SlideShare a Scribd company logo
1 of 358
1


            กฎหมายร้านยา
 ประเภทของใบอนุญาต
ประกอบด้วย
1.1 ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน (ขย.1) ขายยา
ได้ทุกประเภทยกเว้นยาเสพติดให้โทษ และวัตถุ
ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
1.2 ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุ
เสร็จ ที่มิใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
(ขย.2) ปัจจุบนไม่มีการออกใบอนุญาตเพิ่มอีก
                ั
1.3 ใบอนุญาตขายยาเสพติดให้โทษประเภท 3
1.4 ใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ต่อประสาท
ประเภท 3 และ 4

หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้รับอนุญาต
          หน้าที่       มาตรา ความรับผิดกรณี
                                  ฝ่าฝืนกฎหมาย
1. มีสถานที่ขายยาและ    14 (7)    ผู้อนุญาตไม่ออก
อุปกรณ์ที่ใช้ในการขาย             ใบอนุญาตให้
ยาและการควบคุมหรือ       กฎ
รักษาคุณภาพยาซึ่งมี    กระทรวง
ลักษณะ และจำานวน
ตามที่กำาหนด ในกฎ     (15) ข้อ 6
กระทรวง
2. ไม่ขายยานอกสถาน      19 (1)    ปรับ 2,000-5,000
ที่ที่กำาหนดไว้ในใบ               บาท
อนุญาตเว้นแต่เป็นการ
2


ขายส่ง
3. ขายยาตรงตาม          19 (2)     ปรับ 2,000-5,000
ประเภท                             บาท
4. แสดงป้ายถูกต้อง      26 (1)     ปรับ 2,000-10,000
ตามกำาหนด                          บาท
5. แยกเก็บยาเป็น        26 (2,3)   ปรับ
สัดส่วน รวมทั้งแยก                 2,000-100,000
จากยาเสพติด พรบ.ยา                 บาท แล้วแต่กรณี
เสพติดมาตรา 31 (2)
และวัตถุออกฤทธิ์
พรบ.วัตถุออกฤทธิ์
มาตรา 28 (2)
6. จัดให้ฉลากที่        26 (5)     ปรับ 2,000-10,000
ภาชนะและหีบห่อบรรจุ                บาท
ยา มีข้อความครบถ้วน
7. จัดทำาบัญชีซื้อและ   26 (6)     ปรับ 2,000-10,000
ขายยาให้ถูกต้อง                    บาท
8. จัดทำารายงานการ      26 (5)     ปรับ 2,000-10,000
ขายยาตามที่ อย.                    บาท
กำาหนดทุก 4 เดือน
9. แสดงใบอนุญาต           29       ปรับไม่เกิน 1,000
ของตนและผู้มีหน้าที่               บาท
ปฎิบัติการติดไว้ ณที่
เปิดเผยเห็นได้ง่าย
10. ไม่ขายยาอันตราย       32       โทษจำาและ/หรือ
หรือยาควบคุมพิเศษ                  ปรับตามแต่กรณี
3


ระหว่างเภสัชกรไม่อยู่
ปฎิบัติหน้าที่
11. ไม่ขาย                 72      (ดูรายละเอียดใน
(1) ยาปลอม                         หัวข้อที่ 5) หน้าที่
(2) ยาผิดมาตรฐาน                   4
(3) ยาผิดมาตรฐาน
(4) ยาที่มิได้ขึ้น
ทะเบียนตำารับ
(5) ยาถูกยกเลิก
ทะเบียนยา
(6) ยาถูกยกเพิกถอน
ทะเบียนยา
12. ไม่ขายยาชุด          75 ทวิ    จำาคุกไม่เกิน 5 ปี
                                   หรือปรับไม่เกิน
                                   50,000 บาท
              ป้ายที่ร้านยาต้องจัดทำา
1. ป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ขายยา
-สถานที่ขายยาแผนปัจจุบัน มีป้ายทำาด้วยวัตถุ
ถาวร สีนำ้าเงิน ขนาดกว้างยาวไม่น้อยกว่า 20 ×
70 เซนติเมตร และมีข้อความเป็นตัวอักษรไทยสี
ขาวสูงไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ว่า “สถานที่ขาย
ยาแผนปัจจุบัน”
-สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที
มิใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
-หรือสถานที่ขายยาแผนโบราณ มีป้ายทำาด้วย
วัตถุถาวร สีเขียว ขนาดกว้าง ยาว ไม่น้อยกว่า 20
4


× 70 เซนติเมตร ว่า “สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน      ั
เฉพาะยาบรรจุเสร็จที่มิใช่ยาอันตรายหรือยา
ควบคุมพิเศษ” หรือ “สถานที่ขายยาแผน
โบราณ”--สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยา
บรรจุเสร็จสำาหรับสัตว์มีป้ายทำาด้วยวัตถุถาวร สี
แดง ขนาดกว้างและยาวไม่น้อยกว่า 20 × 70
เซนติเมตร และมีข้อความเป็นตัวอักษรไทยสีขาว
สูงไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ว่า “สถานที่ขายยา
แผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสำาหรับสัตว์”
2. ป้ายแสดงชื่อผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ
ป้ายทำาด้วยวัตถุถาวรสีนำาเงิน สีเขียว หรือสี
แดง ตามประเภทสถานที่ขายยาขนาดกว้าง
ยาวไม่เกิน 20 × 50 เซนติเมตรแสดงชื่อตัว
ชื่อสกุล และวิทยฐานะของผู้มีหน้าที่ปฏิบัติ
การและเวลาที่ปฏิบัติการ




  หน้าที่และความรับผิดของผู้ปฎิบัติหน้าที่

                                        ความรับผิดกรณี
           หน้าที่              มาตรา
                                        ฝ่าฝืนกฎหมาย
1. อยู่ประจำาตลอดเวลาที่เปิด            ปรับ 1,000-5,000
                                  39
ทำาการ                                  บาท
                                        ปรับ 1,000-5,000
2. ควบคุมการแยกเก็บยา            39 (1)
                                        บาท
5


3. ควบคุมการปฏิบัติเรื่อง             ปรับ 1,000-5,000
                               39 (2)
ฉลาก                                  บาท
4. ควบคุมการขายยาให้เป็นไป            ปรับ 1,000-5,000
                               39 (3)
ตามพระราชบัญญัตินี้                   บาท
5. ควบคุมการส่งมอบยา                  ปรับ 1,000-5,000
                               39 (6)
อันตรายและยาควบคุมพิเศษ               บาท
                                      ปรับ 1,000-5,000
6. ควบคุมการทำาบัญชียา         39 (7)
                                      บาท
7. การอื่นตามที่กำาหนดในกฎ            ปรับ 1,000-5,000
                               39 (8)
กระทรวง                               บาท
                                 กฎ
8. ควบคุมการใช้อุปกรณ์ที่ใช้ กระทรวง ปรับ 1,000-5,000
ในการรักษาคุณภาพยาที่เก็บ ฉบับที่ 15 บาท
ไว้ซึ่งต้องมีจำานวนเพียงพอ
                                ข้อ 8
9. ให้คำาแนะนำาตามสมควร          กฎ
                                      ปรับ 1,000-5,000
เกี่ยวกับการใช้ยาอันตรายเพื่อ กระทรวง บาท
ความปลอดภัยตาม หลักวิชา ฉบับที่ 15
และตามมรรยาทแห่งวิชาชีพ ข้อ 9 (5)

10. ควบคุมให้การขายยา
ควบคุมพิเศษเฉพาะแก่ผู้รับ   กฎ         ปรับ 1,000-5,000
อนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน      กระทรวง บาท
และผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ   ฉบับที่ 15
                            ข้อ 9 (6)
6


11. ควบคุมให้ขายยาบรรจุ               กฎ
                                              ปรับ 1,000-5,000
เสร็จสำาหรับสัตว์ที่เป็นยา         กระทรวง
                                              บาท
ควบคุมพิเศษเฉพาะแก่ผู้รับ          ฉบับที่ 15
อนุญาตขายยาแผนปัจจุบันซึ่ง ข้อ 9 (7)
มีเภสัชกรชั้นหนึ่งเป็นผู้มีหน้าที่
ปฏิบัติการผู้รับอนุญาตขายยา
แผนปัจจุบันเฉพะยาบรรจุเสร็จ
สำาเร็จสัตว์ซึ่งมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง
หรือผู้ประกอบการบำาบัดโรค
สัตว์ชั้นหนึ่งเป็นผู้มีหน้าที่
ปฏิบัติการหรือแก่ผู้ประกอบ
การบำาบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่ง
                                              โทษจำาและ/หรือ
12. ห้าม
                                              ปรับตามแต่กรณี
(1) ขายยาปลอม                         72
                                              (ดูรายละเอียดใน
(2) ยาผิดมาตรฐาน
                                              หัวข้อที่ 4 หน้าที่ 9
(3) ยาเสื่อมคุณภาพ
(4) ยาที่มิได้ขนทะเบียน ยา
                 ึ้
ถูกเลิกทะเบียน
7




         ข้อกฎหมายที่ควรทราบ

มาต         ข้อกฎหมาย               บทกำาหนด
 รา                                   โทษ
 35   ผู้รับอนุญาตผู้ใดเลกกิจการ ปรับไม่เกิน
      ที่ได้รับอนุญาตตามพระราช 1,000 บาท
      บัญญัตินี้ต้องแจ้งการเลิก
      กิจการเป็นหนังสือให้ผู้
      อนุญาตทราบไม่เกิน 15 วัน
      นับตั้งแต่วันเลิกกิจการและ
      ให้ถือว่าใบอนุญาตหมด
      อายุตั้งแต่วันเลิกกิจการตาม
      ที่แจ้งไว้นั้น
36    ผู้รับอนุญาตซึ่งได้แจ้งเลิก     ไม่มี
      กิจการจะขายยาของตนที่
      เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาต
      อื่นๆ หรือแก่ผู้ซึ่งผู้อนุญาต
      เห็นสมควรได้ภายใน 90
      วัน นับแต่วันเลิกกิจการ เว้น
      แต่ผู้อนุญาตจะผ่อนผัน
      ขยายระยะเวลาดังกล่าวให้
37    ถ้าผู้รับอนุญาตตาย หรือมี       ไม่มี
      บุคคลผู้ซึ่งมีคุณสมบัติอาจ
8


     เป็นผู้รับอนุญาต ได้ตามพ
     ระราชบัญญัตินี้แสดงความ
     จำานงต่อผู้อนุญาตภายใน
     30 วันนับแต่วันที่ผู้รับ
     อนุญาตตาย เพื่อขอดำาเนิน
     กิจการที่ผู้ตายได้รับ
     อนุญาตนั้นต่อไป ก็ให้ผู้
     แสดงความจำานงนั้นดำาเนิน
     กิจการต่อไปจนกว่าใบ
     อนุญาตสิ้นอายุ ในกรณีเช่น
     ว่า

     นี้ให้ถือว่าผู้แสดงความ
     จำานงเป็นผู้รับอนุญาตตามพ
     ระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วัน
     ผู้รับอนุญาตตาย
45   ห้ามมิให้เภสัชกร ผูประกอบ
                             ้              ปรับตั้งแต่
     วิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบ
                           ้                 1,000 –
     โรคศิลปะแผนปัจจุบนชันหนึง 5,000 บาท
                               ั ้        ่
     ในสาขาทันตกรรม การ
     ผดุงครรภ์ หรือการพยาบาล
     ผูประกอบการบำาบัด โรคสัตว์
         ้
     ปฏิบตหน้าทีผมหน้าทีปฏิบติ
             ั ิ    ่ ู้ ี        ่     ั
     การในสถานทีผลิตยา สถาน
                        ่
     ทีขายยาหรือสถานทีนำาหรือ
           ่                    ่
     สังยาเข้ามาในราชอาณาจักร
       ่
     โดยตนมิได้มชอเป็นผูมหน้าที่
                      ี ื่          ้ ี
9


       ปฏิบตการในสถานทีนน
               ั ิ                                 ่ ั้
 48    ผูมหน้าทีปฏิบตการต้องอยู่
         ้ ี              ่          ั ิ                      เพิกถอนใบ
วรรค   ประจำา ณ สถานทีผลิตยา               ่                   อนุญาต
สอง    สานทีขายยา หรือสถานทีนำา
                   ่                                      ่
       หรือสังยาเข้ามาในราช
                 ่
       อาณาจักร ได้เพียงแห่งเดียว
79     ยาสมุนไพรไม่จำาเป็นต้องขึน                           ้     ไม่มี
ทวิ    ทะเบียน (ยาสมุนไพร หมาย
       ถึง ยาทีได้จากพฤกษชาติ
                      ่
       สัตว์หรือแร่ซงมิได้ผสม ปรุง
                                ึ่
       หรือแปรสภาพ อนึงสำานักงาน               ่
       คณะกรรมการกฤษฎีกา
       ตีความว่าการแปรสภาพ
       หมายถึง ต้องไม่สามารถ
       จำาแนกได้วาเป็นชินส่วนใด
                              ่              ้
       ของ พืช สัตว์)
90     ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดย ปรับไม่เกิน
       วิธแถมพก หรือออกสลาก
             ี                                                 100,000
       รางวัล                                                     บาท
95     เมือปรากฏต่อผูอนุญาตว่า
           ่                             ้                     จำาคุกไม่
       ผูรบอนุญาตผูใดไม่ปฏิบติ
          ้ั                       ้                    ั      เกิน 5 ปี
       ตามพระราชบัญญัตนี้ หรือกฎ และปรับไม่      ิ
       กระทรวงทีออกตามพระราช่                                     เกิน
       บัญญัตนี้ ผูอนุญาตโดยคำา
                     ิ ้                                        10,000
       แนะนำาของคณะกรรมการมี                                      บาท
       อำานาจสังพักใช้ใบอนุญาตได้
                        ่
       โดยมีกำาหนดครั้งละไม่เกิน
10


     120 วัน หรือในกรณีที่มีการ
     ฟ้องผู้รับอนุญาตต่อศาลว่า
     ได้กระทำาความผิดตามพระ
     ราชบัญญัตินี้จะสั่งพักใช้ใบ
     อนุญาตไว้รอคำาพิจารณาอัน
     ถึงที่สุดได้
     ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกพักใช้ใบ
     อนุญาตต้องหยุดการผลิต
     ยา การขายยาหรือการนำา
     หรือสั่งยาเข้ามาในราช
     อาณาจักรแล้วแต่กรณี และ
     ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบ
     อนุญาตนั้นจะขอรับใบ
     อนุญาตใด ๆ ตามพระราช
     บัญญัตินี้อีกไม่ได้
96   เมื่อปรากฏต่อผู้อนุญาตว่า     ไม่มี
     ผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติ
     ตามมาตรา 14 หรือ มาตรา
     48 ผู้อนุญาตโดยคำาแนะนำา
     ของคณะกรรมการมีอำานาจ
     สั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้
     ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอน
     ใบอนุญาตต้องหยุดการ
     ผลิตยา การขายยา หรือ
     การนำาหรือสั่งยาเข้ามาใน
     ราชอาณาจักร แล้วแต่กรณี
     และจะขอรับใบอนุญาตใด
11


     ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้อีก
     ไม่ได้จนกว่าจะพ้น 2 ปี นับ
     แต่วันที่ถูกเพิกถอนใบ
     อนุญาต และผู้อนุญาตจะ
     ออกใบอนุญาตให้หรือไม่
     ก็ได้ สุดแต่จะพิจารณาเห็น
     สมควร
97   คำาสั่งพักใช้ใบอนุญาตให้        ไม่มี
     ทำาเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับ
     อนุญาตทราบ และในกรณี
     ไม่พบตัวผู้ถูกสั่งหรือผู้ถูก
     สั่งไม่ยอมรับคำาสั่งดังกล่าว
     ให้ปิดคำาสั่งไว้ ณ ที่เปิดเผย
     เห็นได้ง่ายที่สถานที่ผลิตยา
     สถานที่ขายยา หรือสถานที่
     นำาหรือสั่งยาเข้ามาในราช
     อาณาจักร และให้ถือว่าผู้รับ
     อนุญาตได้รับคำาสั่งนั้นแล้ว
     ตั้งแต่วันที่ปิดคำาสั่ง
     คำาสั่งพักใช้ใบอนุญาตและ
     คำาสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะ
     โฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือ
     โดยวิธีอื่นอีกด้วยก็ได้
99   ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพัก      ไม่มี
     ใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอน
     ใบอนุญาตมีสิทธิ์อุทธรณ์
     ต่อรัฐมนตรีภายใน 30 วัน
12


      นับแต่วันที่ทราบคำาสั่ง
      รัฐมนตรีมีอำานาจสั่งให้ยก
      อุทธรณ์หรือให้แก้ไขคำาสั่ง
      ขอผู้อนุญาตในทางที่เป็น
      คุณแก่ผู้อุทธรณ์ได้
      คำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้
      เป็นที่สุดการอุทธรณ์ตาม
      วรรคหนึ่งย่อมไม่เป็นการ
      ทุเลาการบังคับตามคำาสั่ง
      พักใช้ใบอนุญาต หรือคำาสั่ง
      เพิกถอนใบอนุญาต
100   ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตจะ          ไม่มี
      ขายยาของตนที่เหลืออยู่แก่
      ผู้รับอนุญาตอื่นหรือแก่ผู้ซึ่ง
      ผู้อนุญาตเห็นสมควรได้
      ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้
      ทราบคำาสั่งเพิกถอนใบ
      อนุญาตหรือวันที่ได้คำา
      วินิจฉัยของรัฐมนตรีเว้นแต่
      ผู้อนุญาตจะผ่อนผันขยาย
      ระยะเวลาดังกล่าว
13




ประเภทของยาตามกฎหมาย ความสำาคัญและ
            การจำาแนก

พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่ม
เติม จำาแนกยาเป็น 3 กลุ่ม คือ ยาอันตราย ยา
ควบคุมพิเศษ และยาสามัญประจำาบ้าน ยาแต่ละ
กลุ่มจัดขึ้นตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขซึ่งจะ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาตามเหตุผลและความ
จำาเป็น เพราะยาแต่ละกลุ่มสามารถกระจายถึงมือผู้
บริโภคต่างกัน กล่าวคือ
- ยาสามัญประจำาบ้าน เป็นยาที่ได้รับการพิจารณา
แล้วว่าปลอดภัย โอกาสเป็นอันตรายต่อสุขภาพมี
14


น้อย ให้วางจำาหน่ายได้โดยทั่วไป และผู้ซื้อ
สามารถตัดสินใจซื้อด้วยตนเองตามอาการเจ็บป่วย
แต่ยาที่เป็นยาสามัญประจำาบ้านได้นั้นต้องเป็น
ตำารับยา สรรพคุณ ขนาด วิธีใช้ คำาเตือนการเก็บ
รักษา และขนาดบรรจุตามที่กำาหนด
- ยาอันตราย เป็นยาที่ต้องขายเฉพาะในร้านขาย
ยาแผนปัจจุบันภายใต้การควบคุมของเภสัชกรผู้
มีหน้าที่ปฏิบัติการ
- ยาควบคุมพิเศษ เป็นยาที่จ่ายได้เมื่อมีการนำา
ใบสั่งยามาซื้อยา กลุ่มนี้เป็นยาที่มีความเป็นพิษภัย
สูงหรืออาจก่ออันตรายต่อสุขภาพได้ง่าย จึงเป็นยา
ที่ถูกจำากัดการใช้
         ยาทั้งสามกลุ่มนี้สามารถจำาหน่ายได้ในร้าน
ที่มีใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน ส่วนร้าน ขย. 2
นั้น จำาหน่ายได้เฉพาะยาสามัญประจำาบ้าน และยา
แผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่มิใช่ยาอันตราย
หรือยาควบคุมพิเศษ โดยมีเงื่อนไขว่ายาที่
จำาหน่ายในร้าน ขย. 2 นัน ต้องเป็นการจำาหน่าย
                           ้
โดยไม่แบ่งออกมาจากภาชนะบรรจุเดิม คือต้อง
จำาหน่ายทั้งแผงหรือขวด
         จำาแนกยากลุ่มต่าง ๆ กระทำาได้โดยสังเกต
จากฉลาก เพราะกฎหมายกำาหนดให้ยาที่ขึ้น
ทะเบียนตำารับแล้วทุกตัว ต้องระบุประเภทของยา
บนฉลากด้วย อักษรสีแดง ( ตัวอย่างยากลุ่มต่าง
ๆ แสดงไว้ในภาคผนวกที่ 1) ส่วนความรับผิดต่าง
ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับประเภทของยามีดังนี้
15


 ประเภท
    ใบ
 อนุญาต
  สาระ
    บท
 กำาหนด
   โทษ


   ขย. 2
ขายยาผิด
ประเภทที่
ได้รับ
อนุญาต
กล่าวคือ
ขายยา
อันตราย
หรือยา
ควบคุม
พิเศษ
(มาตรา
19(2))
    ปรับ
 2,000 –
  15,000
   บาท
16


            การใช้ยาในเด็ก
1.เด็กแรกเกิด (New Born) หมายถึง เด็กแรก
คลอดจนถึง 4 สัปดาห์
2.เด็กอ่อนหรือทารก (Infant) หมายถึง เด็กแรก
คลอดจนถึง 1 ขวบ
3.เด็กเล็ก หมายถึง เด็ก 1 ขวบถึง 6 ขวบ
4. เด็กโต หมายถึง เด็ก 6 ขวบถึง 12 ขวบ
สำาหรับเด็กอายุ 12 ขวบขึนไป สามารถใช้ยาได้
                        ้
เหมือนกับผู้ใหญ่

ข้อควรพิจารณาเบืำองต้นสำาหรับ
การใช้ยาในเด็ก ได้แก่
1.ไม่ควรใช้ยาโดยไม่จำาเป็น หากหลีกเลี่ยงได้ควร
หลีกเลี่ยง เพราะโรคบางโรคที่ไม่รุนแรงสามารถ
ปล่อยให้อาการทุเลาเองได้
2.ควรเลือกยาที่มีความปลอดภัยสูง โดยพยายาม
เลือกยาที่คุ้นเคยที่เคยใช้แล้วปลอดภัย พยายาม
หลีกเลี่ยงการใช้ยาชนิดใหม่ๆที่ไม่จำาเป็น
3.ควรอ่านฉลากยาให้ถี่ถ้วนก่อนใช้ยาและสังเกต
ลักษณะของยาว่ามีลักษณะทางกายภาพ
เปลี่ยนแปลงจากที่เคยใช้หรือไม่ เนื่องจากแพทย์
หรือเภสัชกรมักเลือกยาประเภทนำ้าเชื่อมให้เด็ก
17


ซึ่งยาประเภทดังกล่าวจะหมดอายุเร็วกว่ายา
ประเภทยาเม็ด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงลักษณะทาง
กายภาพของยาอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อเด็กที่
กินยาได้
4.หากเด็กโตพอที่จะกินยาเม็ดได้ ให้เลือกใช้ยา
เม็ดดีกว่ายานำ้า เพราะนอกจากราคาถูกกว่าแล้วยัง
พกพาสะดวกและหมดอายุช้ากว่าด้วย สำาหรับยา
ฉีดควรหลีกเลี่ยงมากที่สุด ยกเว้นในกรณีที่จำาเป็น
จริงๆ โดยแพทย์เป็นผู้สั่งใช้ยาฉีดและฉีดโดย
แพทย์หรือพยาบาลเท่านั้น เนื่องจากยาฉีดมี
โอกาสแพ้แบบช็อค (Anaphylaxis) อย่างรุนแรง
กว่ายาชนิดอื่น

ข้อควรระวังเมื่อใช้ยากับเด็ก
   1.   ยาปฏิชีวนะ นิยมทำาเป็นรูปผงแห้ง ก่อน
        ผสมนำ้าควรเคาะขวดยาให้ผงยากระจายตัว
        ก่อน จึงผสมนำ้าสุกที่เย็นแล้วให้ได้ระดับที่
        กำาหนด ยาบางชนิดเมื่อผสมนำ้าแล้วต้อง
        เก็บในตู้เย็นและต้องกินยาติดต่อกันจนหมด
        แม้อาการจะหายดีแล้ว ยกเว้นกรณีแพ้ยาให้
        หยุดยาทันทีและรีบพบแพทย์
        ยาลดไข้ ที่นิยมให้เด็กกิน คือ
        พาราเซตามอล(Paracetamol) โดยให้เด็ก
        กินทุกๆ 4-6 ชัวโมงจนไข้ลด แต่ถ้าอาการ
                      ่
        ไม่ดีขนภายใน 2 วัน หรือมีไข้สูงมาก ควร
              ึ้
18


     ไปพบแพทย์ ห้ามเปลี่ยนไปใช้ยา
     แอสไพรินหรือไอบูโปรเฟนเพราะหากเด็ก
     เป็นไข้เลือดออกจะทำาให้เกิดอันตรายได้
2.   และยาพาราเซตามอลไม่ควรกินยาติดต่อ
     กันเกิน 5 วัน เพราะอาจมีผลเสียต่อตับได้
     ส่วนกรณีจำาเป็นเมื่อต้องใช้ยาลดไข้
     แอสไพริน หรือ ไอบูโปรเฟนควรรับ
     ประทานหลังอาหารทันทีเนื่องจากยานี้
     ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
3.   ยาแก้ไอ ไม่ควรนำายาแก้ไอของผู้ใหญ่มา
     ให้เด็กกิน เพราะยาบางชนิดอาจผสม
     แอลกอฮอล์ หรือยาบางตัวอาจมีฤทธิ์กด
     ศูนย์กลางการหายใจ อาจทำาให้เด็กหยุด
     หายใจจนเสียชีวิตได้
4.   ยาแก้ท้องเสีย ไม่ควรใช้ยาที่มีความแรง
     มากในเด็กเล็ก เพราะอาจไปกดการหายใจ
     ได้ วิธีที่ดีที่สุดคือ การให้นำ้าและเกลือแร่
     เพื่อชดเชยการสูญเสียนำ้า เพราะอาการขาด
     นำ้าในเด็กอาจทำาให้เสียชีวิตได้

ข้อห้ามใช้ของยาสำาหรับทารก
และเด็กเล็ก
1.แอสไพริน(Aspirin) ไม่ควรใช้ในเด็กอายุตำ่า
กว่า 1 ขวบ เพราะอาจทำาให้มีเลือดออกได้
19


2.คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ไม่
ควรใช้ในเด็กอายุตำ่ากว่า 2 เดือน เพราะอาจ
ทำาให้ซึม นอนไม่หลับ หรือชักได้
3.คลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol) ห้าม
ใช้ในเด็กอายุตำ่ากว่า 4 ขวบ เพราะอาจทำาให้
เด็กตัวเขียว เนื้อตัวอ่อนปวกเปียก หรือหมดสติ
ได้
4.โลเปอราไมด์ (Loperamide) ไม่ควรใช้ใน
เด็กอายุตำ่ากว่า 2 ขวบ เพราะอาจกดศูนย์การ
หายใจ
5.ซัลฟานาไมด์(Sulfanamide)ห้ามใช้ในเด็ก
ทารกอายุตำ่ากว่า 2 เดือน เพราะอาจทำาให้เกิด
ดีซ่าน และสมองพิการได้
6.เตตร้าซัยคลิน (Tetracyclin)ห้ามใช้ในเด็ก
ทารกอายุตำ่ากว่า 8 ขวบ เพราะอาจทำาให้ฟัน
เหลืองดำาอย่างถาวรและกระดูกเจริญเติบโตไม่
ดี
7.เดกซ์โทรเมทอร์แฟน (Dextromethorpha
n)ห้ามใช้ในเด็กอายุตำ่ากว่า 2 ขวบ เพราะยา
อาจกดศูนย์กลางการหายใจ

กลเม็ดเคล็ดลับการให้ยาในเด็ก
20


1.ต้องใจเย็นและมีความอดทน เพราะโดย
ธรรมชาติของเด็กส่วนใหญ่มักไม่ชอบกินยา
ควรพยายามหว่านล้อมและชักจูงเด็กมากกว่า
ที่จะใช้วธีบังคับ เพราะอาจจะทำาให้เด็กกินยา
         ิ
ยากยิ่งขึ้น
2.ไม่ควรบีบจมูกและกรอกยาใส่ปากเด็กและ
ไม่ควรป้อนยาให้เด็กขณะที่เด็กกำาลังร้องหรือ
ดิ้น เพราะนอกจากจะทำาให้เด็กสำาลักแล้ว ยัง
ส่งผลทางด้านจิตใจต่อเด็กด้วย
3.หากยามีรสชาติไม่ดีหรือกลิ่นไม่น่าทานควร
ผสมนำ้าเชื่อมเพื่อเพิ่มรสชาติที่ดี ทำาให้เด็กกิน
ยาได้ง่ายขึน้
4.ไม่ควรใส่ยาลงไปในขวดนมเพื่อให้เด็กได้รับ
ยาจากการดูดนม เพราะถ้าเด็กดูดนมไม่หมด
จะทำาให้เด็กได้รับยาไม่ครบตามจำานวนที่ควร
จะเป็น นอกจากนันยาบางชนิดอาจทำาให้
                  ้
รสชาติของนมเสียไป อาจส่งผลให้เด็กไม่กิน
นมอีกด้วย
5.ไม่ควรให้ยาพร้อมกับอาหารที่จำาเป็นต่อเด็ก
เพราะจะทำาให้เด็กปฏิเสธอาหารเหล่านั้นภาย
หลัง
6.ใช้อุปกรณ์มาตรฐานในการตวงยาในเด็ก ไม่
ควรใช้ช้อนทานข้าวหรือช้อนชงกาแฟที่ใช้ใน
ครัวเพราะจะทำาให้ได้ปริมาณยาที่ไม่ถูกต้อง
21


  และขนาดมาตรฐานในการตวงยาที่ใช้กันอย่าง
  แพร่หลายคือ 1 ช้อนชา เท่ากับ 5 มิลลิลิตร
  และ 1 ช้อนชา เท่ากับ 15 มิลลิลิตร




    High Alert Drugs (HAD)
>>ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert
Drugs) คือ กลุ่มยาที่มโอกาสสูงที่จะเกิด
                       ี
อันตรายแก่ผู้ป่วย เพราะมีดัชนีการรักษา
แคบหรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะ
สำาคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต ฯลฯ
ตัวอย่างรายการยาทีประกาศเป็น High
                    ่
Alert Drugs ในร.พ.ศิริราช ได้แก่
1. Adrenergic agonist ได้แก่
Adrenaline, Dopamine, Dobutamine
2. Calcium IV ได้แก่ Calcium gluconate
injection
3. Digoxin (Lanoxin®)
4. Heparin (unfractionated)
5. Insulin
6. Potassium injection ได้แก่ KCl
injection
22


7. Phosphate injection ได้แก่ K2HPO4
injection
8. Magnesium IV ได้แก่ 50% MgSO4
Inj., 20% MgSO4 Inj.
9. Morphine
10. Warfarin (Orfarin®) tablet




รายละเอียดเกี่ยวกับยา High alert
drug
1. การรับยาเข้ามาใช้ในโรงพยาบาล
1.1 ยาที่มีความเสี่ยงสูงจะนำาเข้าตามความ
จำาเป็นโดยต้องผ่านการพิจารณาจาก
อนุกรรมการ
พิจารณายาแต่ละกลุ่ม และกำาหนด
มาตรการในการป้องกันอันตรายอย่างเหมาะ
สม
1.2 ยาที่มีความเสี่ยงสูงทีถูกส่งมาเพื่อใช้ใน
                          ่
โรงพยาบาลศิริราช ต้องตรวจรับโดย
เภสัชกรที่ได้รับ
23


มอบหมาย
2. การเก็บรักษา
2.1 ยาที่มีความเสี่ยงสูงทุกชนิดต้องเก็บ
รักษาโดยแยกจากยาอื่นๆหรือป้องกันการ
เข้าถึงได้โดยง่าย
(ยกเว้นยาของผู้ปวยเฉพาะราย)
                  ่
2.2 ต้องมีสัญลักษณ์สีชมพูสดเตือน
บุคลากรว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งอาจ
จะเป็นสติ๊กเกอร์
รูปกลมหรือใช้สีสะท้อนแสงสีชมพูขีดที่ชื่อ
ยา โดยฝ่ายเภสัชกรรมเป็นผู้ดำาเนินการติด
ที่ฉลากยาหรือ
หลอดยาในยา 10 กลุ่มแรก กลุ่มที่เหลือ
หน่วยงานสามารถดำาเนินการได้ตามความ
จำาเป็นของ
หน่วยงาน การติดสติ๊กเกอร์ใน MAR ให้อยู่
ในความรับผิดชอบของฝ่ายการพยาบาล
2.3 ยาที่มีความเสี่ยงสูงกลุ่มยาเสพติดให้
โทษคือ มอร์ฟีน ต้องจำากัดการเข้าถึงโดย
ต้องใส่ในตู้หรือ
ลิ้นชักทีล็อกเสมอ โดยมีผู้ควบคุมการนำา
         ่
ออกใช้ และมีการตรวจสอบจำานวนยาอย่าง
สมำ่าเสมอ
24


3. การสั่งจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
3.1 ไม่สั่งยาที่มีความเสี่ยงสูงด้วยวาจาถ้า
ไม่ใช่กรณีเร่งด่วน และหากจำาเป็นต้องสั่ง
ด้วยวาจา ต้อง
ปฏิบัติตามระเบียบทีวางไว้อย่างเคร่งครัด
                       ่
3.2 ไม่ใช้คำาย่อในการสั่งยาที่นอกเหนือ
จากระเบียบการสั่งจ่ายยาของโรงพยาบาล
ศิริราช
3.3 แพทย์ระบุตัวผูป่วยอย่างถูกต้องก่อน
                     ้
การเขียนสั่งยา
3.4 แพทย์พิจารณาผลตรวจทางห้องปฏิบัติ
การ หรือค่าพารามิเตอร์ที่สำาคัญก่อนสั่งยา
ที่มีความ
เสี่ยงสูงให้แก่ผู้ปวย
                   ่
3.5 แพทย์คำานวณขนาดยาซำ้า กรณีต้องมี
การคำานวณตามนำ้าหนักหรือพื้นที่ผิวเมื่อสั่ง
ยาที่มีความ
เสี่ยงสูง และสั่งโดยระบุขนาดยาต่อหน่วย
นำ้าหนัก หรือพื้นที่ผิวด้วย
3.6 แพทย์พิจารณาข้อห้ามใช้และปฏิกิริยา
ระหว่างยาทีมีความเสี่ยงสูงกับยาอื่นๆที่ผู้
             ่
ป่วยใช้อยู่
ก่อนการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
25


3.7 ถ้ามีแบบฟอร์มสำาเร็จรูป ให้แพทย์ใช้
แบบฟอร์มสำาเร็จรูปในการสั่งยาที่มีความ
เสี่ยงสูง
3.8 ถ้ามีการใช้ยาทีมีความเสี่ยงสูงนอก
                     ่
เหนือจากแบบแผน (protocol) ทีกำาหนดไว้
                                  ่
โดยทีมนำาทาง
คลินิกของภาควิชา ให้แพทย์เขียน
หมายเหตุความจำาเป็นไว้เป็นหลักฐานในคำา
สั่งการรักษาและใบสั่ง
ยา
4. การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
4.1 เมื่อได้รับใบสั่งจ่ายยาทีมีความเสี่ยงสูง
                             ่
เภสัชกรต้องตรวจสอบซำ้า ชื่อนามสกุลผู้
ป่วย ชื่อ
ยา ขนาดยา ปฏิกิริยาระหว่างยา (drug
interaction) และผู้ปวยต้องไม่เป็นผูที่มีข้อ
                       ่            ้
ห้ามใช้
ยาที่มีความเสี่ยงสูงนั้นๆ
(contraindication) ในผู้ป่วยเด็กเภสัชกร
ต้องคำานวณขนาดยาซำ้า
กรณีที่พบปัญหาเภสัชกรต้องติดต่อแพทย์ผู้
สั่งยาทันที
26


4.2 การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง ให้กระทำา
โดยมีการตรวจสอบซำ้าจากบุคคลอีกคนหนึ่ง
เสมอ
เพื่อความถูกต้องของชื่อนามสกุลผู้ป่วย
และความถูกต้องของยาที่จะจ่าย
4.3 การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งมี
เครื่องหมาย **** ที่ชื่อยา ต้องติดฉลาก
ช่วย ข้อควรระวัง
ไว้ที่ซองยาหรือขวดยา หรือมีเอกสาร
แนะนำาผู้ป่วยประกอบการส่งมอบยาทุกครั้ง
4.4 สำาหรับผู้ปวยนอก เภสัชกรเป็นผู้ตรวจ
               ่
สอบ ส่งมอบ ให้ความรู้ในการใช้ยาและการ
เฝ้า
ระวังผลข้างเคียงของยาที่มีความเสี่ยงสูงให้
ผู้ป่วยทราบ
5. การบริหารยา
5.1 เมื่อต้องให้ยา แพทย์หรือพยาบาลผูให้้
ยาต้องตรวจสอบชื่อนามสกุลผู้ปวย ชื่อยา
                                ่
ขนาดยาให้ถูกต้องซำ้าก่อนให้ยาผู้ปวย (
                                    ่
ตรวจสอบทุกขั้นตอนรวมทั้งคำานวณขนาด
ยาซำ้า)
5.2 การเตรียมยาให้ปฏิบัติตามที่ระบุใน
คู่มือ
27


5.3 พยาบาลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ตรวจสอบซำ้า
ก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย
6. การเฝ้าระวังผลการใช้ยาที่มีความ
เสี่ยงสูง
6.1 พยาบาลเฝ้าระวังอาการผูป่วยตามคู่มือ
                              ้
ติดตามและลงบันทึกผลการใช้ยาหรือความ
เปลียนแปลงหลังการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
     ่
ไว้ในแฟ้มผูป่วยหรือเวชระเบียน
             ้
6.2 พยาบาลแจ้งแพทย์เจ้าของไข้ทันที
เมื่อพบความผิดปกติหรือความผิดพลาด
จากการใช้
ยาที่มีความเสี่ยงสูง
6.3 แพทย์เป็นผู้รับผิดชอบการส่งตรวจ
สืบค้นเพื่อติดตามผลการใช้ยาที่มีความ
เสี่ยงสูง
ตามคู่มือที่ได้กำาหนดไว้
6.4 เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรง
หรือเกิดความผิดพลาดที่ถึงตัวผู้ปวยจาก
                                  ่
การใช้ยา
ที่มีความเสี่ยงสูง ผู้พบเหตุการณ์ต้อง
รายงานอุบัติการณ์ทันที
7. การทำาลายยาที่เหลือหรือยาหมด
อายุ
28


7.1 ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่เหลือจากหอผู้
ป่วยหรือหมดอายุแล้ว ให้ส่งคืนฝ่าย
เภสัชกรรมเพื่อ
ทำาลายต่อไป
7.2 ฝ่ายเภสัชกรรมจำาแนกยาที่ต้องการ
ทำาลายเป็นหมวดหมู่และส่งทำาลายตาม
กระบวนการที่คณะกรรมการบริหารจัดการ
ความปลอดภัยด้านสารเคมีกำาหนด
7.3 ยาเสพติดมอร์ฟีนที่เปิดใช้แล้วมียา
เหลือ ให้พยาบาลทำาลายทิ้งโดยมีพยานรู้
เห็นและ
จดบันทึกชื่อยา จำานวนและลงนามไว้ทง      ั้
สองคนเพื่อเป็นหลักฐาน
8. การประกันคุณภาพ
8.1 ต้องมีการสุ่มตรวจสอบการจัดการยาที่มี
ความเสี่ยงสูงทุก 6 เดือน เพื่อให้มั่นใจ
ว่าการ
ใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงถูกต้องตามมาตรฐาน
โรงพยาบาลคุณภาพและนโยบายของ
โรงพยาบาลศิริราช
8.2 เมื่อเกิดอุบัติการณ์ผิดพลาดถึงผู้ป่วย
ต้องมีการวิเคราะห์สาเหตุราก (Root Cause
29


Analysis/ RCA) ร่วมกันในทีมสหสาขา
วิชาชีพเพื่อการแก้ไขเชิงระบบและวาง
แนวทาง
ปฏิบัติที่รัดกุมขึ้นเพื่อป้องกันอุบัติการณ์ซำ้า
โดยส่งรายงานผลการวิเคราะห์และปรับปรุง
ถึงประธานคณะกรรมการควบคุมและดูแล
เรื่องยา โรงพยาบาลศิริราช หรือผู้อำานวย
การโรงพยาบาลศิริราช ภายในระยะเวลา 1
เดือน
ยาที่ประกาศเป็น High Alert Drugs

>>1.Adrenaline (Epinephrine)
30




ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. Cardiopulmonary resuscitation
(CPR)
2. Anaphylaxis
3. Hypotension
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง
• ระมัดระวังการใช้ในผู้ปวยที่มีโรคหัวใจ
                         ่
เต้นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือดส่วน
ปลาย (peripheral
vascular disease)
อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ
• หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ
• ความดันโลหิตสูง
• ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
• หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจ
ทำาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
การจัดเก็บที่เหมาะสม
• เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก
• ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
31


การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย
ในแต่ละข้อบ่งใช้
• Double check ชื่อผู้ป่วย ข้อบ่งใช้และ
ขนาดยา
• Indication Anaphylaxis
o ผู้ใหญ่ IV 0.1-0.25 mg
o ผู้ใหญ่ IM/SC 0.1-0.5 mg
o เด็ก IV และ SC 0.01 mg/kg
• Indication CPR ให้ 1 mg IV
• Indication BP drop ให้ 0.5-4 mg/hr
ทาง IV drip
• การสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุเป็น mg/
mL เช่น 0.1 mg/mL หรือ 1 mg/10 mL
ไม่ควรเขียนเป็น 1:10
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• สารนำ้าทีใช้ได้ : D5W, D5S, NSS, LRS
           ่
• ความคงตัวหลังผสม : 24 ชั่วโมง
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ถ้าให้ IV drip ควรใช้ Infusion pump
32


• ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่
การติดตามผลการใช้ยา
(Monitoring)
• ในกรณี CPR ให้บันทึก Vital signs
( Heart rate, BP) ทันที เมื่อผู้ปวยเริ่มมี
                                 ่
ชีพจร
• ในกรณี Anaphylaxis ให้บันทึก Vital
signs ( Heart rate, BP) ทุก 10 นาที จน
ครบ 30 นาที
• ในกรณี Hypotension ทีมีการให้ยาแบบ
                           ่
IV drip ให้บันทึก Vital signs ( Heart
rate, BP) ทุก 1ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มี
การให้ยา
• หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ
HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP >
120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที
ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที
• ตรวจดูตำาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง
ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์
หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
33


• หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ
HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP >
120/80
mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก
ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง
• หากพบรอยแดง บวม รอยคลำ้าตาม
เส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน
ตำาแหน่งในการให้ยาใหม่

>>2.Calcium injection




ข้อบ่งใช้ (Indication)
34


1. ในผู้ปวยที่มีอาการของภาวะ
           ่
hypocalcemia
2. รักษาภาวะ K+ ในเลือดสูง ทีมีการ่
เปลียนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
    ่
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ถ้าผู้ป่วยได้รับ digoxin อยู่ อาจเพิ่มฤทธิ์
ของ digoxin จนเกิดพิษได้
อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ
• หัวใจเต้นผิดจังหวะ
• หากมี Ca++ สูง อาจทำาให้กล้ามเนื้อ
อ่อนแรง ปวดบริเวณกระดูก
• ถ้ามียารั่วซึมออกมานอกหลอดเลือด จะ
ทำาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้
การจัดเก็บที่เหมาะสม
• เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก
• ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย
ในแต่ละข้อบ่งใช้
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
35


• กรณีใช้แก้ภาวะ K+ ในเลือดสูง มักให้
Ca++ ทาง IV push ช้าๆ
• กรณีใช้แก้ไขภาวะ Ca++ ในเลือดตำ่า
มักให้ IV drip
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ควรผสม Ca++ ใน Sterile water ไม่
ควรใช้ NSS เพราะ sodium จะทำาให้ Ca+
+ ขับออกเร็วขึ้น
• ห้ามผสมใน bicarbonate เพราะจะตก
ตะกอน
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ควรแยกเส้นการให้ Ca++IV กับยาอื่นๆ
เพราะอาจเกิดการตกตะกอนเมื่อผสมกับยา
อื่นๆได้
โดยเฉพาะ phosphate
• ควรให้ยาทางเส้นเลือดใหญ่
• ควรฉีดช้าๆ ประมาณ 15 นาที หรือ เจือ
จาง 1mg/mL หยดเข้าเส้นเลือดดำา
36


การติดตามผลการใช้ยา
(Monitoring)
• กรณีแก้ไข Hyper K+ อาจต้องให้ Ca++
อย่างเร็ว ควร monitor EKG ขณะฉีด IV
push ช้าๆ
• กรณีแก้ไขภาวะ Hypocalcemia ควรมี
การตรวจติดตามระดับ Ca++ หลังได้รับยา
ตามความ
รุนแรงของผู้ปวย
              ่
• ซักถามอาการที่สัมพันธ์กับการมี Ca++
สูง เช่น อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวด
กระดูก ทุกวัน
ในขณะที่ผู้ปวยยังได้รับการรักษาด้วย Ca+
            ่
+IV หากพบว่าผู้ปวยมีอาการดังกล่าว ให้
                  ่
แจ้งแพทย์
ทันที
• ตรวจดู IV site บ่อยๆ ทุก 1 ชั่วโมง
ตลอดระยะเวลาการให้ยา
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์
หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการกล้ามเนื้ออ่อน
แรง ปวดกระดูก หัวใจเต้นผิดจังหวะ
(arrhythmia) ให้
37


หยุดยาทันที ร่วมกับตรวจระดับ Calcium
ในเลือดทันที
• หากพบว่าผู้ป่วยมีระดับ Calcium ในเลือด
สูง ให้หยุดยาทันที ร่วมกับเร่งการขับถ่าย
Calcium
ออกจากร่างกายโดยให้ สารนำ้าชนิด
Normal saline ทาง IV ในอัตราเร็วเริมต้น
                                    ่
200-300 ml/hr แต่ต้องปรับตามสภาพ
ร่างกายและปริมาณปัสสาวะของผู้ป่วย หาก
ไม่ได้ผลหรือผู้ปวยไม่
                ่
สามารถรับสารนำ้าปริมาณมากได้ ให้ปรึกษา
แพทย์เฉพาะทางระบบต่อมไร้ท่อ เพื่อ
พิจารณาให้
ยาชนิดอื่น หรือแพทย์เฉพาะทางโรคไต
เพื่อพิจารณาล้างไต (dialysis)
• หากพบรอยแดง บวม รอยคลำ้าตาม
เส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน
ตำาแหน่งในการให้ยาใหม่




>>3.Digoxin (Lanoxin®)
38


รูปแบบยา
1. Lanoxin   0.25 mg tablet
2. Lanoxin   PG 0.0625 mg tablet
3. Lanoxin   elixir 0.05mg/mL (60 mL)
4. Lanoxin   injection 0.25 mg/mL (2
mL)
39




ข้อบ่งใช้ (Indication)
1. Congestive Heart Failure
2. Reduce ventricular rate
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ระวังการใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย
• ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคไตรุนแรง
• ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มี K+ ตำ่า (ตำ่ากว่า
3.5 mEq/L)
อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ
• Digitalis Intoxication
• หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ
• คลื่นไส้ อาเจียน
• มองเห็นภาพเป็นสีเหลืองหรือเขียว
การจัดเก็บที่เหมาะสม
• เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก
• ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
40


การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย
ในแต่ละข้อบ่งใช้
• Double check ชื่อผู้ป่วย ข้อบ่งใช้และ
ขนาดยา
• ระบุขนาดยาและรูปแบบยาให้ชัดเจน
• ห้ามใช้ตัวย่อในการเขียนชื่อยา
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ชนิดฉีด IV ให้เจือจางอย่างน้อย 4 เท่า
ด้วย SWI, NSS หรือ D5W
• ชนิดรับประทานแบบเม็ดขนาด 0.25 mg
สีขาว มีอักษร X3A
• ชนิดรับประทานแบบเม็ดขนาด 0.0625
mg สีฟ้าเข้ม มีอักษร U3A
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ดูระดับ K+ ก่อนให้ยา Digoxin ถ้า K+
ตำ่ากว่า 3.5 mEq/L ต้องแจ้งแพทย์เพื่อ
ยืนยัน
41


• ตรวจชีพจรและลงบันทึกก่อนให้ยา ใน
ผู้ใหญ่ถ้าชีพจรตำ่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ในเด็ก
ชีพจรเต้นช้า
ผิดปกติเมื่อเทียบตามอายุ ให้แจ้งแพทย์
เพื่อยืนยันก่อนให้ยา
o เด็ก < 1ปี HR ตำ่ากว่า 100 ครั้ง/นาที
o เด็ก 1-6 ปี HR ตำ่ากว่า 80 ครั้ง/นาที
o เด็ก > 6 ปี HR ตำ่ากว่า 60 ครั้ง/นาที
• ชนิดฉีด IV ฉีดช้าๆ เป็นเวลา 5 นาที หรือ
มากกว่า
• ยานำ้ารับประทานต้องใช้หลอดหยดที่มีขีด
บอกปริมาตรแน่นอน
• ถ้าให้เกินวันละ 1 ครั้ง ยืนยันกับแพทย์
ก่อน ยกเว้นผู้ป่วยเด็ก อาจให้วันละ 2 เวลา
ห่างกันทุก
12 ชั่วโมง
การติดตามผลการใช้ยา
(Monitoring)
• กรณี Digoxin ฉีด ควรมีการ monitor
EKG ขณะฉีดยาและหลังฉีดยา 1 ชั่วโมง
• กรณี Digoxin ฉีด ให้บนทึก HR ทุก 15
                          ั
นาที ติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30 นาที
ติดต่อกัน 3
42


ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 5 ชั่วโมง
ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์
• กรณีที่เป็นผู้ปวยในให้ซักถามและสังเกต
                 ่
อาการของภาวะ Digitalis Intoxication ทุก
วัน เช่น
อาการคลื่นไส้ อาเจียน มองเห็นแสงสีเขียว
เหลือง
• ควรตรวจระดับ K+ สัปดาห์ละครั้ง กรณี
เป็นผู้ป่วยใน
• ถ้าสงสัยว่าเกิด Digitalis Intoxication
ให้ส่งตรวจวัดระดับยาในเลือดทันที
(therapeutic level
อยู่ที่ 0.8-2 ng/mL) ถ้าเกิน 2 ng/mL ต้อง
ไม่ให้ยาต่อและแจ้งแพทย์ทันที
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์
หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• เมื่อเกิดภาวะ Digitalis Intoxication ให้
ติด monitor EKG ทันที
• หากได้รับยาโดยการรับประทาน ภายใน
6-8 ชั่วโมง พิจารณาให้ Activated
charcoal ขนาด 1 mg/kg เพื่อช่วยดูดซับ
ยาที่หลงเหลือในทางเดินอาหาร
43


>>4. Heparin
(Unfractionated)




ข้อบ่งใช้ (Indication)
• ต้านการแข็งตัวของเลือด
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
• ห้ามใช้ในผู้ปวยที่มีภาวะเลือดออก
               ่
ง่าย
44


• ไม่ควรให้ยาถ้าเกร็ดเลือด (platelet)ตำ่า
กว่า 100,000/mm3 ยกเว้นกรณี keep
arterial line หรือ central line
• ใช้ในหญิงมีครรภ์ได้เพราะยานี้ไม่ผ่านรก
• ระวังการหยิบสลับกับ insulin
อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ
• ภาวะเลือดออกง่าย
• เกร็ดเลือดตำ่า
การจัดเก็บที่เหมาะสม
• เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก
• ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• แยกเก็บในตู้เย็นช่องธรรมดา 2-8 องศา
เซลเซียส
• การเก็บรักษายา Heparin หลังเปิดใช้
แล้วเก็บได้ 14 วัน
• ระวังการหยิบสลับกับ insulin
การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย
ในแต่ละข้อบ่งใช้
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
45


• ไม่เขียนคำาย่อ U เพราะอาจดูเหมือนเลข
0 (ศูนย์) หรือ cc ควรใช้ unit แทน
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ระวังการหยิบสลับกับ insulin
• การผสมในขวดหรือถุงสารนำ้าต้องพลิก
กลับไปมาให้เข้ากันดีกับสารนำ้าก่อนให้ผู้
ป่วยเสมอ
การบริหารยา
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ควรให้ยาผ่าน infusion pump
• ห้ามให้ยา heparin พร้อมกับยาต่อไปนี้
ampicillin, ciprofloxacin, vancomycin,
cephalosporins,
aminoglycosides, steroids, antiemetics
เพราะอาจตกตะกอน ควรคั่นด้วยการให้
NSS ก่อนและหลังให้ยาแต่ละชนิดเสมอ
การติดตามผลการใช้ยา
(Monitoring)
• ควรตรวจ infusion pump สมำ่าเสมอ
อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
46


• ตรวจ aPTT ก่อนให้ยา หลังให้ยา 6
ชั่วโมง และทุก 24 ชั่วโมง ระหว่างที่ให้ยา
อยู่
• หากมีการปรับเปลี่ยนขนาดยา ควรตรวจ
aPTT ซำ้าหลังปรับขนาดยา 6 ชั่วโมง
• ตรวจ CBC ก่อนให้ยา หากให้ยาเกิน 7
วัน ควรตรวจซำ้า
• ระหว่างที่ใช้ยานี้อยู่ ควรระมัดระวังเรื่อง
เลือดออกง่ายและการเกิดบาดแผลของผู้
ป่วย เช่น การใส่ NG
tube, การดูดเสมหะ การเจาะเลือดบ่อยๆ
เป็นต้น
การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์
หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
• หากพบว่าผู้ป่วยมีเลือดออกผิดปกติ
พิจารณาหยุดยา heparin ไว้ก่อนและ ให้
ทำาการตรวจ CBC และ
aPTT ทันที
• ในกรณีที่มีเลือดออกปริมาณไม่มาก และ
เป็นอวัยวะที่ไม่สำาคัญ (minor bleeding)
ให้หยุดยา heparin ไว้ชั่วคราว จนกว่า
เลือดหยุดและระดับ aPTT ลดลง หากยัง
จำาเป็นต้องให้ heparin ต่อ พิจารณาปรับ
47


ลดขนาดยาลงจากเดิมและ ติดตามค่า
aPTT อย่างใกล้ชิด
• ในกรณีที่เลือดออกมาก หรือมีเลือดออก
ในอวัยวะที่สำาคัญ ให้หยุด heparin ทันนที
พิจารณาให้ยาแก้พิษ
คือ protamine sulphate
• ในกรณีที่ได้รบ heparin แบบ
               ั
continuous infusion จะให้ protamine
sulphate ในขนาด 1 mg ต่อทุก100 unit
ของ heparin ทีได้รับใน 2 ชั่วโมงก่อนหน้า
                 ่
นี้

>>5.Insulin
รูปแบบยา
1. Novorapid 2. Humalog 3. Actrapid
HM 4. Humulin R 5. Gensulin R 6.
Humulin N 7. Gensulin N
8. Insulatard HM 9. Lantus 10.
Novomix 30 11. Humalog Mix 25 12.
Humulin 70/30
13. Mixtard 30 HM 14. Gensulin M
48




ข้อบ่งใช้ (Indication)
• ลดนำ้าตาลในเลือดสำาหรับผู้ปวยเบาหวาน
                             ่
ทั้งชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
49


• ก่อนเพิ่มหรือลดขนาดยา และก่อนให้ยา
ควรตรวจสอบการรับประทานอาหารหรือ
อาการที่มีผลต่อระดับ
นำ้าตาลในเลือดก่อน เช่น อาเจียน


อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ
• ระดับนำ้าตาลในเลือดตำ่า ซึ่งมีอาการแสดง
ที่สำาคัญ ได้แก่ ใจสั่น เหงื่อออกมาก ตัวเย็น
ซึมลง หมดสติ
การจัดเก็บที่เหมาะสม
• เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก
• ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง
• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ระวังการหยิบสลับกับ Heparin
• ควรเก็บรักษา insulin ในตู้เย็นที่ 2-8
องศาเซลเซียส
• Insulin ที่ไม่ได้เก็บในตู้เย็น หรือที่เปิดใช้
แล้ว สามารถใช้ได้ภายใน 1 เดือน
การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย
ในแต่ละข้อบ่งใช้
50


• Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด
ยา
• ไม่เขียนคำาย่อ “U” เพราะอาจดูเหมือน
เลขศูนย์ ควรใช้ “unit” แทน
การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา
• Double check ชนิดและขนาดยาเพราะ
Insulin มีหลายชนิด
• ระวังการหยิบสลับกับ Heparin
• ให้ใช้วิธีกลิ้งขวดบนฝ่ามือทังสอง ห้าม
                               ้
เขย่าขวด
• Insulin ทีฉีด IV ได้มีเพียง Regular
             ่
Insulin (RI) เท่านั้น ( ได้แก่ Actrapid HM
กับ Humulin R)
• การผสม RI เพื่อให้ IV drip ควรผสมเผื่อ
flush สายประมาณ 20 ml เพื่อให้ยา
เคลือบอุปกรณ์ พลาสติกที่ใช้ในการให้ยา
ก่อน
• หากต้องฉีดยา Insulin ชนิดนำ้าใสและนำ้า
ขุ่นพร้อมกัน ต้องดูดยานำ้าใสก่อนเสมอ
การบริหารยา
• Double check ชนิดและขนาดยาเพราะ
Insulin มีหลายชนิด
• ระวังการหยิบสลับกับ Heparin
51


• หากบริหารยาแบบ IV drip ควรใช้
infusion pump
• สอนวิธีดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้องแก่ผู้
ป่วยหรือผู้ดูแล หากผู้ป่วยต้องนำากลับไปใช้
เองที่บาน
       ้
การติดตามผลการใช้ยา
(Monitoring)
• ติดตามระดับนำ้าตาลในเลือดของผู้ป่วย
อย่างใกล้ชิดตามแผนการรักษา ถ้าผิดปกติ
ให้แจ้งแพทย์ ค่า
นำ้าตาลในเลือดปกติ 60-100 mg/dL ใน
พลาสมา 70-110 mg/dL ยกเว้นผู้ปวยที่มี
                                   ่
โรคประจำาตัวอื่นๆให้เทียบจาก baseline
ของผู้ป่วยเอง
• ภายใน 60 นาทีหลังฉีดยา ให้สังเกต
อาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อ
ออกมาก หน้ามืด เป็นลม หมดสติ
• ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่าง
น้อยทุก 2 ชั่วโมง


การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์
หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
52


• หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการ Hypoglycemia
เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด เป็นลม
หมดสติ ให้เจาะ capillary blood glucose
ทันที
• หากพบว่า capillary blood glucose มีค่า
น้อยกว่า 60 mg/dL ถ้ายังได้รับ insulin อยู่
ให้หยุดยา insulinทันที และให้ปฏิบัติดังนี้
o ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ให้ดื่มนำ้าหวานอย่าง
น้อยครึ่งแก้ว ตรวจระดับ capillary blood
glucose ซำ้า
หลังจากรับประทานนำ้าหวาน 30 นาที หาก
ระดับนำ้าตาลกลับมาสู่ภาวะปกติ ให้ตรวจ
ติดตาม
capillary blood glucose เป็นระยะๆ ตาม
คุณสมบัติของ insulin ชนิดนั้นๆ
o ในกรณีที่ผู้ปวยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถ
                   ่
รับประทานอาหารทางปากได้ พิจารณาให้
50% glucose
40-50 ml IV push จากนั้นให้ติดตาม
อาการของผู้ปวยว่าดีขึ้นหรือไม่ ร่วมกับ
                 ่
พิจารณาให้สารนำ้าเป็น
10% dextrose ในอัตราเร็ว 80-100 ml/hr
ตรวจระดับ capillary blood glucose ซำ้า
53


หลังได้รบการรักษาไปแล้วประมาณ 30
        ั
นาที ปรับอัตราเร็วของสารนำ้าตามระดับ
นำ้าตาลและสภาพของผู้ป่วย ตรวจติดตาม
capillary blood glucose เป็นระยะๆ ตาม
คุณสมบัติของ insulin ชนิดนั้นๆ
54




Cyp 3A4 inhibitor and Cyp 3A4
inducers
Cyp 3A4 inhibitor
Strong cyp3A4 inhibitors
Clarithromycin
Indinavir
Isoniazid
Itraconazole
Nefazodone
Nicardipine
Modurate cyp3A4 inhibitors
Amiodarone
Cimetidine
Sertraline
Erythromycin
Haloperidol
Verapamil
Weak cyp3A4 inhibitors
55


Anastrozone
Betamethazone
Cisapride
Cyclophosphamide
Sildenafil
Entacapone
Cyp 3A4 inducers
Bosentan
Cabamazepine
Nevirapine
Phenytoin
Rifampin
Dexamethazone
56




         การแบ่งประเภท ADR
1.Tye A -Augmented เป็นอาการไม่
พึงประสงค์ที่คาดคะเนได้จากฤทธิ์ทาง
เภสัชวิทยา ขึ้นกับขนาดยาที่ใช้ อาการ
รุนแรงน้อยกว่า
2. Tye B-Bizarre response เป็น
อาการไม่พึงประสงค์ที่ไม่สามารถคาด
คะเนได้ ไม่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ทาง
เภสัชวิทยา อาการจะรุนแรงบางราย
ถึงขั้นเสียชีวิต
3. Tye C-chronic ปฏิกิริยาที่เกิดแบบ
เรื้อรังเกิดอย่างต่อเนื่องจาการใช้ยา
เป็นเวลานาน
4. Tye D-Delayed ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ช้าๆเป็น 10 ปี
5. Tye E-End of use เป็นปฏิกิริยาที่
เกิดขึ้นจากการหยุดใช้ยา
57


6. Tye F-Failure เกิดจากการใช้ยา
แล้วล้มเหลว




      PARKINSON DISEASE
       โรคพาร์กินสัน จะมีการเสื่อมของเซลล์
ประสาทใน substantia nigra pars compacta
(SNc) ทำา
ให้ปริมาณ DA (Dopamine) ลดลงมาก
อาการ
  1. Resting tremor มีอาการสั่นในขณะที่อยู่นิ่ง
  2. Bradykinesia (เคลื่อนไหวช้า) หรือ
Akinesia (เคลื่อนไหวไม่ได้)
  3. Muscle rigidity or Cogwheel Rigidity (
อาการเกร็งที่กล้ามเนื้อ)
  4. Postural Instability (การทรงตัวไม่ด)
                                        ี
  5. Micrographia (การเขียนหนังสือแล้วตัวเล็ก
ลงเรื่อยๆ)
  6. Masked face (ใบหน้าไม่แสดงอารมณ์)
58


สาเหตุ
   1. Primary: ความผิดปกติของเซลล์ประสาท
   ที่ SNc ซึ่งเป็นผลมาจากการเกิด oxidative
   stress
   2. Secondary เกิดจากการได้รับสารพิษ
   เข้าไปทำาลาย Dopamine หรือยับยั้งการสร้าง
   Dopamine
Drug-induced Parkinsonism
        Antipsychotics, Reserpine,
Ictrabenazine, Methyldopa, CCB, SSRI
Treatment
        1. ให้ L-dopa (Levodopa,
Sinemet®, Madopar®)
                - ผ่าน BBB ได้
                - ควรหลีกเลี่ยงการทาน L-dopa
        พร้อมอาหารที่มี protein สูง เพราะจะลด
        การดูดซึมของยา
                - L-dopa ถูกเปลี่ยนโดย aromatic
        amino acid decarboxylase ได้เป็น DA
        ทั่วร่างกาย ทำาให้อาจ
                เกิดอาการข้างเคียงจากการมี DA
        มากเกินที่ peripheral เช่น
                       เ GI: ทำาให้เกิด คลื่นไส้
                อาเจียน
                       อ Heart: ทำาให้หัวใจเต้นเร็ว
                       และแรง เนื่องจาก DA
59


                   สามารถกระตุ้น β1-receptor
                   ได้
           - L-dopa จึงต้องให้ร่วมกับ
    peripheral dopa decarboxyalse
    inhibitor เช่น carbidopa,
           benserazide
                   L-dopa + carbidopa
           Sinemet®
                   L-dopa + benserazide
                   Madopar®
           - เริ่มจาก dose 25/100 แล้ว titrate
    dose ขึนตาม levodopa โดย MAX dose
            ้
    คือ 800 mg
           - ถ้ามีอาการ dyskinesia ให้ลด
           dose ลงทีละ 25 mg และ monitor
           จนอาการดีขึ้น
           - S/E: ระวังการเกิด Hypotension,
    N/V (ให้ DA antagonist คือ
    domperidone เพราะไม่เข้า
           สมอง ไม่ใช้ Chlorpromazine และ
    Metoclopramide เพราะจะเข้าสมองไปลด
    DA ในสมอง ทำา
           ให้อาจเป็น PD มากขึ้น)
    2. ใช้ MAOB inhibitor (Selegiline,
Rasagiline)
           MOA: ลดการทำาลาย Dopamine
    และลดการเกิด free radical
60


             Dose: 10 mg/day แบ่งเป็น 5 mg
     (Selegiline ให้เช้าและบ่าย เพราะทำาให้
     เกิด insomnia หรือ
             Hallucination ได้
             Note: ได้ผลดีใน early PD แต่ใน
     pt ที่เป็นมากๆ จะใช้ Rasagiline Combine
     กับยาอื่น
             DI: Antidepressant (TCA, SSRI)
     เพราะอาจทำาให้มี 5-HT, NE มากเกินไป
     ทำาให้เกิดอาการ
             ข้างเคียง เช่น hyperthermia,
     rigidity
     3. Inhibit DA Reuptake
(Amantadine)
             MOA: กระตุ้นการหลั่ง และยับยั้งการ
     reuptake ของ DA
             S/E: Anticholinergic side effect
     เช่น ปากแห้ง คอแห้ง
             Note: ปรับขนาดในผู้ป่วยโรคไต
     และระวังการใช้ในคนสูงอายุ
     4. COMT inhibitor (Entacapone,
Tolcapone): ไม่ใช้เดี่ยวๆ ต้องให้ร่วมกับ L-
dopa เสมอ
             - เพิ่ม duration ของ L-dopa เพราะ
     ไปยับยั้งไม่ให้ COMT ไปทำาลาย L-dopa
             S/E: ทำาให้ Urine สีเปลี่ยนไป เป็นสี
     นำ้าตาล-ส้ม
61


            • Entacapone: Selective COMT
     inhibitor ที่ peripheral
            • Tolcapone: (Potent และ
     Duration มากกว่า) Selective COMT
     inhibitor ที่ Peripheral และ
            Central ทำาให้อาจมีอาการข้างเคียง
     ของระบบประสาทส่วนกลางได้
     5. Dopamine receptor agonist
     (Bromocriptine, Pramipexole)
            - ADR ขึ้นกับปริมาณยาที่ได้รับ (,
     Orthostatic hypotension)
            - ไม่ใช้ในคนไข้สูงอายุ เพราะจะเกิด
     ADR ได้ง่ายขึ้น และรุนแรงมาก
            - มักทำาให้เกิด S/E ทาง GI,
     Confusion, Hallucination และ
     Orthostatic hypotension (ควรให้
            ก่อนนอน) โดย S/E ขึนกับปริมาณ
                                  ้
     ยาที่ได้รับ
            • Bromocriptine: เป็น D2-R
     agonist และ weak D1-R antagonist
            • Pergolide: เป็นทั้ง D1 และ D2
     Receptor agonist R potent & duration
     > Bromocriptine
            • Pramipexole: ไม่ต้องปรับ
     ขนาดยา ในผู้ป่วยโรคไต
     6. Anticholinergics
(Trihexylphenidyl, Benztropine)
62


            - ไม่ควรใช้เนื่องจากทำาให้
      cognition เสียได้
            - จะใช้ช่วย resting tremor,
      muscle rigidity




                       หู
หูอักเสบ ( otitis )
●หูชั้นนอกอักเสบ ( otitis externa )

         เป็นการติดเชื้อของใบหูและรูหู มักเกิดจาก
การแคะหู ปั่นหูโดยใช้สิ่งของที่ไม่สะอาด หรือ
ทำาให้เกิดบาดแผลตรงบริเวณรูหู หรือเกิดจากการ
ที่นำ้าเข้าหูจากการว่ายนำ้า สาดนำ้า เป็นต้น
         อาการ : ปวดหูและจะบวมมากขึนถ้านอน
                                         ้
หรือตะแคงทับหูข้างนัน เมื่อสัมผัสใบหูจะรู้สึกเจ็บ
                        ้
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า

More Related Content

What's hot

กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...Vorawut Wongumpornpinit
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...Vorawut Wongumpornpinit
 
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015Kanon Thamcharoen
 
ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60
ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60
ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60Paradee Plodpai
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...Vorawut Wongumpornpinit
 
พรบ.ยา2510
พรบ.ยา2510พรบ.ยา2510
พรบ.ยา2510plaziiz_z
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (16)

กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
 
News 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tabletsNews 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tablets
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
 
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
 
ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60
ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60
ยา (ไม่ปลอดภัย) ในชุมชนนำเสนอ 24 พค 60
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
 
พรบ.ยา2510
พรบ.ยา2510พรบ.ยา2510
พรบ.ยา2510
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
Self assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug storeSelf assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug store
 

Similar to รวมเล่มรายงานเอห้า

ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacyatit604
 
แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015Kanon Thamcharoen
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13Utai Sukviwatsirikul
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ Utai Sukviwatsirikul
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่Prapakorn Srisawangwong
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementSurang Judistprasert
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 

Similar to รวมเล่มรายงานเอห้า (20)

ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่Gpp sep 2015
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
 
21 23 (1)
21 23 (1)21 23 (1)
21 23 (1)
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
บรรยาย
บรรยายบรรยาย
บรรยาย
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 

รวมเล่มรายงานเอห้า

  • 1. 1 กฎหมายร้านยา ประเภทของใบอนุญาต ประกอบด้วย 1.1 ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน (ขย.1) ขายยา ได้ทุกประเภทยกเว้นยาเสพติดให้โทษ และวัตถุ ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท 1.2 ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุ เสร็จ ที่มิใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ (ขย.2) ปัจจุบนไม่มีการออกใบอนุญาตเพิ่มอีก ั 1.3 ใบอนุญาตขายยาเสพติดให้โทษประเภท 3 1.4 ใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ต่อประสาท ประเภท 3 และ 4 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้รับอนุญาต หน้าที่ มาตรา ความรับผิดกรณี ฝ่าฝืนกฎหมาย 1. มีสถานที่ขายยาและ 14 (7) ผู้อนุญาตไม่ออก อุปกรณ์ที่ใช้ในการขาย ใบอนุญาตให้ ยาและการควบคุมหรือ กฎ รักษาคุณภาพยาซึ่งมี กระทรวง ลักษณะ และจำานวน ตามที่กำาหนด ในกฎ (15) ข้อ 6 กระทรวง 2. ไม่ขายยานอกสถาน 19 (1) ปรับ 2,000-5,000 ที่ที่กำาหนดไว้ในใบ บาท อนุญาตเว้นแต่เป็นการ
  • 2. 2 ขายส่ง 3. ขายยาตรงตาม 19 (2) ปรับ 2,000-5,000 ประเภท บาท 4. แสดงป้ายถูกต้อง 26 (1) ปรับ 2,000-10,000 ตามกำาหนด บาท 5. แยกเก็บยาเป็น 26 (2,3) ปรับ สัดส่วน รวมทั้งแยก 2,000-100,000 จากยาเสพติด พรบ.ยา บาท แล้วแต่กรณี เสพติดมาตรา 31 (2) และวัตถุออกฤทธิ์ พรบ.วัตถุออกฤทธิ์ มาตรา 28 (2) 6. จัดให้ฉลากที่ 26 (5) ปรับ 2,000-10,000 ภาชนะและหีบห่อบรรจุ บาท ยา มีข้อความครบถ้วน 7. จัดทำาบัญชีซื้อและ 26 (6) ปรับ 2,000-10,000 ขายยาให้ถูกต้อง บาท 8. จัดทำารายงานการ 26 (5) ปรับ 2,000-10,000 ขายยาตามที่ อย. บาท กำาหนดทุก 4 เดือน 9. แสดงใบอนุญาต 29 ปรับไม่เกิน 1,000 ของตนและผู้มีหน้าที่ บาท ปฎิบัติการติดไว้ ณที่ เปิดเผยเห็นได้ง่าย 10. ไม่ขายยาอันตราย 32 โทษจำาและ/หรือ หรือยาควบคุมพิเศษ ปรับตามแต่กรณี
  • 3. 3 ระหว่างเภสัชกรไม่อยู่ ปฎิบัติหน้าที่ 11. ไม่ขาย 72 (ดูรายละเอียดใน (1) ยาปลอม หัวข้อที่ 5) หน้าที่ (2) ยาผิดมาตรฐาน 4 (3) ยาผิดมาตรฐาน (4) ยาที่มิได้ขึ้น ทะเบียนตำารับ (5) ยาถูกยกเลิก ทะเบียนยา (6) ยาถูกยกเพิกถอน ทะเบียนยา 12. ไม่ขายยาชุด 75 ทวิ จำาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท ป้ายที่ร้านยาต้องจัดทำา 1. ป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ขายยา -สถานที่ขายยาแผนปัจจุบัน มีป้ายทำาด้วยวัตถุ ถาวร สีนำ้าเงิน ขนาดกว้างยาวไม่น้อยกว่า 20 × 70 เซนติเมตร และมีข้อความเป็นตัวอักษรไทยสี ขาวสูงไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ว่า “สถานที่ขาย ยาแผนปัจจุบัน” -สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที มิใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ -หรือสถานที่ขายยาแผนโบราณ มีป้ายทำาด้วย วัตถุถาวร สีเขียว ขนาดกว้าง ยาว ไม่น้อยกว่า 20
  • 4. 4 × 70 เซนติเมตร ว่า “สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน ั เฉพาะยาบรรจุเสร็จที่มิใช่ยาอันตรายหรือยา ควบคุมพิเศษ” หรือ “สถานที่ขายยาแผน โบราณ”--สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยา บรรจุเสร็จสำาหรับสัตว์มีป้ายทำาด้วยวัตถุถาวร สี แดง ขนาดกว้างและยาวไม่น้อยกว่า 20 × 70 เซนติเมตร และมีข้อความเป็นตัวอักษรไทยสีขาว สูงไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ว่า “สถานที่ขายยา แผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสำาหรับสัตว์” 2. ป้ายแสดงชื่อผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ ป้ายทำาด้วยวัตถุถาวรสีนำาเงิน สีเขียว หรือสี แดง ตามประเภทสถานที่ขายยาขนาดกว้าง ยาวไม่เกิน 20 × 50 เซนติเมตรแสดงชื่อตัว ชื่อสกุล และวิทยฐานะของผู้มีหน้าที่ปฏิบัติ การและเวลาที่ปฏิบัติการ หน้าที่และความรับผิดของผู้ปฎิบัติหน้าที่ ความรับผิดกรณี หน้าที่ มาตรา ฝ่าฝืนกฎหมาย 1. อยู่ประจำาตลอดเวลาที่เปิด ปรับ 1,000-5,000 39 ทำาการ บาท ปรับ 1,000-5,000 2. ควบคุมการแยกเก็บยา 39 (1) บาท
  • 5. 5 3. ควบคุมการปฏิบัติเรื่อง ปรับ 1,000-5,000 39 (2) ฉลาก บาท 4. ควบคุมการขายยาให้เป็นไป ปรับ 1,000-5,000 39 (3) ตามพระราชบัญญัตินี้ บาท 5. ควบคุมการส่งมอบยา ปรับ 1,000-5,000 39 (6) อันตรายและยาควบคุมพิเศษ บาท ปรับ 1,000-5,000 6. ควบคุมการทำาบัญชียา 39 (7) บาท 7. การอื่นตามที่กำาหนดในกฎ ปรับ 1,000-5,000 39 (8) กระทรวง บาท กฎ 8. ควบคุมการใช้อุปกรณ์ที่ใช้ กระทรวง ปรับ 1,000-5,000 ในการรักษาคุณภาพยาที่เก็บ ฉบับที่ 15 บาท ไว้ซึ่งต้องมีจำานวนเพียงพอ ข้อ 8 9. ให้คำาแนะนำาตามสมควร กฎ ปรับ 1,000-5,000 เกี่ยวกับการใช้ยาอันตรายเพื่อ กระทรวง บาท ความปลอดภัยตาม หลักวิชา ฉบับที่ 15 และตามมรรยาทแห่งวิชาชีพ ข้อ 9 (5) 10. ควบคุมให้การขายยา ควบคุมพิเศษเฉพาะแก่ผู้รับ กฎ ปรับ 1,000-5,000 อนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน กระทรวง บาท และผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ฉบับที่ 15 ข้อ 9 (6)
  • 6. 6 11. ควบคุมให้ขายยาบรรจุ กฎ ปรับ 1,000-5,000 เสร็จสำาหรับสัตว์ที่เป็นยา กระทรวง บาท ควบคุมพิเศษเฉพาะแก่ผู้รับ ฉบับที่ 15 อนุญาตขายยาแผนปัจจุบันซึ่ง ข้อ 9 (7) มีเภสัชกรชั้นหนึ่งเป็นผู้มีหน้าที่ ปฏิบัติการผู้รับอนุญาตขายยา แผนปัจจุบันเฉพะยาบรรจุเสร็จ สำาเร็จสัตว์ซึ่งมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง หรือผู้ประกอบการบำาบัดโรค สัตว์ชั้นหนึ่งเป็นผู้มีหน้าที่ ปฏิบัติการหรือแก่ผู้ประกอบ การบำาบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่ง โทษจำาและ/หรือ 12. ห้าม ปรับตามแต่กรณี (1) ขายยาปลอม 72 (ดูรายละเอียดใน (2) ยาผิดมาตรฐาน หัวข้อที่ 4 หน้าที่ 9 (3) ยาเสื่อมคุณภาพ (4) ยาที่มิได้ขนทะเบียน ยา ึ้ ถูกเลิกทะเบียน
  • 7. 7 ข้อกฎหมายที่ควรทราบ มาต ข้อกฎหมาย บทกำาหนด รา โทษ 35 ผู้รับอนุญาตผู้ใดเลกกิจการ ปรับไม่เกิน ที่ได้รับอนุญาตตามพระราช 1,000 บาท บัญญัตินี้ต้องแจ้งการเลิก กิจการเป็นหนังสือให้ผู้ อนุญาตทราบไม่เกิน 15 วัน นับตั้งแต่วันเลิกกิจการและ ให้ถือว่าใบอนุญาตหมด อายุตั้งแต่วันเลิกกิจการตาม ที่แจ้งไว้นั้น 36 ผู้รับอนุญาตซึ่งได้แจ้งเลิก ไม่มี กิจการจะขายยาของตนที่ เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาต อื่นๆ หรือแก่ผู้ซึ่งผู้อนุญาต เห็นสมควรได้ภายใน 90 วัน นับแต่วันเลิกกิจการ เว้น แต่ผู้อนุญาตจะผ่อนผัน ขยายระยะเวลาดังกล่าวให้ 37 ถ้าผู้รับอนุญาตตาย หรือมี ไม่มี บุคคลผู้ซึ่งมีคุณสมบัติอาจ
  • 8. 8 เป็นผู้รับอนุญาต ได้ตามพ ระราชบัญญัตินี้แสดงความ จำานงต่อผู้อนุญาตภายใน 30 วันนับแต่วันที่ผู้รับ อนุญาตตาย เพื่อขอดำาเนิน กิจการที่ผู้ตายได้รับ อนุญาตนั้นต่อไป ก็ให้ผู้ แสดงความจำานงนั้นดำาเนิน กิจการต่อไปจนกว่าใบ อนุญาตสิ้นอายุ ในกรณีเช่น ว่า นี้ให้ถือว่าผู้แสดงความ จำานงเป็นผู้รับอนุญาตตามพ ระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วัน ผู้รับอนุญาตตาย 45 ห้ามมิให้เภสัชกร ผูประกอบ ้ ปรับตั้งแต่ วิชาชีพเวชกรรม ผูประกอบ ้ 1,000 – โรคศิลปะแผนปัจจุบนชันหนึง 5,000 บาท ั ้ ่ ในสาขาทันตกรรม การ ผดุงครรภ์ หรือการพยาบาล ผูประกอบการบำาบัด โรคสัตว์ ้ ปฏิบตหน้าทีผมหน้าทีปฏิบติ ั ิ ่ ู้ ี ่ ั การในสถานทีผลิตยา สถาน ่ ทีขายยาหรือสถานทีนำาหรือ ่ ่ สังยาเข้ามาในราชอาณาจักร ่ โดยตนมิได้มชอเป็นผูมหน้าที่ ี ื่ ้ ี
  • 9. 9 ปฏิบตการในสถานทีนน ั ิ ่ ั้ 48 ผูมหน้าทีปฏิบตการต้องอยู่ ้ ี ่ ั ิ เพิกถอนใบ วรรค ประจำา ณ สถานทีผลิตยา ่ อนุญาต สอง สานทีขายยา หรือสถานทีนำา ่ ่ หรือสังยาเข้ามาในราช ่ อาณาจักร ได้เพียงแห่งเดียว 79 ยาสมุนไพรไม่จำาเป็นต้องขึน ้ ไม่มี ทวิ ทะเบียน (ยาสมุนไพร หมาย ถึง ยาทีได้จากพฤกษชาติ ่ สัตว์หรือแร่ซงมิได้ผสม ปรุง ึ่ หรือแปรสภาพ อนึงสำานักงาน ่ คณะกรรมการกฤษฎีกา ตีความว่าการแปรสภาพ หมายถึง ต้องไม่สามารถ จำาแนกได้วาเป็นชินส่วนใด ่ ้ ของ พืช สัตว์) 90 ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดย ปรับไม่เกิน วิธแถมพก หรือออกสลาก ี 100,000 รางวัล บาท 95 เมือปรากฏต่อผูอนุญาตว่า ่ ้ จำาคุกไม่ ผูรบอนุญาตผูใดไม่ปฏิบติ ้ั ้ ั เกิน 5 ปี ตามพระราชบัญญัตนี้ หรือกฎ และปรับไม่ ิ กระทรวงทีออกตามพระราช่ เกิน บัญญัตนี้ ผูอนุญาตโดยคำา ิ ้ 10,000 แนะนำาของคณะกรรมการมี บาท อำานาจสังพักใช้ใบอนุญาตได้ ่ โดยมีกำาหนดครั้งละไม่เกิน
  • 10. 10 120 วัน หรือในกรณีที่มีการ ฟ้องผู้รับอนุญาตต่อศาลว่า ได้กระทำาความผิดตามพระ ราชบัญญัตินี้จะสั่งพักใช้ใบ อนุญาตไว้รอคำาพิจารณาอัน ถึงที่สุดได้ ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกพักใช้ใบ อนุญาตต้องหยุดการผลิต ยา การขายยาหรือการนำา หรือสั่งยาเข้ามาในราช อาณาจักรแล้วแต่กรณี และ ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบ อนุญาตนั้นจะขอรับใบ อนุญาตใด ๆ ตามพระราช บัญญัตินี้อีกไม่ได้ 96 เมื่อปรากฏต่อผู้อนุญาตว่า ไม่มี ผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติ ตามมาตรา 14 หรือ มาตรา 48 ผู้อนุญาตโดยคำาแนะนำา ของคณะกรรมการมีอำานาจ สั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้ ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอน ใบอนุญาตต้องหยุดการ ผลิตยา การขายยา หรือ การนำาหรือสั่งยาเข้ามาใน ราชอาณาจักร แล้วแต่กรณี และจะขอรับใบอนุญาตใด
  • 11. 11 ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้อีก ไม่ได้จนกว่าจะพ้น 2 ปี นับ แต่วันที่ถูกเพิกถอนใบ อนุญาต และผู้อนุญาตจะ ออกใบอนุญาตให้หรือไม่ ก็ได้ สุดแต่จะพิจารณาเห็น สมควร 97 คำาสั่งพักใช้ใบอนุญาตให้ ไม่มี ทำาเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับ อนุญาตทราบ และในกรณี ไม่พบตัวผู้ถูกสั่งหรือผู้ถูก สั่งไม่ยอมรับคำาสั่งดังกล่าว ให้ปิดคำาสั่งไว้ ณ ที่เปิดเผย เห็นได้ง่ายที่สถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา หรือสถานที่ นำาหรือสั่งยาเข้ามาในราช อาณาจักร และให้ถือว่าผู้รับ อนุญาตได้รับคำาสั่งนั้นแล้ว ตั้งแต่วันที่ปิดคำาสั่ง คำาสั่งพักใช้ใบอนุญาตและ คำาสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะ โฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือ โดยวิธีอื่นอีกด้วยก็ได้ 99 ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพัก ไม่มี ใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอน ใบอนุญาตมีสิทธิ์อุทธรณ์ ต่อรัฐมนตรีภายใน 30 วัน
  • 12. 12 นับแต่วันที่ทราบคำาสั่ง รัฐมนตรีมีอำานาจสั่งให้ยก อุทธรณ์หรือให้แก้ไขคำาสั่ง ขอผู้อนุญาตในทางที่เป็น คุณแก่ผู้อุทธรณ์ได้ คำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้ เป็นที่สุดการอุทธรณ์ตาม วรรคหนึ่งย่อมไม่เป็นการ ทุเลาการบังคับตามคำาสั่ง พักใช้ใบอนุญาต หรือคำาสั่ง เพิกถอนใบอนุญาต 100 ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตจะ ไม่มี ขายยาของตนที่เหลืออยู่แก่ ผู้รับอนุญาตอื่นหรือแก่ผู้ซึ่ง ผู้อนุญาตเห็นสมควรได้ ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้ ทราบคำาสั่งเพิกถอนใบ อนุญาตหรือวันที่ได้คำา วินิจฉัยของรัฐมนตรีเว้นแต่ ผู้อนุญาตจะผ่อนผันขยาย ระยะเวลาดังกล่าว
  • 13. 13 ประเภทของยาตามกฎหมาย ความสำาคัญและ การจำาแนก พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่ม เติม จำาแนกยาเป็น 3 กลุ่ม คือ ยาอันตราย ยา ควบคุมพิเศษ และยาสามัญประจำาบ้าน ยาแต่ละ กลุ่มจัดขึ้นตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขซึ่งจะ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาตามเหตุผลและความ จำาเป็น เพราะยาแต่ละกลุ่มสามารถกระจายถึงมือผู้ บริโภคต่างกัน กล่าวคือ - ยาสามัญประจำาบ้าน เป็นยาที่ได้รับการพิจารณา แล้วว่าปลอดภัย โอกาสเป็นอันตรายต่อสุขภาพมี
  • 14. 14 น้อย ให้วางจำาหน่ายได้โดยทั่วไป และผู้ซื้อ สามารถตัดสินใจซื้อด้วยตนเองตามอาการเจ็บป่วย แต่ยาที่เป็นยาสามัญประจำาบ้านได้นั้นต้องเป็น ตำารับยา สรรพคุณ ขนาด วิธีใช้ คำาเตือนการเก็บ รักษา และขนาดบรรจุตามที่กำาหนด - ยาอันตราย เป็นยาที่ต้องขายเฉพาะในร้านขาย ยาแผนปัจจุบันภายใต้การควบคุมของเภสัชกรผู้ มีหน้าที่ปฏิบัติการ - ยาควบคุมพิเศษ เป็นยาที่จ่ายได้เมื่อมีการนำา ใบสั่งยามาซื้อยา กลุ่มนี้เป็นยาที่มีความเป็นพิษภัย สูงหรืออาจก่ออันตรายต่อสุขภาพได้ง่าย จึงเป็นยา ที่ถูกจำากัดการใช้ ยาทั้งสามกลุ่มนี้สามารถจำาหน่ายได้ในร้าน ที่มีใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน ส่วนร้าน ขย. 2 นั้น จำาหน่ายได้เฉพาะยาสามัญประจำาบ้าน และยา แผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่มิใช่ยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษ โดยมีเงื่อนไขว่ายาที่ จำาหน่ายในร้าน ขย. 2 นัน ต้องเป็นการจำาหน่าย ้ โดยไม่แบ่งออกมาจากภาชนะบรรจุเดิม คือต้อง จำาหน่ายทั้งแผงหรือขวด จำาแนกยากลุ่มต่าง ๆ กระทำาได้โดยสังเกต จากฉลาก เพราะกฎหมายกำาหนดให้ยาที่ขึ้น ทะเบียนตำารับแล้วทุกตัว ต้องระบุประเภทของยา บนฉลากด้วย อักษรสีแดง ( ตัวอย่างยากลุ่มต่าง ๆ แสดงไว้ในภาคผนวกที่ 1) ส่วนความรับผิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับประเภทของยามีดังนี้
  • 15. 15 ประเภท ใบ อนุญาต สาระ บท กำาหนด โทษ ขย. 2 ขายยาผิด ประเภทที่ ได้รับ อนุญาต กล่าวคือ ขายยา อันตราย หรือยา ควบคุม พิเศษ (มาตรา 19(2)) ปรับ 2,000 – 15,000 บาท
  • 16. 16 การใช้ยาในเด็ก 1.เด็กแรกเกิด (New Born) หมายถึง เด็กแรก คลอดจนถึง 4 สัปดาห์ 2.เด็กอ่อนหรือทารก (Infant) หมายถึง เด็กแรก คลอดจนถึง 1 ขวบ 3.เด็กเล็ก หมายถึง เด็ก 1 ขวบถึง 6 ขวบ 4. เด็กโต หมายถึง เด็ก 6 ขวบถึง 12 ขวบ สำาหรับเด็กอายุ 12 ขวบขึนไป สามารถใช้ยาได้ ้ เหมือนกับผู้ใหญ่ ข้อควรพิจารณาเบืำองต้นสำาหรับ การใช้ยาในเด็ก ได้แก่ 1.ไม่ควรใช้ยาโดยไม่จำาเป็น หากหลีกเลี่ยงได้ควร หลีกเลี่ยง เพราะโรคบางโรคที่ไม่รุนแรงสามารถ ปล่อยให้อาการทุเลาเองได้ 2.ควรเลือกยาที่มีความปลอดภัยสูง โดยพยายาม เลือกยาที่คุ้นเคยที่เคยใช้แล้วปลอดภัย พยายาม หลีกเลี่ยงการใช้ยาชนิดใหม่ๆที่ไม่จำาเป็น 3.ควรอ่านฉลากยาให้ถี่ถ้วนก่อนใช้ยาและสังเกต ลักษณะของยาว่ามีลักษณะทางกายภาพ เปลี่ยนแปลงจากที่เคยใช้หรือไม่ เนื่องจากแพทย์ หรือเภสัชกรมักเลือกยาประเภทนำ้าเชื่อมให้เด็ก
  • 17. 17 ซึ่งยาประเภทดังกล่าวจะหมดอายุเร็วกว่ายา ประเภทยาเม็ด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงลักษณะทาง กายภาพของยาอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อเด็กที่ กินยาได้ 4.หากเด็กโตพอที่จะกินยาเม็ดได้ ให้เลือกใช้ยา เม็ดดีกว่ายานำ้า เพราะนอกจากราคาถูกกว่าแล้วยัง พกพาสะดวกและหมดอายุช้ากว่าด้วย สำาหรับยา ฉีดควรหลีกเลี่ยงมากที่สุด ยกเว้นในกรณีที่จำาเป็น จริงๆ โดยแพทย์เป็นผู้สั่งใช้ยาฉีดและฉีดโดย แพทย์หรือพยาบาลเท่านั้น เนื่องจากยาฉีดมี โอกาสแพ้แบบช็อค (Anaphylaxis) อย่างรุนแรง กว่ายาชนิดอื่น ข้อควรระวังเมื่อใช้ยากับเด็ก 1. ยาปฏิชีวนะ นิยมทำาเป็นรูปผงแห้ง ก่อน ผสมนำ้าควรเคาะขวดยาให้ผงยากระจายตัว ก่อน จึงผสมนำ้าสุกที่เย็นแล้วให้ได้ระดับที่ กำาหนด ยาบางชนิดเมื่อผสมนำ้าแล้วต้อง เก็บในตู้เย็นและต้องกินยาติดต่อกันจนหมด แม้อาการจะหายดีแล้ว ยกเว้นกรณีแพ้ยาให้ หยุดยาทันทีและรีบพบแพทย์ ยาลดไข้ ที่นิยมให้เด็กกิน คือ พาราเซตามอล(Paracetamol) โดยให้เด็ก กินทุกๆ 4-6 ชัวโมงจนไข้ลด แต่ถ้าอาการ ่ ไม่ดีขนภายใน 2 วัน หรือมีไข้สูงมาก ควร ึ้
  • 18. 18 ไปพบแพทย์ ห้ามเปลี่ยนไปใช้ยา แอสไพรินหรือไอบูโปรเฟนเพราะหากเด็ก เป็นไข้เลือดออกจะทำาให้เกิดอันตรายได้ 2. และยาพาราเซตามอลไม่ควรกินยาติดต่อ กันเกิน 5 วัน เพราะอาจมีผลเสียต่อตับได้ ส่วนกรณีจำาเป็นเมื่อต้องใช้ยาลดไข้ แอสไพริน หรือ ไอบูโปรเฟนควรรับ ประทานหลังอาหารทันทีเนื่องจากยานี้ ระคายเคืองกระเพาะอาหาร 3. ยาแก้ไอ ไม่ควรนำายาแก้ไอของผู้ใหญ่มา ให้เด็กกิน เพราะยาบางชนิดอาจผสม แอลกอฮอล์ หรือยาบางตัวอาจมีฤทธิ์กด ศูนย์กลางการหายใจ อาจทำาให้เด็กหยุด หายใจจนเสียชีวิตได้ 4. ยาแก้ท้องเสีย ไม่ควรใช้ยาที่มีความแรง มากในเด็กเล็ก เพราะอาจไปกดการหายใจ ได้ วิธีที่ดีที่สุดคือ การให้นำ้าและเกลือแร่ เพื่อชดเชยการสูญเสียนำ้า เพราะอาการขาด นำ้าในเด็กอาจทำาให้เสียชีวิตได้ ข้อห้ามใช้ของยาสำาหรับทารก และเด็กเล็ก 1.แอสไพริน(Aspirin) ไม่ควรใช้ในเด็กอายุตำ่า กว่า 1 ขวบ เพราะอาจทำาให้มีเลือดออกได้
  • 19. 19 2.คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ไม่ ควรใช้ในเด็กอายุตำ่ากว่า 2 เดือน เพราะอาจ ทำาให้ซึม นอนไม่หลับ หรือชักได้ 3.คลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol) ห้าม ใช้ในเด็กอายุตำ่ากว่า 4 ขวบ เพราะอาจทำาให้ เด็กตัวเขียว เนื้อตัวอ่อนปวกเปียก หรือหมดสติ ได้ 4.โลเปอราไมด์ (Loperamide) ไม่ควรใช้ใน เด็กอายุตำ่ากว่า 2 ขวบ เพราะอาจกดศูนย์การ หายใจ 5.ซัลฟานาไมด์(Sulfanamide)ห้ามใช้ในเด็ก ทารกอายุตำ่ากว่า 2 เดือน เพราะอาจทำาให้เกิด ดีซ่าน และสมองพิการได้ 6.เตตร้าซัยคลิน (Tetracyclin)ห้ามใช้ในเด็ก ทารกอายุตำ่ากว่า 8 ขวบ เพราะอาจทำาให้ฟัน เหลืองดำาอย่างถาวรและกระดูกเจริญเติบโตไม่ ดี 7.เดกซ์โทรเมทอร์แฟน (Dextromethorpha n)ห้ามใช้ในเด็กอายุตำ่ากว่า 2 ขวบ เพราะยา อาจกดศูนย์กลางการหายใจ กลเม็ดเคล็ดลับการให้ยาในเด็ก
  • 20. 20 1.ต้องใจเย็นและมีความอดทน เพราะโดย ธรรมชาติของเด็กส่วนใหญ่มักไม่ชอบกินยา ควรพยายามหว่านล้อมและชักจูงเด็กมากกว่า ที่จะใช้วธีบังคับ เพราะอาจจะทำาให้เด็กกินยา ิ ยากยิ่งขึ้น 2.ไม่ควรบีบจมูกและกรอกยาใส่ปากเด็กและ ไม่ควรป้อนยาให้เด็กขณะที่เด็กกำาลังร้องหรือ ดิ้น เพราะนอกจากจะทำาให้เด็กสำาลักแล้ว ยัง ส่งผลทางด้านจิตใจต่อเด็กด้วย 3.หากยามีรสชาติไม่ดีหรือกลิ่นไม่น่าทานควร ผสมนำ้าเชื่อมเพื่อเพิ่มรสชาติที่ดี ทำาให้เด็กกิน ยาได้ง่ายขึน้ 4.ไม่ควรใส่ยาลงไปในขวดนมเพื่อให้เด็กได้รับ ยาจากการดูดนม เพราะถ้าเด็กดูดนมไม่หมด จะทำาให้เด็กได้รับยาไม่ครบตามจำานวนที่ควร จะเป็น นอกจากนันยาบางชนิดอาจทำาให้ ้ รสชาติของนมเสียไป อาจส่งผลให้เด็กไม่กิน นมอีกด้วย 5.ไม่ควรให้ยาพร้อมกับอาหารที่จำาเป็นต่อเด็ก เพราะจะทำาให้เด็กปฏิเสธอาหารเหล่านั้นภาย หลัง 6.ใช้อุปกรณ์มาตรฐานในการตวงยาในเด็ก ไม่ ควรใช้ช้อนทานข้าวหรือช้อนชงกาแฟที่ใช้ใน ครัวเพราะจะทำาให้ได้ปริมาณยาที่ไม่ถูกต้อง
  • 21. 21 และขนาดมาตรฐานในการตวงยาที่ใช้กันอย่าง แพร่หลายคือ 1 ช้อนชา เท่ากับ 5 มิลลิลิตร และ 1 ช้อนชา เท่ากับ 15 มิลลิลิตร High Alert Drugs (HAD) >>ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) คือ กลุ่มยาที่มโอกาสสูงที่จะเกิด ี อันตรายแก่ผู้ป่วย เพราะมีดัชนีการรักษา แคบหรือมีผลข้างเคียงร้ายแรงต่ออวัยวะ สำาคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต ฯลฯ ตัวอย่างรายการยาทีประกาศเป็น High ่ Alert Drugs ในร.พ.ศิริราช ได้แก่ 1. Adrenergic agonist ได้แก่ Adrenaline, Dopamine, Dobutamine 2. Calcium IV ได้แก่ Calcium gluconate injection 3. Digoxin (Lanoxin®) 4. Heparin (unfractionated) 5. Insulin 6. Potassium injection ได้แก่ KCl injection
  • 22. 22 7. Phosphate injection ได้แก่ K2HPO4 injection 8. Magnesium IV ได้แก่ 50% MgSO4 Inj., 20% MgSO4 Inj. 9. Morphine 10. Warfarin (Orfarin®) tablet รายละเอียดเกี่ยวกับยา High alert drug 1. การรับยาเข้ามาใช้ในโรงพยาบาล 1.1 ยาที่มีความเสี่ยงสูงจะนำาเข้าตามความ จำาเป็นโดยต้องผ่านการพิจารณาจาก อนุกรรมการ พิจารณายาแต่ละกลุ่ม และกำาหนด มาตรการในการป้องกันอันตรายอย่างเหมาะ สม 1.2 ยาที่มีความเสี่ยงสูงทีถูกส่งมาเพื่อใช้ใน ่ โรงพยาบาลศิริราช ต้องตรวจรับโดย เภสัชกรที่ได้รับ
  • 23. 23 มอบหมาย 2. การเก็บรักษา 2.1 ยาที่มีความเสี่ยงสูงทุกชนิดต้องเก็บ รักษาโดยแยกจากยาอื่นๆหรือป้องกันการ เข้าถึงได้โดยง่าย (ยกเว้นยาของผู้ปวยเฉพาะราย) ่ 2.2 ต้องมีสัญลักษณ์สีชมพูสดเตือน บุคลากรว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งอาจ จะเป็นสติ๊กเกอร์ รูปกลมหรือใช้สีสะท้อนแสงสีชมพูขีดที่ชื่อ ยา โดยฝ่ายเภสัชกรรมเป็นผู้ดำาเนินการติด ที่ฉลากยาหรือ หลอดยาในยา 10 กลุ่มแรก กลุ่มที่เหลือ หน่วยงานสามารถดำาเนินการได้ตามความ จำาเป็นของ หน่วยงาน การติดสติ๊กเกอร์ใน MAR ให้อยู่ ในความรับผิดชอบของฝ่ายการพยาบาล 2.3 ยาที่มีความเสี่ยงสูงกลุ่มยาเสพติดให้ โทษคือ มอร์ฟีน ต้องจำากัดการเข้าถึงโดย ต้องใส่ในตู้หรือ ลิ้นชักทีล็อกเสมอ โดยมีผู้ควบคุมการนำา ่ ออกใช้ และมีการตรวจสอบจำานวนยาอย่าง สมำ่าเสมอ
  • 24. 24 3. การสั่งจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง 3.1 ไม่สั่งยาที่มีความเสี่ยงสูงด้วยวาจาถ้า ไม่ใช่กรณีเร่งด่วน และหากจำาเป็นต้องสั่ง ด้วยวาจา ต้อง ปฏิบัติตามระเบียบทีวางไว้อย่างเคร่งครัด ่ 3.2 ไม่ใช้คำาย่อในการสั่งยาที่นอกเหนือ จากระเบียบการสั่งจ่ายยาของโรงพยาบาล ศิริราช 3.3 แพทย์ระบุตัวผูป่วยอย่างถูกต้องก่อน ้ การเขียนสั่งยา 3.4 แพทย์พิจารณาผลตรวจทางห้องปฏิบัติ การ หรือค่าพารามิเตอร์ที่สำาคัญก่อนสั่งยา ที่มีความ เสี่ยงสูงให้แก่ผู้ปวย ่ 3.5 แพทย์คำานวณขนาดยาซำ้า กรณีต้องมี การคำานวณตามนำ้าหนักหรือพื้นที่ผิวเมื่อสั่ง ยาที่มีความ เสี่ยงสูง และสั่งโดยระบุขนาดยาต่อหน่วย นำ้าหนัก หรือพื้นที่ผิวด้วย 3.6 แพทย์พิจารณาข้อห้ามใช้และปฏิกิริยา ระหว่างยาทีมีความเสี่ยงสูงกับยาอื่นๆที่ผู้ ่ ป่วยใช้อยู่ ก่อนการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
  • 25. 25 3.7 ถ้ามีแบบฟอร์มสำาเร็จรูป ให้แพทย์ใช้ แบบฟอร์มสำาเร็จรูปในการสั่งยาที่มีความ เสี่ยงสูง 3.8 ถ้ามีการใช้ยาทีมีความเสี่ยงสูงนอก ่ เหนือจากแบบแผน (protocol) ทีกำาหนดไว้ ่ โดยทีมนำาทาง คลินิกของภาควิชา ให้แพทย์เขียน หมายเหตุความจำาเป็นไว้เป็นหลักฐานในคำา สั่งการรักษาและใบสั่ง ยา 4. การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง 4.1 เมื่อได้รับใบสั่งจ่ายยาทีมีความเสี่ยงสูง ่ เภสัชกรต้องตรวจสอบซำ้า ชื่อนามสกุลผู้ ป่วย ชื่อ ยา ขนาดยา ปฏิกิริยาระหว่างยา (drug interaction) และผู้ปวยต้องไม่เป็นผูที่มีข้อ ่ ้ ห้ามใช้ ยาที่มีความเสี่ยงสูงนั้นๆ (contraindication) ในผู้ป่วยเด็กเภสัชกร ต้องคำานวณขนาดยาซำ้า กรณีที่พบปัญหาเภสัชกรต้องติดต่อแพทย์ผู้ สั่งยาทันที
  • 26. 26 4.2 การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง ให้กระทำา โดยมีการตรวจสอบซำ้าจากบุคคลอีกคนหนึ่ง เสมอ เพื่อความถูกต้องของชื่อนามสกุลผู้ป่วย และความถูกต้องของยาที่จะจ่าย 4.3 การจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งมี เครื่องหมาย **** ที่ชื่อยา ต้องติดฉลาก ช่วย ข้อควรระวัง ไว้ที่ซองยาหรือขวดยา หรือมีเอกสาร แนะนำาผู้ป่วยประกอบการส่งมอบยาทุกครั้ง 4.4 สำาหรับผู้ปวยนอก เภสัชกรเป็นผู้ตรวจ ่ สอบ ส่งมอบ ให้ความรู้ในการใช้ยาและการ เฝ้า ระวังผลข้างเคียงของยาที่มีความเสี่ยงสูงให้ ผู้ป่วยทราบ 5. การบริหารยา 5.1 เมื่อต้องให้ยา แพทย์หรือพยาบาลผูให้้ ยาต้องตรวจสอบชื่อนามสกุลผู้ปวย ชื่อยา ่ ขนาดยาให้ถูกต้องซำ้าก่อนให้ยาผู้ปวย ( ่ ตรวจสอบทุกขั้นตอนรวมทั้งคำานวณขนาด ยาซำ้า) 5.2 การเตรียมยาให้ปฏิบัติตามที่ระบุใน คู่มือ
  • 27. 27 5.3 พยาบาลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ตรวจสอบซำ้า ก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย 6. การเฝ้าระวังผลการใช้ยาที่มีความ เสี่ยงสูง 6.1 พยาบาลเฝ้าระวังอาการผูป่วยตามคู่มือ ้ ติดตามและลงบันทึกผลการใช้ยาหรือความ เปลียนแปลงหลังการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง ่ ไว้ในแฟ้มผูป่วยหรือเวชระเบียน ้ 6.2 พยาบาลแจ้งแพทย์เจ้าของไข้ทันที เมื่อพบความผิดปกติหรือความผิดพลาด จากการใช้ ยาที่มีความเสี่ยงสูง 6.3 แพทย์เป็นผู้รับผิดชอบการส่งตรวจ สืบค้นเพื่อติดตามผลการใช้ยาที่มีความ เสี่ยงสูง ตามคู่มือที่ได้กำาหนดไว้ 6.4 เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรง หรือเกิดความผิดพลาดที่ถึงตัวผู้ปวยจาก ่ การใช้ยา ที่มีความเสี่ยงสูง ผู้พบเหตุการณ์ต้อง รายงานอุบัติการณ์ทันที 7. การทำาลายยาที่เหลือหรือยาหมด อายุ
  • 28. 28 7.1 ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่เหลือจากหอผู้ ป่วยหรือหมดอายุแล้ว ให้ส่งคืนฝ่าย เภสัชกรรมเพื่อ ทำาลายต่อไป 7.2 ฝ่ายเภสัชกรรมจำาแนกยาที่ต้องการ ทำาลายเป็นหมวดหมู่และส่งทำาลายตาม กระบวนการที่คณะกรรมการบริหารจัดการ ความปลอดภัยด้านสารเคมีกำาหนด 7.3 ยาเสพติดมอร์ฟีนที่เปิดใช้แล้วมียา เหลือ ให้พยาบาลทำาลายทิ้งโดยมีพยานรู้ เห็นและ จดบันทึกชื่อยา จำานวนและลงนามไว้ทง ั้ สองคนเพื่อเป็นหลักฐาน 8. การประกันคุณภาพ 8.1 ต้องมีการสุ่มตรวจสอบการจัดการยาที่มี ความเสี่ยงสูงทุก 6 เดือน เพื่อให้มั่นใจ ว่าการ ใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงถูกต้องตามมาตรฐาน โรงพยาบาลคุณภาพและนโยบายของ โรงพยาบาลศิริราช 8.2 เมื่อเกิดอุบัติการณ์ผิดพลาดถึงผู้ป่วย ต้องมีการวิเคราะห์สาเหตุราก (Root Cause
  • 29. 29 Analysis/ RCA) ร่วมกันในทีมสหสาขา วิชาชีพเพื่อการแก้ไขเชิงระบบและวาง แนวทาง ปฏิบัติที่รัดกุมขึ้นเพื่อป้องกันอุบัติการณ์ซำ้า โดยส่งรายงานผลการวิเคราะห์และปรับปรุง ถึงประธานคณะกรรมการควบคุมและดูแล เรื่องยา โรงพยาบาลศิริราช หรือผู้อำานวย การโรงพยาบาลศิริราช ภายในระยะเวลา 1 เดือน ยาที่ประกาศเป็น High Alert Drugs >>1.Adrenaline (Epinephrine)
  • 30. 30 ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. Cardiopulmonary resuscitation (CPR) 2. Anaphylaxis 3. Hypotension ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง • ระมัดระวังการใช้ในผู้ปวยที่มีโรคหัวใจ ่ เต้นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือดส่วน ปลาย (peripheral vascular disease) อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ • หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ • ความดันโลหิตสูง • ปลายมือ ปลายเท้าเขียว • หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจ ทำาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้ การจัดเก็บที่เหมาะสม • เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก • ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา
  • 31. 31 การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย ในแต่ละข้อบ่งใช้ • Double check ชื่อผู้ป่วย ข้อบ่งใช้และ ขนาดยา • Indication Anaphylaxis o ผู้ใหญ่ IV 0.1-0.25 mg o ผู้ใหญ่ IM/SC 0.1-0.5 mg o เด็ก IV และ SC 0.01 mg/kg • Indication CPR ให้ 1 mg IV • Indication BP drop ให้ 0.5-4 mg/hr ทาง IV drip • การสั่งยาแบบ Dilution ให้ระบุเป็น mg/ mL เช่น 0.1 mg/mL หรือ 1 mg/10 mL ไม่ควรเขียนเป็น 1:10 การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • สารนำ้าทีใช้ได้ : D5W, D5S, NSS, LRS ่ • ความคงตัวหลังผสม : 24 ชั่วโมง การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ถ้าให้ IV drip ควรใช้ Infusion pump
  • 32. 32 • ควรให้ทางเส้นเลือดใหญ่ การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • ในกรณี CPR ให้บันทึก Vital signs ( Heart rate, BP) ทันที เมื่อผู้ปวยเริ่มมี ่ ชีพจร • ในกรณี Anaphylaxis ให้บันทึก Vital signs ( Heart rate, BP) ทุก 10 นาที จน ครบ 30 นาที • ในกรณี Hypotension ทีมีการให้ยาแบบ ่ IV drip ให้บันทึก Vital signs ( Heart rate, BP) ทุก 1ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มี การให้ยา • หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้แจ้งแพทย์ทันที • ตรวจดูตำาแหน่ง IV site ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาที่มีการให้ยา การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
  • 33. 33 • หากพบว่ามี BP>160/90 mmHg หรือ HR > 120 ครั้ง/นาทีในผู้ใหญ่ และ BP > 120/80 mmHg หรือ HR > 180 ครั้ง/นาที ในเด็ก ให้พิจารณาหยุดยาหรือปรับลดขนาดยาลง • หากพบรอยแดง บวม รอยคลำ้าตาม เส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน ตำาแหน่งในการให้ยาใหม่ >>2.Calcium injection ข้อบ่งใช้ (Indication)
  • 34. 34 1. ในผู้ปวยที่มีอาการของภาวะ ่ hypocalcemia 2. รักษาภาวะ K+ ในเลือดสูง ทีมีการ่ เปลียนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ่ ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ถ้าผู้ป่วยได้รับ digoxin อยู่ อาจเพิ่มฤทธิ์ ของ digoxin จนเกิดพิษได้ อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ • หัวใจเต้นผิดจังหวะ • หากมี Ca++ สูง อาจทำาให้กล้ามเนื้อ อ่อนแรง ปวดบริเวณกระดูก • ถ้ามียารั่วซึมออกมานอกหลอดเลือด จะ ทำาให้เกิดเนื้อเยื่อตายได้ การจัดเก็บที่เหมาะสม • เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก • ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย ในแต่ละข้อบ่งใช้ • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา
  • 35. 35 • กรณีใช้แก้ภาวะ K+ ในเลือดสูง มักให้ Ca++ ทาง IV push ช้าๆ • กรณีใช้แก้ไขภาวะ Ca++ ในเลือดตำ่า มักให้ IV drip การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ควรผสม Ca++ ใน Sterile water ไม่ ควรใช้ NSS เพราะ sodium จะทำาให้ Ca+ + ขับออกเร็วขึ้น • ห้ามผสมใน bicarbonate เพราะจะตก ตะกอน การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ควรแยกเส้นการให้ Ca++IV กับยาอื่นๆ เพราะอาจเกิดการตกตะกอนเมื่อผสมกับยา อื่นๆได้ โดยเฉพาะ phosphate • ควรให้ยาทางเส้นเลือดใหญ่ • ควรฉีดช้าๆ ประมาณ 15 นาที หรือ เจือ จาง 1mg/mL หยดเข้าเส้นเลือดดำา
  • 36. 36 การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • กรณีแก้ไข Hyper K+ อาจต้องให้ Ca++ อย่างเร็ว ควร monitor EKG ขณะฉีด IV push ช้าๆ • กรณีแก้ไขภาวะ Hypocalcemia ควรมี การตรวจติดตามระดับ Ca++ หลังได้รับยา ตามความ รุนแรงของผู้ปวย ่ • ซักถามอาการที่สัมพันธ์กับการมี Ca++ สูง เช่น อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวด กระดูก ทุกวัน ในขณะที่ผู้ปวยยังได้รับการรักษาด้วย Ca+ ่ +IV หากพบว่าผู้ปวยมีอาการดังกล่าว ให้ ่ แจ้งแพทย์ ทันที • ตรวจดู IV site บ่อยๆ ทุก 1 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลาการให้ยา การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการกล้ามเนื้ออ่อน แรง ปวดกระดูก หัวใจเต้นผิดจังหวะ (arrhythmia) ให้
  • 37. 37 หยุดยาทันที ร่วมกับตรวจระดับ Calcium ในเลือดทันที • หากพบว่าผู้ป่วยมีระดับ Calcium ในเลือด สูง ให้หยุดยาทันที ร่วมกับเร่งการขับถ่าย Calcium ออกจากร่างกายโดยให้ สารนำ้าชนิด Normal saline ทาง IV ในอัตราเร็วเริมต้น ่ 200-300 ml/hr แต่ต้องปรับตามสภาพ ร่างกายและปริมาณปัสสาวะของผู้ป่วย หาก ไม่ได้ผลหรือผู้ปวยไม่ ่ สามารถรับสารนำ้าปริมาณมากได้ ให้ปรึกษา แพทย์เฉพาะทางระบบต่อมไร้ท่อ เพื่อ พิจารณาให้ ยาชนิดอื่น หรือแพทย์เฉพาะทางโรคไต เพื่อพิจารณาล้างไต (dialysis) • หากพบรอยแดง บวม รอยคลำ้าตาม เส้นเลือด บริเวณ IV site ให้เปลี่ยน ตำาแหน่งในการให้ยาใหม่ >>3.Digoxin (Lanoxin®)
  • 38. 38 รูปแบบยา 1. Lanoxin 0.25 mg tablet 2. Lanoxin PG 0.0625 mg tablet 3. Lanoxin elixir 0.05mg/mL (60 mL) 4. Lanoxin injection 0.25 mg/mL (2 mL)
  • 39. 39 ข้อบ่งใช้ (Indication) 1. Congestive Heart Failure 2. Reduce ventricular rate ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ระวังการใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย • ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคไตรุนแรง • ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มี K+ ตำ่า (ตำ่ากว่า 3.5 mEq/L) อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ • Digitalis Intoxication • หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดจังหวะ • คลื่นไส้ อาเจียน • มองเห็นภาพเป็นสีเหลืองหรือเขียว การจัดเก็บที่เหมาะสม • เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก • ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา
  • 40. 40 การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย ในแต่ละข้อบ่งใช้ • Double check ชื่อผู้ป่วย ข้อบ่งใช้และ ขนาดยา • ระบุขนาดยาและรูปแบบยาให้ชัดเจน • ห้ามใช้ตัวย่อในการเขียนชื่อยา การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ชนิดฉีด IV ให้เจือจางอย่างน้อย 4 เท่า ด้วย SWI, NSS หรือ D5W • ชนิดรับประทานแบบเม็ดขนาด 0.25 mg สีขาว มีอักษร X3A • ชนิดรับประทานแบบเม็ดขนาด 0.0625 mg สีฟ้าเข้ม มีอักษร U3A การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ดูระดับ K+ ก่อนให้ยา Digoxin ถ้า K+ ตำ่ากว่า 3.5 mEq/L ต้องแจ้งแพทย์เพื่อ ยืนยัน
  • 41. 41 • ตรวจชีพจรและลงบันทึกก่อนให้ยา ใน ผู้ใหญ่ถ้าชีพจรตำ่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ในเด็ก ชีพจรเต้นช้า ผิดปกติเมื่อเทียบตามอายุ ให้แจ้งแพทย์ เพื่อยืนยันก่อนให้ยา o เด็ก < 1ปี HR ตำ่ากว่า 100 ครั้ง/นาที o เด็ก 1-6 ปี HR ตำ่ากว่า 80 ครั้ง/นาที o เด็ก > 6 ปี HR ตำ่ากว่า 60 ครั้ง/นาที • ชนิดฉีด IV ฉีดช้าๆ เป็นเวลา 5 นาที หรือ มากกว่า • ยานำ้ารับประทานต้องใช้หลอดหยดที่มีขีด บอกปริมาตรแน่นอน • ถ้าให้เกินวันละ 1 ครั้ง ยืนยันกับแพทย์ ก่อน ยกเว้นผู้ป่วยเด็ก อาจให้วันละ 2 เวลา ห่างกันทุก 12 ชั่วโมง การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • กรณี Digoxin ฉีด ควรมีการ monitor EKG ขณะฉีดยาและหลังฉีดยา 1 ชั่วโมง • กรณี Digoxin ฉีด ให้บนทึก HR ทุก 15 ั นาที ติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30 นาที ติดต่อกัน 3
  • 42. 42 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 5 ชั่วโมง ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์ • กรณีที่เป็นผู้ปวยในให้ซักถามและสังเกต ่ อาการของภาวะ Digitalis Intoxication ทุก วัน เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน มองเห็นแสงสีเขียว เหลือง • ควรตรวจระดับ K+ สัปดาห์ละครั้ง กรณี เป็นผู้ป่วยใน • ถ้าสงสัยว่าเกิด Digitalis Intoxication ให้ส่งตรวจวัดระดับยาในเลือดทันที (therapeutic level อยู่ที่ 0.8-2 ng/mL) ถ้าเกิน 2 ng/mL ต้อง ไม่ให้ยาต่อและแจ้งแพทย์ทันที การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • เมื่อเกิดภาวะ Digitalis Intoxication ให้ ติด monitor EKG ทันที • หากได้รับยาโดยการรับประทาน ภายใน 6-8 ชั่วโมง พิจารณาให้ Activated charcoal ขนาด 1 mg/kg เพื่อช่วยดูดซับ ยาที่หลงเหลือในทางเดินอาหาร
  • 43. 43 >>4. Heparin (Unfractionated) ข้อบ่งใช้ (Indication) • ต้านการแข็งตัวของเลือด ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง • ห้ามใช้ในผู้ปวยที่มีภาวะเลือดออก ่ ง่าย
  • 44. 44 • ไม่ควรให้ยาถ้าเกร็ดเลือด (platelet)ตำ่า กว่า 100,000/mm3 ยกเว้นกรณี keep arterial line หรือ central line • ใช้ในหญิงมีครรภ์ได้เพราะยานี้ไม่ผ่านรก • ระวังการหยิบสลับกับ insulin อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ • ภาวะเลือดออกง่าย • เกร็ดเลือดตำ่า การจัดเก็บที่เหมาะสม • เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก • ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • แยกเก็บในตู้เย็นช่องธรรมดา 2-8 องศา เซลเซียส • การเก็บรักษายา Heparin หลังเปิดใช้ แล้วเก็บได้ 14 วัน • ระวังการหยิบสลับกับ insulin การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย ในแต่ละข้อบ่งใช้ • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา
  • 45. 45 • ไม่เขียนคำาย่อ U เพราะอาจดูเหมือนเลข 0 (ศูนย์) หรือ cc ควรใช้ unit แทน การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ระวังการหยิบสลับกับ insulin • การผสมในขวดหรือถุงสารนำ้าต้องพลิก กลับไปมาให้เข้ากันดีกับสารนำ้าก่อนให้ผู้ ป่วยเสมอ การบริหารยา • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ควรให้ยาผ่าน infusion pump • ห้ามให้ยา heparin พร้อมกับยาต่อไปนี้ ampicillin, ciprofloxacin, vancomycin, cephalosporins, aminoglycosides, steroids, antiemetics เพราะอาจตกตะกอน ควรคั่นด้วยการให้ NSS ก่อนและหลังให้ยาแต่ละชนิดเสมอ การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • ควรตรวจ infusion pump สมำ่าเสมอ อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
  • 46. 46 • ตรวจ aPTT ก่อนให้ยา หลังให้ยา 6 ชั่วโมง และทุก 24 ชั่วโมง ระหว่างที่ให้ยา อยู่ • หากมีการปรับเปลี่ยนขนาดยา ควรตรวจ aPTT ซำ้าหลังปรับขนาดยา 6 ชั่วโมง • ตรวจ CBC ก่อนให้ยา หากให้ยาเกิน 7 วัน ควรตรวจซำ้า • ระหว่างที่ใช้ยานี้อยู่ ควรระมัดระวังเรื่อง เลือดออกง่ายและการเกิดบาดแผลของผู้ ป่วย เช่น การใส่ NG tube, การดูดเสมหะ การเจาะเลือดบ่อยๆ เป็นต้น การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา • หากพบว่าผู้ป่วยมีเลือดออกผิดปกติ พิจารณาหยุดยา heparin ไว้ก่อนและ ให้ ทำาการตรวจ CBC และ aPTT ทันที • ในกรณีที่มีเลือดออกปริมาณไม่มาก และ เป็นอวัยวะที่ไม่สำาคัญ (minor bleeding) ให้หยุดยา heparin ไว้ชั่วคราว จนกว่า เลือดหยุดและระดับ aPTT ลดลง หากยัง จำาเป็นต้องให้ heparin ต่อ พิจารณาปรับ
  • 47. 47 ลดขนาดยาลงจากเดิมและ ติดตามค่า aPTT อย่างใกล้ชิด • ในกรณีที่เลือดออกมาก หรือมีเลือดออก ในอวัยวะที่สำาคัญ ให้หยุด heparin ทันนที พิจารณาให้ยาแก้พิษ คือ protamine sulphate • ในกรณีที่ได้รบ heparin แบบ ั continuous infusion จะให้ protamine sulphate ในขนาด 1 mg ต่อทุก100 unit ของ heparin ทีได้รับใน 2 ชั่วโมงก่อนหน้า ่ นี้ >>5.Insulin รูปแบบยา 1. Novorapid 2. Humalog 3. Actrapid HM 4. Humulin R 5. Gensulin R 6. Humulin N 7. Gensulin N 8. Insulatard HM 9. Lantus 10. Novomix 30 11. Humalog Mix 25 12. Humulin 70/30 13. Mixtard 30 HM 14. Gensulin M
  • 48. 48 ข้อบ่งใช้ (Indication) • ลดนำ้าตาลในเลือดสำาหรับผู้ปวยเบาหวาน ่ ทั้งชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
  • 49. 49 • ก่อนเพิ่มหรือลดขนาดยา และก่อนให้ยา ควรตรวจสอบการรับประทานอาหารหรือ อาการที่มีผลต่อระดับ นำ้าตาลในเลือดก่อน เช่น อาเจียน อาการไม่พึงประสงค์ที่สำาคัญ • ระดับนำ้าตาลในเลือดตำ่า ซึ่งมีอาการแสดง ที่สำาคัญ ได้แก่ ใจสั่น เหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติ การจัดเก็บที่เหมาะสม • เก็บแยกยาไว้ในที่เข้าถึงได้ยาก • ทำาสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ระวังการหยิบสลับกับ Heparin • ควรเก็บรักษา insulin ในตู้เย็นที่ 2-8 องศาเซลเซียส • Insulin ที่ไม่ได้เก็บในตู้เย็น หรือที่เปิดใช้ แล้ว สามารถใช้ได้ภายใน 1 เดือน การสั่งใช้ยา รวมถึงขนาดยาที่ใช้บ่อย ในแต่ละข้อบ่งใช้
  • 50. 50 • Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดและขนาด ยา • ไม่เขียนคำาย่อ “U” เพราะอาจดูเหมือน เลขศูนย์ ควรใช้ “unit” แทน การเตรียมยา รวมถึงการผสมยา • Double check ชนิดและขนาดยาเพราะ Insulin มีหลายชนิด • ระวังการหยิบสลับกับ Heparin • ให้ใช้วิธีกลิ้งขวดบนฝ่ามือทังสอง ห้าม ้ เขย่าขวด • Insulin ทีฉีด IV ได้มีเพียง Regular ่ Insulin (RI) เท่านั้น ( ได้แก่ Actrapid HM กับ Humulin R) • การผสม RI เพื่อให้ IV drip ควรผสมเผื่อ flush สายประมาณ 20 ml เพื่อให้ยา เคลือบอุปกรณ์ พลาสติกที่ใช้ในการให้ยา ก่อน • หากต้องฉีดยา Insulin ชนิดนำ้าใสและนำ้า ขุ่นพร้อมกัน ต้องดูดยานำ้าใสก่อนเสมอ การบริหารยา • Double check ชนิดและขนาดยาเพราะ Insulin มีหลายชนิด • ระวังการหยิบสลับกับ Heparin
  • 51. 51 • หากบริหารยาแบบ IV drip ควรใช้ infusion pump • สอนวิธีดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้องแก่ผู้ ป่วยหรือผู้ดูแล หากผู้ป่วยต้องนำากลับไปใช้ เองที่บาน ้ การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring) • ติดตามระดับนำ้าตาลในเลือดของผู้ป่วย อย่างใกล้ชิดตามแผนการรักษา ถ้าผิดปกติ ให้แจ้งแพทย์ ค่า นำ้าตาลในเลือดปกติ 60-100 mg/dL ใน พลาสมา 70-110 mg/dL ยกเว้นผู้ปวยที่มี ่ โรคประจำาตัวอื่นๆให้เทียบจาก baseline ของผู้ป่วยเอง • ภายใน 60 นาทีหลังฉีดยา ให้สังเกต อาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อ ออกมาก หน้ามืด เป็นลม หมดสติ • ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่าง น้อยทุก 2 ชั่วโมง การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือ ความคลาดเคลื่อนทางยา
  • 52. 52 • หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด เป็นลม หมดสติ ให้เจาะ capillary blood glucose ทันที • หากพบว่า capillary blood glucose มีค่า น้อยกว่า 60 mg/dL ถ้ายังได้รับ insulin อยู่ ให้หยุดยา insulinทันที และให้ปฏิบัติดังนี้ o ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ให้ดื่มนำ้าหวานอย่าง น้อยครึ่งแก้ว ตรวจระดับ capillary blood glucose ซำ้า หลังจากรับประทานนำ้าหวาน 30 นาที หาก ระดับนำ้าตาลกลับมาสู่ภาวะปกติ ให้ตรวจ ติดตาม capillary blood glucose เป็นระยะๆ ตาม คุณสมบัติของ insulin ชนิดนั้นๆ o ในกรณีที่ผู้ปวยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถ ่ รับประทานอาหารทางปากได้ พิจารณาให้ 50% glucose 40-50 ml IV push จากนั้นให้ติดตาม อาการของผู้ปวยว่าดีขึ้นหรือไม่ ร่วมกับ ่ พิจารณาให้สารนำ้าเป็น 10% dextrose ในอัตราเร็ว 80-100 ml/hr ตรวจระดับ capillary blood glucose ซำ้า
  • 53. 53 หลังได้รบการรักษาไปแล้วประมาณ 30 ั นาที ปรับอัตราเร็วของสารนำ้าตามระดับ นำ้าตาลและสภาพของผู้ป่วย ตรวจติดตาม capillary blood glucose เป็นระยะๆ ตาม คุณสมบัติของ insulin ชนิดนั้นๆ
  • 54. 54 Cyp 3A4 inhibitor and Cyp 3A4 inducers Cyp 3A4 inhibitor Strong cyp3A4 inhibitors Clarithromycin Indinavir Isoniazid Itraconazole Nefazodone Nicardipine Modurate cyp3A4 inhibitors Amiodarone Cimetidine Sertraline Erythromycin Haloperidol Verapamil Weak cyp3A4 inhibitors
  • 56. 56 การแบ่งประเภท ADR 1.Tye A -Augmented เป็นอาการไม่ พึงประสงค์ที่คาดคะเนได้จากฤทธิ์ทาง เภสัชวิทยา ขึ้นกับขนาดยาที่ใช้ อาการ รุนแรงน้อยกว่า 2. Tye B-Bizarre response เป็น อาการไม่พึงประสงค์ที่ไม่สามารถคาด คะเนได้ ไม่เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ทาง เภสัชวิทยา อาการจะรุนแรงบางราย ถึงขั้นเสียชีวิต 3. Tye C-chronic ปฏิกิริยาที่เกิดแบบ เรื้อรังเกิดอย่างต่อเนื่องจาการใช้ยา เป็นเวลานาน 4. Tye D-Delayed ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ช้าๆเป็น 10 ปี 5. Tye E-End of use เป็นปฏิกิริยาที่ เกิดขึ้นจากการหยุดใช้ยา
  • 57. 57 6. Tye F-Failure เกิดจากการใช้ยา แล้วล้มเหลว PARKINSON DISEASE โรคพาร์กินสัน จะมีการเสื่อมของเซลล์ ประสาทใน substantia nigra pars compacta (SNc) ทำา ให้ปริมาณ DA (Dopamine) ลดลงมาก อาการ 1. Resting tremor มีอาการสั่นในขณะที่อยู่นิ่ง 2. Bradykinesia (เคลื่อนไหวช้า) หรือ Akinesia (เคลื่อนไหวไม่ได้) 3. Muscle rigidity or Cogwheel Rigidity ( อาการเกร็งที่กล้ามเนื้อ) 4. Postural Instability (การทรงตัวไม่ด) ี 5. Micrographia (การเขียนหนังสือแล้วตัวเล็ก ลงเรื่อยๆ) 6. Masked face (ใบหน้าไม่แสดงอารมณ์)
  • 58. 58 สาเหตุ 1. Primary: ความผิดปกติของเซลล์ประสาท ที่ SNc ซึ่งเป็นผลมาจากการเกิด oxidative stress 2. Secondary เกิดจากการได้รับสารพิษ เข้าไปทำาลาย Dopamine หรือยับยั้งการสร้าง Dopamine Drug-induced Parkinsonism Antipsychotics, Reserpine, Ictrabenazine, Methyldopa, CCB, SSRI Treatment 1. ให้ L-dopa (Levodopa, Sinemet®, Madopar®) - ผ่าน BBB ได้ - ควรหลีกเลี่ยงการทาน L-dopa พร้อมอาหารที่มี protein สูง เพราะจะลด การดูดซึมของยา - L-dopa ถูกเปลี่ยนโดย aromatic amino acid decarboxylase ได้เป็น DA ทั่วร่างกาย ทำาให้อาจ เกิดอาการข้างเคียงจากการมี DA มากเกินที่ peripheral เช่น เ GI: ทำาให้เกิด คลื่นไส้ อาเจียน อ Heart: ทำาให้หัวใจเต้นเร็ว และแรง เนื่องจาก DA
  • 59. 59 สามารถกระตุ้น β1-receptor ได้ - L-dopa จึงต้องให้ร่วมกับ peripheral dopa decarboxyalse inhibitor เช่น carbidopa, benserazide L-dopa + carbidopa Sinemet® L-dopa + benserazide Madopar® - เริ่มจาก dose 25/100 แล้ว titrate dose ขึนตาม levodopa โดย MAX dose ้ คือ 800 mg - ถ้ามีอาการ dyskinesia ให้ลด dose ลงทีละ 25 mg และ monitor จนอาการดีขึ้น - S/E: ระวังการเกิด Hypotension, N/V (ให้ DA antagonist คือ domperidone เพราะไม่เข้า สมอง ไม่ใช้ Chlorpromazine และ Metoclopramide เพราะจะเข้าสมองไปลด DA ในสมอง ทำา ให้อาจเป็น PD มากขึ้น) 2. ใช้ MAOB inhibitor (Selegiline, Rasagiline) MOA: ลดการทำาลาย Dopamine และลดการเกิด free radical
  • 60. 60 Dose: 10 mg/day แบ่งเป็น 5 mg (Selegiline ให้เช้าและบ่าย เพราะทำาให้ เกิด insomnia หรือ Hallucination ได้ Note: ได้ผลดีใน early PD แต่ใน pt ที่เป็นมากๆ จะใช้ Rasagiline Combine กับยาอื่น DI: Antidepressant (TCA, SSRI) เพราะอาจทำาให้มี 5-HT, NE มากเกินไป ทำาให้เกิดอาการ ข้างเคียง เช่น hyperthermia, rigidity 3. Inhibit DA Reuptake (Amantadine) MOA: กระตุ้นการหลั่ง และยับยั้งการ reuptake ของ DA S/E: Anticholinergic side effect เช่น ปากแห้ง คอแห้ง Note: ปรับขนาดในผู้ป่วยโรคไต และระวังการใช้ในคนสูงอายุ 4. COMT inhibitor (Entacapone, Tolcapone): ไม่ใช้เดี่ยวๆ ต้องให้ร่วมกับ L- dopa เสมอ - เพิ่ม duration ของ L-dopa เพราะ ไปยับยั้งไม่ให้ COMT ไปทำาลาย L-dopa S/E: ทำาให้ Urine สีเปลี่ยนไป เป็นสี นำ้าตาล-ส้ม
  • 61. 61 • Entacapone: Selective COMT inhibitor ที่ peripheral • Tolcapone: (Potent และ Duration มากกว่า) Selective COMT inhibitor ที่ Peripheral และ Central ทำาให้อาจมีอาการข้างเคียง ของระบบประสาทส่วนกลางได้ 5. Dopamine receptor agonist (Bromocriptine, Pramipexole) - ADR ขึ้นกับปริมาณยาที่ได้รับ (, Orthostatic hypotension) - ไม่ใช้ในคนไข้สูงอายุ เพราะจะเกิด ADR ได้ง่ายขึ้น และรุนแรงมาก - มักทำาให้เกิด S/E ทาง GI, Confusion, Hallucination และ Orthostatic hypotension (ควรให้ ก่อนนอน) โดย S/E ขึนกับปริมาณ ้ ยาที่ได้รับ • Bromocriptine: เป็น D2-R agonist และ weak D1-R antagonist • Pergolide: เป็นทั้ง D1 และ D2 Receptor agonist R potent & duration > Bromocriptine • Pramipexole: ไม่ต้องปรับ ขนาดยา ในผู้ป่วยโรคไต 6. Anticholinergics (Trihexylphenidyl, Benztropine)
  • 62. 62 - ไม่ควรใช้เนื่องจากทำาให้ cognition เสียได้ - จะใช้ช่วย resting tremor, muscle rigidity หู หูอักเสบ ( otitis ) ●หูชั้นนอกอักเสบ ( otitis externa ) เป็นการติดเชื้อของใบหูและรูหู มักเกิดจาก การแคะหู ปั่นหูโดยใช้สิ่งของที่ไม่สะอาด หรือ ทำาให้เกิดบาดแผลตรงบริเวณรูหู หรือเกิดจากการ ที่นำ้าเข้าหูจากการว่ายนำ้า สาดนำ้า เป็นต้น อาการ : ปวดหูและจะบวมมากขึนถ้านอน ้ หรือตะแคงทับหูข้างนัน เมื่อสัมผัสใบหูจะรู้สึกเจ็บ ้