ดพลาสติก ผลิตยา ใช้เป็นสารทดสอบ ในห้องปฏิบัติการ การมีสารประเภทนี้ไว้ใช้ประโยชน์ จะต้องได้รับอนุญาตมีไว้ในครอบครองเท่านั้น ตัวอย่าง เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride) 2.5 ยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่ไม่ได้อยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 ส่วนใหญ่จะเป็นพืชที่ทาให้เกิดสารเสพติดได้ ซึ่งมีดังต่อไปนี้ คือ กัญชา พืชกระท่อม พืชฝิ่น และ เห็ดขี้ควาย 3. ประโยชน์ของสารเสพติด เมื่อกล่าวถึงสารเสพติด ส่วนใหญ่จะทราบถึงผลเสียที่มีโทษและพิษภัยเท่านั้น จะไม่ทราบถึง ประโยชน์ แต่ความจริงแล้วสารเสพติดก็มีประโยชน์ในทางการแพทย์และสาธารณสุขด้วยเช่นกัน หากแต่ต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง เพราะถ้าใช้ไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดอันตรายได้ และที่สาคัญนั้น มีสาร เสพติดบางประเภทเท่านั้นที่มีประโยชน์ หรืออาจกล่าวได้ว่าสารเสพติดส่วนน้อยเท่านั้นที่ให้ประโยชน์ใน การรักษาโรค ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่มีพิษภัยอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น ดังนั้นจึงขอนาเสนอข้อมูลด้านประโยชน์ของสารเสพติดในทางการแพทย์ เพราะนอกจาก วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่ให้ผลในทางการแพทย์แล้ว สารเสพติดให้โทษบางชนิดก็มีประโยชน์ ทางการแพทย์เช่นเดียวกัน โดยจะแตกต่างกันไปแต่ละชนิด เช่น สมัยโบราณที่ยังไม่มีความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีการผลิตยา ก็มีการใช้ฝิ่นเป็นยาแก้ปวด ยากล่อมประสาท ไปจนถึงผสมให้เจือจางเป็นยาแก้ ท้องเสีย ซึ่งปัจจุบันก็ยังพบว่ามีการใช้ฝิ่นเป็นส่วนผสมในยาแก้ท้องเสียอยู่แม้แต่ในตารับยาสามัญประจา บ้าน นอกจากนี้แล้วยังมีการใช้สารสังเคราะห์ที่ได้จากฝิ่น คือ มอร์ฟีน เพื่อเป็นยาฉีด ระงับอาการปวดที่ รุนแรง ที่ยาแก้ปวดทั่วไปไม่สามารถระงับอาการได้ เช่น อาการปวดรุนแรงหลังจากการผ่าตัด อาการ ปวดจากโรคมะเร็ง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วก็มีการใช้ โคเดอีนเป็นส่วนผสมของตัวยาในยาแก้ไอ อะโทรปีนซัลเฟดใช้เป็นยาขยายม่านตา และไดเฟนอกไซใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย เป็นต้น
  • 3. 115 4. บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติด 4.1 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน, แอลเอสดี, แอมเฟตามีนและอนุพันธ์ ทั้งสิ้น 15 ชนิด เป็นต้น ตัวที่สาคัญ คือ เมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า), เมทิลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน หรือ MDMA (ยาอี)และเมทิลีนไดออกซีแอมเฟตามีน หรือ MDA (ยาเลิฟ) เนื่องจากกาลังแพร่ระบาด อย่างรุนแรงในปัจจุบัน มีบทลงโทษสูงสุดสาหรับผู้เสพ ผู้จาหน่าย ผู้ครอบครอง นาเข้าและส่งออก ยาเสพติดให้โทษประเภทนี้ไม่ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แต่อย่างใด บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 1 คือ ผู้ใดผลิต นาเข้า หรือส่งออกซึ่งยา เสพติดให้โทษในประเภท 1 ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็น การกระทาเพื่อจาหน่ายต้องระวางโทษประหารชีวิต 4.2 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 2 เช่น ฝิ่น, มอร์ฟีน, โคเคนและใบโคคา, โคเดอีน และเม ทาโดนเป็นต้น ยาเสพติดให้โทษประเภทนี้สามารถนามาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่มีโทษมาก ดังนั้นต้องใช้ภายใต้ความควบคุมของแพทย์ และใช้ในเฉพาะกรณีที่จาเป็นเท่านั้น บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 2 มีดังนี้ 4.2.1 ผู้ใดผลิต นาเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็นการฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1 - 10 ปีและปรับตั้งแต่ 10,000 – 100,000 บาท 4.2.2 ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทาความผิดเป็นมอร์ฟีนหรือโคคาอีน ผู้ นั้นต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 20 ปีถึงจาคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่ 200,000 – 500,000 บาท 4.2.3 มาตรา 69 ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็นการฝ่า ฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปีและปรับไม่เกิน 50,000 บาท ผู้ใดจาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครอง เพื่อจาหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็น การฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1 - 10 ปี และปรับตั้งแต่ 10,000 – 100,000 บาท 4.3 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 3 เช่น ยาแก้ไอ เข้าฝิ่น ห้ามผลิต จาหน่าย นาเข้า หรือ ส่งออกนอกจากได้รับอนุญาตโดยขออนุญาตเป็นครั้งๆไป ห้ามโฆษณาเพื่อการค้านอกจากกระทา โดยตรงต่อผู้อนุญาต บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 3 มีดังนี้ 4.3.1 ผู้ผลิต, นาเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปีและปรับไม่เกิน 30,000 บาทหรือทั้งจาทั้งปรับ 4.3.2 ผู้จาหน่ายหรือส่งออก โดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี และ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 4.3.3 ผู้นาเข้าหรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน และ ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 4.3.4 ผู้ได้รับอนุญาตนาไปใช้กระทาผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปีและปรับไม่เกิน 50,000 บาท 4.4 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 4 เป็นสารเคมีที่ใช้ผลิตสารเสพติดประเภทที่ 1 และ 2 ห้ามผลิตจาหน่าย นาเข้า หรือส่งออก ครอบครองหรือจาหน่าย นอกจากได้รับอนุญาต โดยหน่วยงาน ของทางราชการ
  • 4. 116 บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 4 มีดังนี้ 4.4.1 ผู้ผลิต, นาเข้าหรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุก 1 ปี – 10 ปี และปรับตั้งแต่ 10,000 – 100,000 บาท 4.4.2 ผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท 4.4.3 ผู้ครอบครองเพื่อจาหน่าย ต้องระวางโทษจาคุก 1 ปี – 10 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 – 100,000 บาท (การครอบครองตั้งแต่ 10 กิโลกรัมขึ้นไป ถือว่าเพื่อจาหน่าย) 4.5 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดอื่นๆ เช่นกัญชา และพืชกระท่อม ห้ามผลิต, นาเข้า หรือส่งออก ครอบครองหรือจาหน่าย นอกจากได้รับอนุญาต โดยหน่วยงานของทางราชการ บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมายยาเสพติดประเภทที่ 5 มีดังนี้ 4.5.1 ผู้ผลิต, นาเข้า หรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุก 2 ปี- 15 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 – 150,000 บาท 4.5.2 ถ้าเป็นพืชกระท่อม ผู้ผลิต, นาเข้าหรือส่งออกโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท สาหรับผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท 4.5.3 ถ้าเป็นพืชกระท่อม ผู้ครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ สาหรับผู้ครอบครองเพื่อจาหน่าย ต้องระวางโทษจาคุก 2 ปี– 5 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 – 150,000 บาท 4.5.4 ถ้าเป็นพืชกระท่อมผู้ครอบครองเพื่อจาหน่าย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000 บาท (การครอบครองตั้งแต่10 กิโลกรัม ขึ้นไป ถือว่าเพื่อจาหน่าย) ผู้เสพ ต้อง ระวางโทษจาคุก ไม่เกิน 1 ปีและปรับไม่เกิน 10,000 บาท ถ้าเป็นพืชกระท่อม ผู้เสพ ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 1 เดือน แนวทางการดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด สารเสพติด กฎหมายกาหนดให้ไม่สามารถจาหน่ายทั่วไป จะนามาใช้เฉพาะทางการแพทย์ เพื่อ การบาบัดรักษาโรคบางโรคเท่านั้น หากผู้บริโภคไม่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง บริโภคโดยไม่อยู่ในการ ดูแลของแพทย์หรือเภสัชกร จะส่งผลกระทบที่รุนแรงและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ ซึ่งแนวทางการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด มีดังนี้ คือ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554) 1. การปราบปรามและสกัดกั้นการค้าสารเสพติด ดาเนินการปลูกพืชทดแทนและควบคุมการปลูกฝิ่น รวมถึงปราบปรามมิให้มีการผลิต การ ลักลอบค้าสารเสพติดทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือประชาชนทั่วไปที่จะให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่การปราบปราม 2. การเพิ่มมาตรการควบคุมตามกฎหมาย ดาเนินการควบคุมการใช้สารเสพติดในทางการแพทย์ให้อยู่ในปริมาณที่พอเหมาะพอควรมิ ให้มีการใช้สารเสพติดฟุ่มเฟือยเกินความจาเป็น หรือหลุดลอดออกไปนอกระบบ อันเป็นสาเหตุให้มีการ แพร่ระบาดต่อไปได้
  • 5. 117 3. การบาบัดรักษาผู้ติดสารเสพติด เป็นการช่วยเหลือให้ผู้ติดสารเสพติดเลิกจาการเสพ และปรับสภาพร่างกายให้กลับคืนมาสู่ ภาวะปกติ กลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข กระบวนการบาบัดรักษาต้องใช้วิธีการรักษาทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ เพื่อฟื้นฟูสภาพของผู้ติดสารเสพติดให้พร้อมที่จะอยู่ในสังคมอย่างเข้มแข็ง และไม่หวน กลับไปติดสารเสพติดอีกครั้ง 4. การป้องกันการติดสารเสพติด เป็นมาตรการที่สาคัญมาก เพราะการป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นย่อมดีกว่าการแก้ไขปัญหา ถ้าเราสามารถป้องกันบุคคลไม่ให้ใช้ติดสารเสพติด ปัญหาด้านอื่นๆ เช่น ปัญหาการปราบปราม ปัญหา อาชญากรรมก็จะลดลงไปด้วย ซึ่งการดาเนินงานป้องกันการติดสารเสพติดจะต้องพัฒนาบุคคลให้มี ภูมิคุ้มกัน มีความเข้มแข็ง สามารถเผชิญกับสภาพความกดดันของสิ่งแวดล้อมที่ยุ่งยากซับซ้อนของสังคม ปัจจุบัน ให้ความรู้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการดาเนินชีวิต โดยไม่จาเป็นจะต้องพึ่งสารเสพติด ให้ความรู้ ความเข้าในที่ถูกต้องเกี่ยวกับพิษภัยของสารเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันให้เกิดขึ้นกับตัวบุคคล โดย ส่งเสริมให้เกิดความนับถือตนเอง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ส่งเสริมให้มีความมุ่งมั่นและมีเป้าหมายในชีวิต ส่งเสริมการเคารพสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น พัฒนาทักษะส่วนบุคคลและทักษะสังคม การใช้เหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ทางานเป็นทีมและการช่วยเหลือผู้อื่น 5. การส่งเสริมสถาบันครอบครัว ครอบครัวเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสังคม เป็นสถาบันทางสังคมในการเริ่มต้นชีวิตของทุกคน ถ้าครอบครัวอบอุ่น มีความเข้าใจ แม้ฐานะจะยากจนก็ไม่เป็นปัจจัยส่งเสริมต่อการติดสารเสพติด หาก ครอบครัวมีความเข้มแข็ง ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครองควรทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับบุตร ให้คาปรึกษากับ บุตรเมื่อเกิดปัญหา และส่งเสริมการศึกษาของบุตรเท่าที่จะมีกาลังความสามารถ และที่สาคัญที่สุดคือ การให้ความรัก ความเข้าใจ ความอบอุ่นแก่ลูก สารระเหย ปัจจุบันได้มีการนาสารระเหย หรือวัตถุ หรือผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่มีสารระเหยผสม หรือ เจือปนอยู่ ซึ่งผลิตขึ้นเพื่อใช้ในทางอุตสาหกรรม หรือทางอื่น ไปใช้สูด ดม หรือวิธีอื่นใด อันก่อให้เกิด อันตรายอย่างมากแก่ผู้สูดดม โดยเฉพาะเยาวชน ประกอบกับยังไม่มีกฎหมายบังคับ จึงสมควรที่จะ ดาเนินการป้องกันการใช้สารระเหยไปในทางที่ไม่ถูกต้อง และโดยที่เป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็น รีบด่วนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยสาธารณะ จึงมีการประกาศใช้ พระราชกาหนดป้องกันการใช้สาร ระเหย ขึ้น 1. ความหมายของสารระเหย สารระเหย หมายความว่า (สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2558) สารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมประกาศว่าเป็นสาร ระเหย เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวยาง และลูกโป่งวิทยาศาสตร์รวมถึงตัวทาละลายในผลิตภัณฑ์นานา ชนิด เช่น สีพ่น กาววิทยาศาสตร์ น้ายาล้างเล็บ น้ายาลบคาผิด สารระเหย คือ สารประกอบอินทรีย์เคมีประเภทไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon) ที่ได้มาจาก น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติเป็นสารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมิปกติ ลักษณะทางกายภาพ
  • 6. 118 สารระเหยเกือบทุกชนิดเป็นของเหลว มีกลิ่นเฉพาะตัว หรือกลิ่นหอม ระเหยได้ดี มีความหนืดต่าค่าแรง ตึงผิวต่า บางตัวติดไฟ ได้ เช่น Toluene, Ethyl Acetate, Acetone และ Methyl Ethyl Ketone เป็น ต้น ส่วนมากมักไม่มีสีใส ไม่มีตะกอน ค่าความดันไอต่อละลายในน้าได้ไม่ดี แต่มีคุณสมบัติละลายได้ดีใน ไขมัน ลักษณะของสารระเหย คือ เป็นสารเคมีที่ระเหยได้ง่าย มีลักษณะเป็นไอ ระเหยได้ในอากาศ และมีคุณสมบัติในการทาลายและใช้ในการอุตสาหกรรม เช่น ทินเนอร์ แอลกอฮอล์ กาว ฯลฯ เรานา สารระเหยมาใช้เป็นส่วนผสมในสีสเปรย์ น้ายาล้างเล็บ กาวยางน้า ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ที่มีส่วนผสมของสารระเหยไม่ใช่สารเสพติดแต่อย่างใด เป็นสิ่งที่มนุษย์ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ ในเชิงอุตสาหกรรม แต่ที่กลับกลายมาเป็นปัญหาเพราะคนนามาใช้ในทางที่ผิด จงใจสูดดมให้เกิดอาการ มึนเมาจนติด เกิดโทษพิษภัยอย่างมหันต์ เด็กและเยาวชนจานวนมากที่หลงผิดหันไปลองสูดดมสาร ระเหย และเกิดภาวะเสพติดเป็นอันตรายต่อสุขภาพ คุณสมบัติของสารระเหย เนื่องจากสารระเหยมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย พกพาสะดวก ออกฤทธิ์ เร็ว และ ช่วยให้ผู้เสพเคลิบเคลิ้ม เป็นสุข ร่าเริง ลืมความทุกข์ ซึ่งเป็นอาการที่เกิดขึ้นในระยะแรกๆ ของ การเสพสารระเหย ทาให้ผู้เสพตัดสินใจเสพสารระเหยง่ายขึ้น อาการผู้เสพ ผู้เสพสารระเหยในระยะแรกจะรู้สึกเคลิบเคลิ้มเป็นสุข ร่าเริง ศีรษะเบาหวิว ตื่นเต้น หลังจากนั้นจะมีอาการคล้ายคนเมาเหล้า ควบคุมตนเองไม่ได้ เดินโซเซ ตาพร่ามัว น้าลายไหล มาก ถ้ายังสูดดมต่อไปอีกจะง่วงนอน ซึม และหมดสติในที่สุด ผู้ติดสารระเหย หมายความว่า ผู้ซึ่งต้องใช้สารระเหยบาบัดความต้องการของร่างกาย หรือ จิตใจเป็นประจาโดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นว่านั้นได้ตามหลักวิชาการ โทษของการเสพติดสารระเหย ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณการเสพ ประวัติการใช้ยาของผู้ เสพ วิธีการเสพ ความแข็งแรงและภูมิต้านทานของร่างกาย ตลอดจนชนิดของเคมีภัณฑ์ที่ใช้ผสมในสาร ระเหย ที่ผู้เสพสูดดม โดยพิษที่เกิดขึ้นแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 พิษเฉียบพลัน หลังจากเกิดอาการเคลิ้มเป็นสุข ร่าเริง ตื่นเต้น ต่อมาจะมึนงง พูดจา อ้อแอ้ ควบคุมตัวเองไม่ได้ จากนั้นจะคลื่นไส้ อาเจียน หายใจถี่เบาและเร็ว ประสาทหลอน หากสูดดมใน ปริมาณมากอาจชักหมดสติ หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะและอาจหัวใจวาย หรือสารระเหยอาจกดศูนย์หายใจ ทาให้ตายได้ ระยะที่ 2 พิษเรื้อรัง การสูดดมติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้ระบบอวัยวะต่างๆ อาทิ ระบบ ประสาทส่วนกลาง ประสาทส่วนปลาย กล้ามเนื้อ ทางเดินหายใจ หัวใจ โลหิต และระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ เสื่อมสภาพลง อาการที่เกิดขึ้น เช่น - อาการทางระบบประสาท โดยทาให้เกิดอาการวิงเวียน เดินโซเซ ลูกตาแกว่ง พูด ลาบาก มือสั่น ตัวสั่น เซื่องซึม ความคิดอ่านช้าลง หลงลืม สับสน นิสัยและอารมณ์เปลี่ยนแปลง ความจา เสื่อม สมองฝ่อ การรับรู้ต่างๆ เช่น การได้กลิ่นผิดปกติ การมองเห็นอาจเห็นภาพซ้อน หรืออาจเกิด อาการปลายประสาทอักเสบ ชาตามมือ ปลายเท้า - อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ทาให้จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ กดการ ทางานของไขกระดูกทาให้เม็ดเลือดแดงต่า เกร็ดเลือดต่า เลือดออกง่าย อ่อนเพลีย บางรายอาจเกิด มะเร็งในเม็ดเลือดขาวได้
  • 7. 119 - อาการทางระบบทางเดินหายใจ อาจเกิดอาการระคายเคือง จนถึงอักเสบตั้งแต่ปลาย จมูกจนถึงหลอดลม ปอด ถุงลม อาจเกิดอาการน้าคั่งในปอด มีเลือดออกในถุงลม - อาการทางระบบทางเดินอาหาร ทาให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน เบื่ออาหาร น้าหนักลด บางรายพบเลือดออกในกระเพาะอาหาร นอกจากนี้ยังพบว่ามีการทาลายเนื้อเยื่อ ของตับเป็นหย่อมๆ ตับโต ตับและไตอักเสบ บางรายปัสสาวะเป็นเลือด - อาการทางระบบกล้ามเนื้อ ทาให้กล้ามเนื้อลีบ จนถึงเป็นอัมพาตได้ - ระบบสืบพันธุ์ เกิดการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม ซึ่งมีหน้าที่ ถ่ายทอดทาง พันธุกรรม จึงอาจลดการสร้างอสุจิ ผู้เสพสารระเหยจะเกิดการติดทางด้านจิตใจ นอกจากนี้แล้วการติดทางด้านร่างกาย ก็ อาจเกิดขึ้นได้ถ้าสูดดมสารระเหยประเภทที่มีแอลกอฮอล์เป็นส่วนประกอบเช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์ เป็น ต้น เมื่อไม่ได้เสพอาจเกิดอาการหงุดหงิด หาวนอน ปวดท้อง เหงื่ออกมาก คลื่นไส้ อาเจียน จาม คัดจมูก ปวดตามกล้ามเนื้อ ฟุ้งซ่าน น้าตาไหล ขนลุก ตะคริว นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย ปวดกระดูก เจ็บหน้าอก ซึ่งเป็นอาการที่เกิดจากการขาดยา (Withdrawal Symptoms) 2. ประเภทของสารระเหย เพื่อป้องกันการนาสารระเหยไปใช้ในทางที่ผิด สารระเหยตามกฎหมายในปัจจุบันมี 23 ชนิด แบ่งได้ 2 กลุ่ม ดังนี้ คือ (สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2558) 2.1 ผลิตภัณฑ์ที่มีสารระเหยเป็นส่วนประกอบ 5 ชนิด ได้แก่ 2.1.1 ทินเนอร์ (Thiners) แลคเกอร์ (Lacqures) 2.1.2 แลคเกอร์ (Lacquers) 2.1.3 กาวอินทรีย์สังเคราะห์ (Synthetic Organic Adhesive) ที่มียางนิโอปริน (Neoprene Based) หรือ สารกลุ่ม (Vinyl Resin Based) เป็นส่วนประกอบ 2.1.4 กาวอินทรีย์ธรรมชาติ (Natural Organic Adhesive) ที่มียางสนหรือชันสน (Resin) ยางธรรมชาติ (Natural Rubber หรือ Isoprene) หรือสารเซลลูโลส(Cellulose) เป็นตัวประสาน 2.1.5 ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ หรือลูกโป่งพลาสติก (Blowing Balloon) 2.2 สารระเหยที่เป็นสารเคมี 18 ชนิด ได้แก่ 2.2.1 โทลูอีน (Toluene) มีชื่อทางเคมีว่า Methylbenzene 2.2.2 อาซีโทน (Acetone) มีชื่อทางเคมีว่า Mropan-2-one 2.2.3 เมทิลเอทิลคีโทน(Methylethylketone)หรือเอ็มอีเค(MEK)มีชื่อทางเคมีว่าButan-2-one 2.2.4 เมทิลไอโซบิวทิลคีโทน (Methyl isobutyl ketone) หรือ เอ็มไอบีเค (MIBK) มีชื่อ ทางเคมีว่า 4-Methylpentan-2-One 2.2.5 เอทิลอาซีเทต (Ethyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Ethyl acetate 2.2.6 เซลโลโซล์ฟอาซีเทต (Cellosolve acetate) มีชื่อทางเคมีว่า 2-ethoxyethyl acetate 2.2.7 เมทิลอาซีเทต (Methyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Methyl acetate 2.2.8 นอร์มาลบิวทิลอาซีเทต (n-Butyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Butyl acetate 2.2.9 เซคันดารีบิวทิลอาซีเทต (sec-Butyl acetate) มีชื่อทางเคมีว่า Butan-2yl acetate 2.2.10 เอมิลไนไตรท์ (Amyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า 3-Methylbutyl nitrite
  • 8. 120 2.2.11 ไซโคลเฮ็กซิลไนไตรท์ (Cyclohexyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Cyclohexyl nitrite 2.2.12 เอทิลไนไตรท์ (Ethyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Ethyl nitrite 2.2.13 ไอโซ-บิวทิลไนโตร์ท (Isobutyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า 2-Methylpropyl nitrite 2.2.14 ไอโซโพรพิลไนไตรท์ (Isopropyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Propan-2-yl nitrite 2.2.15 นอร์มาล-บิวทิลไนโตร์ท (n-Butyl nitrite) มีชื่อทางเคมีว่า Butyl nitrite 2.2.16 บิลทิลเซลโลโซล์ฟ (Butyl cellosolve) มีชื่อทางเคมีว่า 2-Butoxyethanol 2.2.17 เซลโลโซล์ฟ (Cellosolve)(Butyl cellosolve) มีชื่อทางเคมีว่า 2-Ethoxyethanol 2.2.18 เมทิลเซลโลโซล์ฟ (Methyl cellosolve) ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า 2-Methoxyethanol 3. การแสดงฉลากของสารระเหย (สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2558) จากการที่ผู้บริโภคมีสิทธิ์ที่จะรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและเพียงพอ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ฉลากผลิตภัณฑ์จึงเสมือนสื่อกลางที่ช่วยสื่อสารให้ผู้บริโภครับทราบถึงข้อมูลสาคัญที่เป็นประโยชน์ต่อ ตนเอง ดังนั้น ผู้ผลิตและผู้นาเข้าสารระเหย จึงต้องจัดให้มีภาพ/เครื่องหมาย/ข้อความที่ภาชนะบรรจุ หรือหีบห่อบรรจุสารระเหยตามที่กฎหมายกาหนด ดังนี้ 3.1 คาว่า “สารระเหย” ให้ใช้ตัวอักษรสีแดงบนพื้นขาว 3.2 ชื่อและสถานที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้นาเข้า แล้วแต่กรณี 3.3 ปริมาณที่บรรจุเป็นระบบเมตริก 3.4 ชื่อทางเคมีและอัตราส่วนของสารผสมทั้งหมดในสารระเหย 3.5 วิธีใช้และวิธีเก็บรักษา 3.6 คาว่า “คาเตือน ห้ามสูดดมเป็นอันตรายต่อชีวิต” ให้ใช้ตัวอักษรสีแดงบนพื้นขาว สาหรับสารระเหยที่บรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่มีขนาดบรรจุเกิน 550 มิลลิลิตร หรือ 550 กรัม หากมีการจัดภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขแห่งกฎหมายอื่นแล้ว ก่อนนาออกขายผู้ผลิต หรือนาเข้าสารระเหย จะไม่จัดให้มีข้อความที่ ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย ตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงแห่งพระราชกาหนดป้องกัน การใช้สารระเหย พ.ศ. 2553 ก็ได้ 4. การป้องกันการติดสารระเหย 4.1 รู้จักป้องกันตนเอง โดยการหาความรู้เกี่ยวกับสารระเหย อย่าหลงเชื่อคาชักชวนให้เสพ เมื่อมีปัญหาควรใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหา ปรึกษาผู้ใหญ่ หรือหาทางออกโดยการเล่นกีฬา และทางาน อดิเรกที่ตนเองชอบ 4.2 ผู้ที่มีความจาเป็นต้องใช้สารระเหยในการประกอบอาชีพหรือทางาน ควรปฏิบัติตาม ข้อแนะนาบนฉลาก และขณะที่ใช้สารระเหยควรใช้ผ้าปิดปากจมูก อยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก หรืออยู่เหนือลม เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับสารระเหย 4.3 สาหรับพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง ควรหมั่นสังเกต และสอดส่องดูแลบุตรหลานอย่างใกล้ชิด ด้วยการให้ความรัก ความเข้าใจ ตลอดจนให้เวลาแก่บุตรหลานของตนเองอย่างเพียงพอ หากพบผู้ใดติด
  • 9. 121 สารระเหย ไม่ควรกระทาการรุนแรง ควรรีบหาสาเหตุ และแก้ไข โดยปรึกษาแพทย์ และนาไป บาบัดรักษาในสถานพยาบาลที่เหมาะสมต่อไป 5. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารระเหย ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสารระเหยนั้น คือผลิตภัณฑ์ที่มีสารเคมีที่กฎหมายกาหนดให้เป็น สารระเหยเป็นส่วนประกอบอยู่ในผลิตภัณฑ์ พบมาในทางอุตสาหกรรม อาทิ - ทินเนอร์ แลคเกอร์ - น้ายาทาเล็บ น้ายาล้างเล็บ และเครื่องสาอางบางประเภท - ตัวทาละลายในอุตสาหกรรมผลิตสี - น้ามันไฟแช็ก น้ายาทาความสะอาด - กาว อุตสาหกรรมทายาง อุตสาหกรรมทาพลาสติก - สารแต่งกลิ่นบางชนิด ฯลฯ โดยผลิตภัณฑ์บางตัว ได้แก่ ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวอินทรีย์สังเคราะห์ กาวอินทรีย์ธรรมชาติ และลูกโป่งวิทยาศาสตร์ ถูกนาไปใช้ในทางที่ผิดกันมาก ดังนั้นกฎหมาย จึงระบุให้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิต/ผู้นาเข้าและผู้จาหน่ายต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระราชกาหนดป้องกันการใช้สาร ระเหย พ.ศ. 2533 6. บทลงโทษผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย (สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2558) สารระเหยมีอันตรายต่อผู้บริโภค ดังนั้นกฎหมายจึงกาหนดบทลงโทษสาหรับผู้ที่กระทาผิด และฝ่าฝืนกฎหมาย มีดังนี้ 6.1 ผู้ผลิตสารระเหยต้องจัดให้มีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่ บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหยดังกล่าว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และ เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 6.2 ผู้นาเข้าสารระเหยก่อนนาออกขาย ต้องจัดให้มีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะ บรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหยดังกล่าว ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 6.3 สารระเหยที่ผู้ขายจะขายนั้นต้องมีภาพ เครื่องหมายหรือข้อความที่ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าได้ จัดให้มีที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุ อยู่ครบถ้วน บทลงโทษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 6.4 ห้ามมิให้ผู้ใดขายสารระเหยแก่ผู้ที่มีอายุไม่เกิน 17 ปีเว้นแต่เป็นการขายโดยสถานศึกษา เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
  • 10. 122 บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้ง จาทั้งปรับ 6.5 ห้ามมิให้ผู้ใดขาย จัดหา หรือให้สารระเหยแก่ผู้ซึ่งตนรู้หรือควรรู้ว่าเป็นผู้ติดสารระเหย บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้ง จาทั้งปรับ 6.6 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้สารระเหยบาบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรือวิธีอื่นใด บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้ง จาทั้งปรับ 6.7 ห้ามมิให้ผู้ใดจูงใจ ชักนา ยุยงส่งเสริม หรือใช้อุบาย หลอกลวงให้บุคคลอื่นใช้สารระเหย บาบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรือวิธีอื่นใด บทลงโทษ ผู้ใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้ง จาทั้งปรับ บทสรุป สารเสพติด และสารระเหย เป็นสารที่เมื่อเสพหรือสูดดมเข้าไปแล้วจะทาให้มีอาการเสพติด และมีความต้องการเสพในปริมาณที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นผู้บริโภคจึงควรระมัดระวังในการใช้ผลิตภัณฑ์ สุขภาพกลุ่มนี้ เพราะอาจมีการใช้ผิดวิธี จนทาให้เกิดการเสพติดโดยไม่รู้ตัว เพราะสารเสพติดบาง ประเภทมีการนามาใช้เป็นยาเพื่อการรักษาโรคในทางการแพทย์และสาธารณสุข เช่น ยาแก้ไอ ยาแก้ ปวด ยาแก้ท้องเสีย เป็นต้น ทั้งนี้รวมไปถึงสารระเหยที่นามาใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง เด็กและเยาวชน จานวนมากที่หลงผิดหันไปลองสูดดมสารระเหย และเกิดภาวะเสพติดเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพราะสาร ระเหยมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย โทษที่เกิดกับผู้เสพที่สูดดมสารระเหย มีทั้งพิษเฉียบพลัน หมดสติ หัว ใจเต้นเร็วผิดจังหวะและอาจหัวใจวาย และพิษเรื้อรัง ทาให้ระบบอวัยวะต่างๆ อาทิ ทางเดินหายใจ หัวใจ โลหิต และระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ เสื่อมสภาพลง อาการที่เกิดขึ้น เช่น ชาตามมือ ปลายเท้า เกร็ด เลือดต่า บางรายอาจเกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาวได้ ดังนั้นผู้บริโภคจึงต้องรู้จักป้องกันตนเอง โดยการหาความรู้เกี่ยวกับสารระเหย อย่าหลงเชื่อคา ชักชวนให้เสพ เมื่อมีปัญหาควรใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหา ปรึกษาผู้ใหญ่ หรือหาทางออกโดยการเล่น กีฬา และทางานอดิเรก เป็นต้น ส่วนผู้ที่จาเป็นต้องใช้สารระเหยในการประกอบอาชีพ ต้องปฏิบัติตาม ข้อแนะนาบนฉลาก และขณะที่ใช้สารระเหยควรใช้ผ้าปิดปากจมูก อยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก หรืออยู่เหนือลม เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับสารระเหย สาหรับพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง ควรหมั่นสังเกต และสอดส่องดูแลบุตรหลานอย่างใกล้ชิด ด้วยการให้ความรัก ความเข้าใจ ตลอดจนให้เวลาแก่บุตรหลาน ของตนเองอย่างเพียงพอ หากพบผู้ใดติดสารระเหย ไม่ควรกระทาการรุนแรง ควรรีบหาสาเหตุ และ แก้ไข โดยปรึกษาแพทย์ และนาไปบาบัดรักษาในสถานพยาบาลที่เหมาะสมต่อไป
  • 11. 123 คาถามท้ายบทที่ 7 1. สารเสพติดประเภทใดที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์และสาธารณสุข 2. จงบอกแนวทางการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสารเสพติด 3. สารละเหยมีความแตกต่างจากยาเสพติดให้โทษอย่างไร 4. สารระเหยมีกี่ประเภทอะไรบ้าง 5. จงยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารระเหยในชีวิตประจาวัน 6. จงบอกวิธีป้องกันการติดสารระเหย
  • 12. 124 เอกสารอ้างอิง พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.fda.moph.go.th [24 พฤศจิกายน 2558]. พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2528 [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://narcotic.fda.moph.go.th/welcome/ [24 พฤศจิกายน 2558]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2554). เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานคุ้มครองผู้บริโภค ทางสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 8. นนทบุรี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2558). พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 แก้ไข โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 (ฉบับ ที่ 2 พ.ศ. 2543) และแก้ไขเพิ่มเติม พระราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533 (ฉบับที่ 3 พ.ศ.2550) [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://elib.fda.moph.go.th [29 พฤศจิกายน 2558]. สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2544). งานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพประจาปี 2544 เรื่อง อย. กับงาน คบส. ในยุคปฏิรูประบบสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร : สานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา. . (2546). กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค. เอกสารเผยแพร่ เรื่อง “สารระเหยอันตราย.” ปรับปรุงครั้งที่ 1 (โรเนียว) มปท. . (2557). กองควบคุมวัตถุเสพติด. บทกาหนดโทษตามพระราช กาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.2533. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/addict/lawTable3.html [29 พฤศจิกายน 2558]. . (2558). กองควบคุมวัตถุเสพติด. สารระเหย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://narcotic.fda.moph.go.th/welcome/?p=6444 [29 พฤศจิกายน 2558].