SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ยาเสพติดชนิดใหม่ๆและแนวโน้มในอนาคต
                           (New drugs and emerging trends)
บทนํา
          ยาเสพติด สารเสพติด และวิธีการเสพชนิดใหม่ๆ ส่งผลกระทบต่อการสาธารณสุข โดยเฉพาะ
ทางด้านนโยบายในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่งผู้จัดทํานโยบายและผู้เชี่ยวชาญในสาขา
ต่างๆที่เกี่ยวข้องต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดที่ถูกต้องและทันสมัย เนื่องจากปัญหายาเสพติดในทวีป
ยุโรปได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างมาก ระบบการเตือนภัยล่วงหน้าของสหภาพยุโรป (European
Union’s early-warning system) ได้รับการพัฒนาเพื่อรองรับการเกิดขึ้นของยาเสพติดและสารเสพ
ติดใหม่ๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
          ในแต่ ละปี สารประกอบที่ ได้ จากการสังเคราะห์ อย่างผิดกฎหมายมีจํ านวนเพิ่ ม ขึ้นอย่ าง
ต่อเนื่อง โดยมีการทําการตลาดผ่านอินเตอร์เน็ต รวมทั้งทําการออกแบบสารประกอบดังกล่าวในการ
หลีกเลี่ยงกฎหมายควบคุมยาเสพติด ทั้งนี้ในปี 2551-2552 ได้มีสารเสพติดเกิดขึ้นใหม่ ได้แก่ กลุ่ม
Synthetic cannabinoids และกลุ่ม Synthetic cathinnones

การดําเนินการกับยาเสพติดชนิดใหม่
          ตั้งแต่ได้มีการจัดตั้งระบบการเตือนภัยล่วงหน้าของสหภาพยุโรป (European Union’s
early-warning system) ในปี 2540 ได้มีการประกาศสารเสพติดชนิดต่างๆจํานวน 110 ชนิด โดยใน
ปี 2552 มีการประกาศสารเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทชนิดใหม่ จํานวน 24 ชนิด โดย 9 ชนิด
อยู่ในกลุ่มของ Synthetic cannabinoids 5 ชนิด อยู่ในกลุ่มของ Phenethylamines 2 ชนิดอยู่ใน
กลุ่มของ Tryptamines และ 4 ชนิดอยู่ในกลุ่มของ Synthetic cathiones ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
สถานการณ์ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรง โดยตัวอย่างของสารเสพติดชนิดใหม่ ได้แก่

1.สไปซ์ “Spice”
         Spice เป็นสารเสพติดสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท เมื่อเสพแล้วจะมีผลคล้ายการเสพ
สาร Tetrahydrocannabinol ในกัญชา ซึ่งอนาคตมีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมในกลุ่มผู้เสพมาก
ขึ้น โดยในปีที่ผ่านมา Spice ได้มีการปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ (Packaging) ให้มีความหลากหลายมาก
ขึ้น นอกจากนี้ ส่วนผสมที่เป็นสมุนไพรใน Spice มีการควบคุมโดยกฎหมายเฉพาะของแต่ละประเทศ
นั้น
         อย่างไรก็ตาม ไม่ค่อยมีการจับกุม Spice ในปริมาณมากๆเหมือนสารเสพติดประเภทอื่นๆ ซึ่ง
อาจจะเป็นการแสดงให้เห็นถึงการมีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติทางเคมีและผลกระทบของ Spice
เป็นไปด้วยความยากลําบาก

2.เมฟรีโดรน “Mephedrone”
           เป็นสารอนุพันธุ์ของเมทคาทิโนน(Methcathinone) ซึ่งเป็นสารเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิต
ประสาท (Psychoactive) พบครั้งแรกในทวีปยุโรปในปี 2550 และได้รับความนิยมอย่างมากในผู้เสพ
กลุ่มวัยรุ่นในยุโรป การจับกุมสาร “Mephedrone” ล็อตใหญ่ๆเกิดขึ้นในปี 2552 ในประเทศเยอรมัน
เนเธอร์แลนด์ สวีเดน และสหราชอาณาจักร
ในประเทศสวีเดน ผลการตรวจทางพิษวิทยาของ Mephedrone พบว่ามีอันตรายถึงชีวิต
โดยในสหราชอาณาจักร พบว่ามีผู้เสียชีวิตจํานวนมากที่เกี่ยวข้องกับการเสพ Mephedrone จึงมีการ
ออกมาตรการควบคุมสาร Mephedrone ในประเทศเดนมาร์ก เยอรมัน เอสโตเนีย ไอร์แลนด์ โรมา
เนีย สวีเดน สหราชอาณาจักร โครเอเชีย และนอร์เวย์ โดยขณะนี้ในทวีปยุโรปมีปริมาณการใช้สาร
“Mephedrone” เป็นอันดับ 4 รองจากกัญชา (Cannabis) ยาอี (Ecstasy) และโคเคน (Cocaine)

 การแพร่หลายของการใช้สารเสพติดประเภท “Legal-highs”
         คํ า ว่ า “Legal-highs” หมายถึ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ อ อกฤทธิ์ ท างจิ ต ประสาทที่ ผิ ด กฎหมาย
(Unregulated psychoactive products) เช่น สารผสมจากสมุนไพร (Herbal mixtures),สาร
สังเคราะห์ (Synthetic),Designer drugs หรือ Party pills ซึ่งใช้เสพโดยวิธีสูบ (Smoked),สูด
(Snorted),หรือ กิน (Ingested) นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ต่างๆข้างต้นสามารถทําการตลาดในลักษณะ
ของกลิ่นหอมภายในห้อง (Room odourisers) ,ธูปสมุนไพร (Herbal incenses),เกลือสําหรับ
อาบน้ํา (Bath salts) เป็นต้น ซึ่งการที่สารเสพติดต่างๆมีรูปแบบและการเสพที่หลากหลาย ทําให้ยาก
ต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล
         จากการสํารวจในปี 2551 พบว่า เด็กนักเรียนอายุ 18 ปี เคยใช้สารเสพติดประเภท “Legal-
highs” จํานวน 3.5% และเคยใช้เห็ดที่มีฤทธิ์หลอนประสาท (Hallucinogenic mushrooms)
จํานวน 3.6 %
         ขณะที่ทําการสํารวจผ่านทางระบบ Online โดยมีเป้าหมายที่นักเที่ยวกลางคืน(Club-goers)
ในสหราชอาณาจักร พบว่า 56.6% เคยใช้สารเสพติดประเภท “Legal-highs” โดยซื้อสารเสพติดมา
จากเพื่อน (95%) Website (92%) ร้านค้า (78%) งานเทศกาล (67%) และผู้ค้า (51%)

การเฝ้าระวังการค้ายาเสพติดผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
          ระบบเตือนภัยล่วงหน้าได้ติดตามการซื้อขายสารเสพติดผ่านระบบอินเตอร์เน็ตตั้งแต่ปี 2549
โดยในปี 2553 มีร้านค้ายาเสพติดทางระบบอินเตอร์เน็ต (Online drug shops) จํานวน 170 ร้านค้า
ซึ่งมีจํานวน 30 ร้านค้าที่ทําการขายทั้ง Legal         highs        และเห็ดที่มีฤทธิ์หลอนประสาท
(Hallucinogenic mushrooms)
          จํานวนผู้ที่จําหน่ายเห็ดที่มีฤทธิ์หลอนประสาทมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นตั้งแต่ปี 2549 ที่มีจํานวน
39 ร้านค้า และได้เพิ่มเป็น 64 ร้านค้าในปี 2553

การติดตามสารเสพติดอื่นๆ
         Piperazines : BZP และ mCPP
         การจับกุมสารเสพติดประเภท Piperazines ทําได้ยากมากขึ้น เนื่องจากเป็นสารผสมที่ถูกพบ
ทั้งในลักษณะของแบบผงแป้ง (Powder) รวมทั้งสารเสพติดประเภท Piperazines ได้ถูกผสมกับ
ยาเสพติดชนิดอื่นๆ เช่น แอมเฟตามีน และ MDMA (Ecstasy) ขณะที่มีการจับกุมสารประเภท BZP
และmCPP ในจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ
GHB/GBL และ Ketamine
         GHB (Gamma-Hydroxybutyric acid) ได้รับการควบคุมจากนานาชาติตั้งแต่ปี 2544
ขณะที่ Ketamine ซึ่งเป็นเวชภัณฑ์ยา ได้รับการควบคุมจากแต่ละประเทศภายใต้กฎหมายเกี่ยวกับ
ยาเสพติดหรือเวชภัณฑ์ยา
         การเสพ GBL (Gamma-Butyrolactone) ซึ่งเมื่อบริโภคเข้าไปแล้วจะเปลี่ยนเป็น GHB
อย่างรวดเร็ว ได้รับความกังวลจากประเทศในทวีปยุโรป ซึ่ง GBL ได้รับการพิจารณาให้อยู่ในประเภท
ของสารตั้งต้น (Precursor) โดยประเทศอิตาลี ลัตเวีย ออสเตรีย สวีเดน สหราชอาณาจักร และ
นอร์เวย์ ได้ควบคุม GBL ภายใต้กฎหมายยาเสพติดของแต่ละประเทศ
         ความแพร่หลายของ GHB และเคตามีนในกลุ่มประชาชนทั่วๆไปยังคงอยู่ในระดับต่ํา แต่จะ
สูงขึ้นในเฉพาะกลุ่ม (Specific group) ขณะที่การสํารวจผ่านทางระบบ online โดยมีเป้าหมายที่นัก
เที่ยวกลางคืน (Club-goers)        ในสหราชอาณาจักรพบว่า 32.4% เคยใช้สารเสพติดประเภท
Ketamine 1.7% เคยใช้สารเสพติดประเภท GHB และ 1.6% เคยใช้สารเสพติดประเภท GBL


                                                              ส่วนวางระบบและพัฒนาข้อมูล
                                                                         สํานักยุทธศาสตร์

More Related Content

More from i_cavalry

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติi_cavalry
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556i_cavalry
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพi_cavalry
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการi_cavalry
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์i_cavalry
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555i_cavalry
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 i_cavalry
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหารi_cavalry
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนi_cavalry
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013i_cavalry
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารi_cavalry
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinkingi_cavalry
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horsei_cavalry
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน .. i_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ i_cavalry
 

More from i_cavalry (20)

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
 
Culture
CultureCulture
Culture
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinking
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horse
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน ..
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
 
Retreat s.
Retreat s.Retreat s.
Retreat s.
 

Newya

  • 1. ยาเสพติดชนิดใหม่ๆและแนวโน้มในอนาคต (New drugs and emerging trends) บทนํา ยาเสพติด สารเสพติด และวิธีการเสพชนิดใหม่ๆ ส่งผลกระทบต่อการสาธารณสุข โดยเฉพาะ ทางด้านนโยบายในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึ่งผู้จัดทํานโยบายและผู้เชี่ยวชาญในสาขา ต่างๆที่เกี่ยวข้องต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดที่ถูกต้องและทันสมัย เนื่องจากปัญหายาเสพติดในทวีป ยุโรปได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างมาก ระบบการเตือนภัยล่วงหน้าของสหภาพยุโรป (European Union’s early-warning system) ได้รับการพัฒนาเพื่อรองรับการเกิดขึ้นของยาเสพติดและสารเสพ ติดใหม่ๆที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ในแต่ ละปี สารประกอบที่ ได้ จากการสังเคราะห์ อย่างผิดกฎหมายมีจํ านวนเพิ่ ม ขึ้นอย่ าง ต่อเนื่อง โดยมีการทําการตลาดผ่านอินเตอร์เน็ต รวมทั้งทําการออกแบบสารประกอบดังกล่าวในการ หลีกเลี่ยงกฎหมายควบคุมยาเสพติด ทั้งนี้ในปี 2551-2552 ได้มีสารเสพติดเกิดขึ้นใหม่ ได้แก่ กลุ่ม Synthetic cannabinoids และกลุ่ม Synthetic cathinnones การดําเนินการกับยาเสพติดชนิดใหม่ ตั้งแต่ได้มีการจัดตั้งระบบการเตือนภัยล่วงหน้าของสหภาพยุโรป (European Union’s early-warning system) ในปี 2540 ได้มีการประกาศสารเสพติดชนิดต่างๆจํานวน 110 ชนิด โดยใน ปี 2552 มีการประกาศสารเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทชนิดใหม่ จํานวน 24 ชนิด โดย 9 ชนิด อยู่ในกลุ่มของ Synthetic cannabinoids 5 ชนิด อยู่ในกลุ่มของ Phenethylamines 2 ชนิดอยู่ใน กลุ่มของ Tryptamines และ 4 ชนิดอยู่ในกลุ่มของ Synthetic cathiones ซึ่งแสดงให้เห็นถึง สถานการณ์ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรง โดยตัวอย่างของสารเสพติดชนิดใหม่ ได้แก่ 1.สไปซ์ “Spice” Spice เป็นสารเสพติดสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท เมื่อเสพแล้วจะมีผลคล้ายการเสพ สาร Tetrahydrocannabinol ในกัญชา ซึ่งอนาคตมีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมในกลุ่มผู้เสพมาก ขึ้น โดยในปีที่ผ่านมา Spice ได้มีการปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ (Packaging) ให้มีความหลากหลายมาก ขึ้น นอกจากนี้ ส่วนผสมที่เป็นสมุนไพรใน Spice มีการควบคุมโดยกฎหมายเฉพาะของแต่ละประเทศ นั้น อย่างไรก็ตาม ไม่ค่อยมีการจับกุม Spice ในปริมาณมากๆเหมือนสารเสพติดประเภทอื่นๆ ซึ่ง อาจจะเป็นการแสดงให้เห็นถึงการมีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติทางเคมีและผลกระทบของ Spice เป็นไปด้วยความยากลําบาก 2.เมฟรีโดรน “Mephedrone” เป็นสารอนุพันธุ์ของเมทคาทิโนน(Methcathinone) ซึ่งเป็นสารเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิต ประสาท (Psychoactive) พบครั้งแรกในทวีปยุโรปในปี 2550 และได้รับความนิยมอย่างมากในผู้เสพ กลุ่มวัยรุ่นในยุโรป การจับกุมสาร “Mephedrone” ล็อตใหญ่ๆเกิดขึ้นในปี 2552 ในประเทศเยอรมัน เนเธอร์แลนด์ สวีเดน และสหราชอาณาจักร
  • 2. ในประเทศสวีเดน ผลการตรวจทางพิษวิทยาของ Mephedrone พบว่ามีอันตรายถึงชีวิต โดยในสหราชอาณาจักร พบว่ามีผู้เสียชีวิตจํานวนมากที่เกี่ยวข้องกับการเสพ Mephedrone จึงมีการ ออกมาตรการควบคุมสาร Mephedrone ในประเทศเดนมาร์ก เยอรมัน เอสโตเนีย ไอร์แลนด์ โรมา เนีย สวีเดน สหราชอาณาจักร โครเอเชีย และนอร์เวย์ โดยขณะนี้ในทวีปยุโรปมีปริมาณการใช้สาร “Mephedrone” เป็นอันดับ 4 รองจากกัญชา (Cannabis) ยาอี (Ecstasy) และโคเคน (Cocaine) การแพร่หลายของการใช้สารเสพติดประเภท “Legal-highs” คํ า ว่ า “Legal-highs” หมายถึ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ อ อกฤทธิ์ ท างจิ ต ประสาทที่ ผิ ด กฎหมาย (Unregulated psychoactive products) เช่น สารผสมจากสมุนไพร (Herbal mixtures),สาร สังเคราะห์ (Synthetic),Designer drugs หรือ Party pills ซึ่งใช้เสพโดยวิธีสูบ (Smoked),สูด (Snorted),หรือ กิน (Ingested) นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ต่างๆข้างต้นสามารถทําการตลาดในลักษณะ ของกลิ่นหอมภายในห้อง (Room odourisers) ,ธูปสมุนไพร (Herbal incenses),เกลือสําหรับ อาบน้ํา (Bath salts) เป็นต้น ซึ่งการที่สารเสพติดต่างๆมีรูปแบบและการเสพที่หลากหลาย ทําให้ยาก ต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล จากการสํารวจในปี 2551 พบว่า เด็กนักเรียนอายุ 18 ปี เคยใช้สารเสพติดประเภท “Legal- highs” จํานวน 3.5% และเคยใช้เห็ดที่มีฤทธิ์หลอนประสาท (Hallucinogenic mushrooms) จํานวน 3.6 % ขณะที่ทําการสํารวจผ่านทางระบบ Online โดยมีเป้าหมายที่นักเที่ยวกลางคืน(Club-goers) ในสหราชอาณาจักร พบว่า 56.6% เคยใช้สารเสพติดประเภท “Legal-highs” โดยซื้อสารเสพติดมา จากเพื่อน (95%) Website (92%) ร้านค้า (78%) งานเทศกาล (67%) และผู้ค้า (51%) การเฝ้าระวังการค้ายาเสพติดผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ระบบเตือนภัยล่วงหน้าได้ติดตามการซื้อขายสารเสพติดผ่านระบบอินเตอร์เน็ตตั้งแต่ปี 2549 โดยในปี 2553 มีร้านค้ายาเสพติดทางระบบอินเตอร์เน็ต (Online drug shops) จํานวน 170 ร้านค้า ซึ่งมีจํานวน 30 ร้านค้าที่ทําการขายทั้ง Legal highs และเห็ดที่มีฤทธิ์หลอนประสาท (Hallucinogenic mushrooms) จํานวนผู้ที่จําหน่ายเห็ดที่มีฤทธิ์หลอนประสาทมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นตั้งแต่ปี 2549 ที่มีจํานวน 39 ร้านค้า และได้เพิ่มเป็น 64 ร้านค้าในปี 2553 การติดตามสารเสพติดอื่นๆ Piperazines : BZP และ mCPP การจับกุมสารเสพติดประเภท Piperazines ทําได้ยากมากขึ้น เนื่องจากเป็นสารผสมที่ถูกพบ ทั้งในลักษณะของแบบผงแป้ง (Powder) รวมทั้งสารเสพติดประเภท Piperazines ได้ถูกผสมกับ ยาเสพติดชนิดอื่นๆ เช่น แอมเฟตามีน และ MDMA (Ecstasy) ขณะที่มีการจับกุมสารประเภท BZP และmCPP ในจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ
  • 3. GHB/GBL และ Ketamine GHB (Gamma-Hydroxybutyric acid) ได้รับการควบคุมจากนานาชาติตั้งแต่ปี 2544 ขณะที่ Ketamine ซึ่งเป็นเวชภัณฑ์ยา ได้รับการควบคุมจากแต่ละประเทศภายใต้กฎหมายเกี่ยวกับ ยาเสพติดหรือเวชภัณฑ์ยา การเสพ GBL (Gamma-Butyrolactone) ซึ่งเมื่อบริโภคเข้าไปแล้วจะเปลี่ยนเป็น GHB อย่างรวดเร็ว ได้รับความกังวลจากประเทศในทวีปยุโรป ซึ่ง GBL ได้รับการพิจารณาให้อยู่ในประเภท ของสารตั้งต้น (Precursor) โดยประเทศอิตาลี ลัตเวีย ออสเตรีย สวีเดน สหราชอาณาจักร และ นอร์เวย์ ได้ควบคุม GBL ภายใต้กฎหมายยาเสพติดของแต่ละประเทศ ความแพร่หลายของ GHB และเคตามีนในกลุ่มประชาชนทั่วๆไปยังคงอยู่ในระดับต่ํา แต่จะ สูงขึ้นในเฉพาะกลุ่ม (Specific group) ขณะที่การสํารวจผ่านทางระบบ online โดยมีเป้าหมายที่นัก เที่ยวกลางคืน (Club-goers) ในสหราชอาณาจักรพบว่า 32.4% เคยใช้สารเสพติดประเภท Ketamine 1.7% เคยใช้สารเสพติดประเภท GHB และ 1.6% เคยใช้สารเสพติดประเภท GBL ส่วนวางระบบและพัฒนาข้อมูล สํานักยุทธศาสตร์