SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
17
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศ 
(Comprehensive Economic Partnership in East Asia: CEPEA)
ความเป็ นมา/การดําเนินการ สถานะล่าสุด
ความเป็ นมา
- ในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (AEM-METI) และ
AEM+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนสิงหาคม
2006 ญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาควิชาการ (Track II) ของกลุ่มประเทศ East Asia
Summit (EAS ประกอบด้วยอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ
อินเดีย) ทําการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตัง Comprehensive Economic
Partnership in East Asia (CEPEA) ซึ่งเป็น FTA ระหว่าง ประเทศอาเซียน+6 (จีน
ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์)
ที่ประชุม EAS ครังที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2007 ณ เมืองเชบู ประเทศฟิลิปปินส์ มี
มติเห็นชอบให้ดําเนินการศึกษาดังกล่าว โดยญี่ปุ่นจะจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่าง
นักวิชาการซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละประเทศครังแรกในเดือนมิถุนายน 2007
การจัดตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ ของ CEPEA (รศ. ดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ ประธานศูนย์วิจัย
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทําหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญฯ ฝ่าย
ไทย) ได้ทําการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทําความตกลงการค้าเสรีระหว่าง
ประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) โดยมีการประชุมร่วมกันทังหมด 6 ครัง
ผลการศึกษา
ผลการศึกษา Phase I
- ผู้เชี่ยวชาญฯ ได้สรุปผลการศึกษา (Final report of CEPEA Track Two: Phase I)
และนําเสนอต่อที่ประชุมผู้นําเอเชียตะวันออก (East Asia Summit: EAS) ในเดือน
ธันวาคม 2008 ณ กรุงเทพฯ โดยระบุว่าการจัดทํา CEPEA นัน จะทําให้ GDP ของ
ประเทศสมาชิกเพิ่มขึนเฉลี่ย 2.11% โดยในส่วนของอาเซียนนัน จะได้รับประโยชน์
มากกว่าโดย GDP ของอาเซียน เพิ่มขึน 3.83% ในส่วนของไทย GDP จะเพิ่มขึนเท่ากับ
4.78%
- นอกจากนี ผลการศึกษาได้ครอบคลุมประเด็นอื่นๆสําคัญ ได้แก่ ผลกระทบด้าน
เศรษฐกิจ องค์ประกอบของ CEPEA ซึ่งประกอบด้วย การเปิดเสรีทางการค้าและการ
ลงทุน การอํานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ
พลังงานและสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี ได้เสนอแนะแนวทางสู่
การทําเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก โดยเสนอให้ประเทศสมาชิกต้องเริ่มที่เข้าใจหลัก
พืนฐานและเป้าหมายของ CEPEA อันจะมุ่งไปสู่การเปิดเสรี การอํานวยความสะดวก
และความร่วมมือระหว่างกัน
- ต่อมาทีประชุม AEM ครังที 40 และ AEM-METI Consultations ครังที 15 ระหว่างวันที 25-28
สิงหาคม 2008 ณ ประเทศสิงคโปร์ มีมติเห็นชอบและสนับสนุนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการศึกษาต่อใน
ระยะที่ 2 (CEPEA Track Two Study Group: Phase II) โดยเน้น 3 เสาหลัก คือ ด้านความร่วมมือ
(Cooperation) ด้านการอํานวยความสะดวก (Facilitation) และการเปิดเสรี (Liberalization)
- นอกจากนี ที่ประชุมได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการศึกษา CEPEA Phase II โดยให้
ครอบคลุมถึงการศึกษาวิเคราะห์ในความตกลง ASEAN+1 FTAs ที่มีอยู่ รวมไปถึงกฎ Special &
Differential Treatment ที่มีประสิทธิภาพ แนวทางของการเปิดเสรี (Liberalization) และการอํานวย
ความสะดวก (Facilitation) ที่เหมาะสมซึ่งนําไปสู่แนวทางที่จะช่วยลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของ
ประเทศสมาชิก และระบุแนวทางด้านความร่วมมือต่างๆ ที่ช่วยสร้างความสามารถ (Capacity) ของ
ประเทศสมาชิก เพื่อรองรับการเปิดเสรีภายใต้อาเซียน+6 (CEPEA)
ผลการศึกษา Phase II
- ผลการศึกษา EAFTA Phase II นันได้ศึกษาลงลึกในสาขาการผลิตที่สําคัญ เพื่อศึกษาเชิงลึกถึง
ผลกระทบของการจัดตังเขตการค้าเสรีต่อสาขาการผลิตนันๆ โดยมีการจัดลําดับความสําคัญ
(priority) ของภาคสาขาการผลิตหลักๆ และศึกษาในสาขาที่มีความอ่อนไหว เช่น เกษตร และ
อุตสาหกรรมรถยนต์ นอกจากนีจะมีการศึกษาถึงผลกระทบต่อภาคบริการและการลงทุน ถิ่นกําเนิด
สินค้า ความร่วมมือด้านการพัฒนา การอํานวยความสะดวกด้านการค้าและบริการ
- ได้มีการเสนอผลการศึกษาต่อที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน+3 ในเดือนสิงหาคม 2009 แล้ว
และที่ประชุมให้ศึกษาเพิ่มเติมต่อไป
สถานะล่าสุด
- จากการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา+3 (ASEAN Economic Ministers+3
Consultations: AEM+3) และการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก หรือกลุ่มประเทศ
อาเซียน+6 (East Asia Summit Ministers Working Lunch) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2009 ณ
กรุงเทพฯ ที่ประชุมรับทราบผลกาสรศึกษาของทัง 2 กรอบ (EAFTA และ CEPEA) และมีมติให้
ภาครัฐของแต่ละประเทศสมาชิกทําการศึกษาเชิงลึกด้านเทคนิคจากผลการศึกษาดังกล่าว
- ที่ประชุมเห็นชอบให้มีการจัดตังคณะทํางานเพื่อพิจารณาแนวทางการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาค โดย
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1) การรวมกลุ่มว่าด้วยถิ่นกําเนิดสินค้าในแต่ละกรอบ (Unified
Rules of Origin) 2) การจําแนกพิกัดศุลกากร (Tariff Nomenclature) 3) กระบวนการด้านศุลกากร
(Customs Procedure) และ 4) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ (Economic Cooperation)
- โดยจะเสนอผลการศึกษาในที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและประเทศคู่เจรจาในเดือน
สิงหาคม 2010
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.thaifta.com (อาเซียน+6)
 

More Related Content

More from วิระศักดิ์ บัวคำ

แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)วิระศักดิ์ บัวคำ
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...วิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaคู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamวิระศักดิ์ บัวคำ
 
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2วิระศักดิ์ บัวคำ
 

More from วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
 
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
 
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaคู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
 
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
 
ข้าวอาเซียน Aec prompt4.pdf
ข้าวอาเซียน Aec prompt4.pdfข้าวอาเซียน Aec prompt4.pdf
ข้าวอาเซียน Aec prompt4.pdf
 

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศftaprogfeb53 ce+6

  • 1. 17 ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศ  (Comprehensive Economic Partnership in East Asia: CEPEA) ความเป็ นมา/การดําเนินการ สถานะล่าสุด ความเป็ นมา - ในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (AEM-METI) และ AEM+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนสิงหาคม 2006 ญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาควิชาการ (Track II) ของกลุ่มประเทศ East Asia Summit (EAS ประกอบด้วยอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ อินเดีย) ทําการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตัง Comprehensive Economic Partnership in East Asia (CEPEA) ซึ่งเป็น FTA ระหว่าง ประเทศอาเซียน+6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) ที่ประชุม EAS ครังที่ 2 เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2007 ณ เมืองเชบู ประเทศฟิลิปปินส์ มี มติเห็นชอบให้ดําเนินการศึกษาดังกล่าว โดยญี่ปุ่นจะจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่าง นักวิชาการซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละประเทศครังแรกในเดือนมิถุนายน 2007 การจัดตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ ของ CEPEA (รศ. ดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ ประธานศูนย์วิจัย เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทําหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญฯ ฝ่าย ไทย) ได้ทําการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทําความตกลงการค้าเสรีระหว่าง ประเทศอาเซียน+6 (CEPEA) โดยมีการประชุมร่วมกันทังหมด 6 ครัง ผลการศึกษา ผลการศึกษา Phase I - ผู้เชี่ยวชาญฯ ได้สรุปผลการศึกษา (Final report of CEPEA Track Two: Phase I) และนําเสนอต่อที่ประชุมผู้นําเอเชียตะวันออก (East Asia Summit: EAS) ในเดือน ธันวาคม 2008 ณ กรุงเทพฯ โดยระบุว่าการจัดทํา CEPEA นัน จะทําให้ GDP ของ ประเทศสมาชิกเพิ่มขึนเฉลี่ย 2.11% โดยในส่วนของอาเซียนนัน จะได้รับประโยชน์ มากกว่าโดย GDP ของอาเซียน เพิ่มขึน 3.83% ในส่วนของไทย GDP จะเพิ่มขึนเท่ากับ 4.78% - นอกจากนี ผลการศึกษาได้ครอบคลุมประเด็นอื่นๆสําคัญ ได้แก่ ผลกระทบด้าน เศรษฐกิจ องค์ประกอบของ CEPEA ซึ่งประกอบด้วย การเปิดเสรีทางการค้าและการ ลงทุน การอํานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ พลังงานและสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี ได้เสนอแนะแนวทางสู่ การทําเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก โดยเสนอให้ประเทศสมาชิกต้องเริ่มที่เข้าใจหลัก พืนฐานและเป้าหมายของ CEPEA อันจะมุ่งไปสู่การเปิดเสรี การอํานวยความสะดวก และความร่วมมือระหว่างกัน - ต่อมาทีประชุม AEM ครังที 40 และ AEM-METI Consultations ครังที 15 ระหว่างวันที 25-28 สิงหาคม 2008 ณ ประเทศสิงคโปร์ มีมติเห็นชอบและสนับสนุนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการศึกษาต่อใน ระยะที่ 2 (CEPEA Track Two Study Group: Phase II) โดยเน้น 3 เสาหลัก คือ ด้านความร่วมมือ (Cooperation) ด้านการอํานวยความสะดวก (Facilitation) และการเปิดเสรี (Liberalization) - นอกจากนี ที่ประชุมได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการศึกษา CEPEA Phase II โดยให้ ครอบคลุมถึงการศึกษาวิเคราะห์ในความตกลง ASEAN+1 FTAs ที่มีอยู่ รวมไปถึงกฎ Special & Differential Treatment ที่มีประสิทธิภาพ แนวทางของการเปิดเสรี (Liberalization) และการอํานวย ความสะดวก (Facilitation) ที่เหมาะสมซึ่งนําไปสู่แนวทางที่จะช่วยลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของ ประเทศสมาชิก และระบุแนวทางด้านความร่วมมือต่างๆ ที่ช่วยสร้างความสามารถ (Capacity) ของ ประเทศสมาชิก เพื่อรองรับการเปิดเสรีภายใต้อาเซียน+6 (CEPEA) ผลการศึกษา Phase II - ผลการศึกษา EAFTA Phase II นันได้ศึกษาลงลึกในสาขาการผลิตที่สําคัญ เพื่อศึกษาเชิงลึกถึง ผลกระทบของการจัดตังเขตการค้าเสรีต่อสาขาการผลิตนันๆ โดยมีการจัดลําดับความสําคัญ (priority) ของภาคสาขาการผลิตหลักๆ และศึกษาในสาขาที่มีความอ่อนไหว เช่น เกษตร และ อุตสาหกรรมรถยนต์ นอกจากนีจะมีการศึกษาถึงผลกระทบต่อภาคบริการและการลงทุน ถิ่นกําเนิด สินค้า ความร่วมมือด้านการพัฒนา การอํานวยความสะดวกด้านการค้าและบริการ - ได้มีการเสนอผลการศึกษาต่อที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน+3 ในเดือนสิงหาคม 2009 แล้ว และที่ประชุมให้ศึกษาเพิ่มเติมต่อไป สถานะล่าสุด - จากการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา+3 (ASEAN Economic Ministers+3 Consultations: AEM+3) และการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก หรือกลุ่มประเทศ อาเซียน+6 (East Asia Summit Ministers Working Lunch) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2009 ณ กรุงเทพฯ ที่ประชุมรับทราบผลกาสรศึกษาของทัง 2 กรอบ (EAFTA และ CEPEA) และมีมติให้ ภาครัฐของแต่ละประเทศสมาชิกทําการศึกษาเชิงลึกด้านเทคนิคจากผลการศึกษาดังกล่าว - ที่ประชุมเห็นชอบให้มีการจัดตังคณะทํางานเพื่อพิจารณาแนวทางการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาค โดย แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1) การรวมกลุ่มว่าด้วยถิ่นกําเนิดสินค้าในแต่ละกรอบ (Unified Rules of Origin) 2) การจําแนกพิกัดศุลกากร (Tariff Nomenclature) 3) กระบวนการด้านศุลกากร (Customs Procedure) และ 4) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ (Economic Cooperation) - โดยจะเสนอผลการศึกษาในที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและประเทศคู่เจรจาในเดือน สิงหาคม 2010 ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.thaifta.com (อาเซียน+6)