Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
บทที่ 4
นโยบายสินคาเกษตรไทยเปรียบเทียบ
กับประเทศเพื่อนบานและทางรอด
4.1 เปรียบเทียบนโยบายขาวของไทยและประเทศเพื่อนบาน
4....
AEC Prompt
84
มาก รัฐก็จะใชนโยบายสงเสริมบริษัทรัฐวิสาหกิจ โดยใหเงินกูดอกเบี้ยต่ํามาชวยรับ
ซื้อขาวเปลือกจากเกษตรกรมาส...
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
85
จากประเทศเพื่อนบาน สําหรับในดานงบประมาณการใชจายของภาคร...
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Loading in …3
×

Check these out next

1 of 52 Ad

More Related Content

More from วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

Advertisement

นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4

  1. 1. บทที่ 4 นโยบายสินคาเกษตรไทยเปรียบเทียบ กับประเทศเพื่อนบานและทางรอด 4.1 เปรียบเทียบนโยบายขาวของไทยและประเทศเพื่อนบาน 4.1.1 ขาว ในอาเซียนมีเพียง 5 ประเทศหลักเทานั้น ที่มีศักยภาพในการผลิตเพื่อการ สงออกขาว คือ ไทย เวียดนาม กัมพูชา พมา และลาว เพราะประเทศเหลานี้มีพื้นที่ มาก มีระบบชลประทาน และประชากรสวนใหญในประเทศประกอบอาชีพ เกษตรกรรมและยังยากจน โดยที่รัฐบาลของแตละประเทศไดพยายามกําหนด มาตรการและใหการชวยเหลือในรูปแบบตางๆกัน ตามแตกําลังความสามารถและ งบประมาณของแตละประเทศ ทําใหรัฐบาลของแตละประเทศไมอาจละเลย เกษตรกรได ดังนั้นจึงมีนโยบายเขามาชวยเหลือในดานตางๆ สามารถสรุปไดดังนี้ (1) นโยบายดานราคาขาว ปญหาสําคัญของประเทศผูผลิตขาว คือ ปญหาราคาขาวตกต่ํา ซึ่งปญหา ดังกลาวจะสงผลกระทบไปยังเกษตรกรผูผลิตโดยตรง ทําใหรัฐบาลของแตละ ประเทศตองออกนโยบายเขามาชวยเหลือเกษตรกร เวียดนามไมไดมีนโยบายเขา มาแทรกแซงหรือพยุงราคาขาวโดยตรง แตใชนโยบายทางออม เชนใหกระทรวง อุตสาหกรรมและการคาของเวียดนาม กําหนดราคาสงออกขาวขั้นต่ํา เพื่อปองกัน ไมใหผูสงออกขายขาวราคาต่ําเกินไป จนสงผลกระทบตอเกษตรกรที่จะถูกกดราคา รับซื้อ โดยราคาขั้นต่ําที่กําหนดนั้น จะกําหนดใหเหมาะสมกับจํานวนผลผลิตที่ ออกมาในแตละชวงของฤดูกาล และในกรณีที่ราคาขาวของโลกมีความผันผวน
  2. 2. AEC Prompt 84 มาก รัฐก็จะใชนโยบายสงเสริมบริษัทรัฐวิสาหกิจ โดยใหเงินกูดอกเบี้ยต่ํามาชวยรับ ซื้อขาวเปลือกจากเกษตรกรมาสํารองไว เพื่อปองกันไมใหเกษตรกรถูกกดราคา ขาวเปลือก ในขณะที่ไทยมีนโยบายในการเขาไปพยุงราคาขาวโดยตรง ดวยการรับจํานํา 16 และประกันรายได17 ซึ่งการรับจํานําขาวเปลือกเปนมาตรการที่ดึงปริมาณขาว ออกจากตลาด โดยเฉพาะในชวงตนฤดูการผลิตที่จะมีปริมาณขาวออกสูตลาดเปน จํานวนมาก ในขณะที่การประกันรายได ปริมาณขาวทั้งหมดยังอยูในตลาด แต ราคาขาวในประเทศจะมีแนวโนมผันผวนมากกวาการใชมาตรการรับจํานําขาว อยางไรก็ตามการดําเนินมาตรการจํานําขาวที่ผานมาประสบกับปญหาหลายอยาง เชน การลักลอบนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานเขามาสวมสิทธิ์ในการรับจํานํา การใชงบประมาณของรัฐที่สูงเกินจริง การบริหารจัดการที่ไมโปรงใส และขาด ประสิทธิภาพ นอกจากนี้การใชมาตรการดังกลาวยังทําใหราคาขาวในประเทศมี ราคาสูง สงผลกระทบไปถึงศักยภาพในการสงออกขาวของไทยลดลง และในป 2553 ตามกรอบขอตกลงของเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) อัตราภาษีจะเหลือ รอยละ 0 หลายฝายมีความกังวลวาจะมีขาวจากลาว เวียดนาม และกัมพูชาทะลัก เขามาในไทยดังนั้นมาตรการการแทรกแซงราคาขาวดวยการประกันรายไดใหกับ เกษตรกรจึงเปนทางเลือกที่คาดวาจะลดปญหาการบริหารและการจัดการสต็อก ลดความเสี่ยงดานราคาและ เรื่องผลผลิตใหแกเกษตรกร ปองกันการสวมสิทธิขาว 16 โครงการรับจํานําขาว รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณใหเปนทุนสําหรับจํานําขาวมีขาวเปนหลักประกัน เมื่อสิ้นสุดระยะจํานํา (4 เดือน) หากราคาไม ขึ้นหรือขึ้นนอย เกษตรกรก็ปลอยหลุดจํานําไมไถถอน ขาวตกเปนของรัฐบาล โครงการรับจํานํารัฐมีเจตนาสรางดีมานดเทียมเพื่อรักษาเสถียรภาพราคา ขาวไวไมใหราคาตกต่ํามากจนเกษตรกรขาดทุน 17 โครงการประกันรายได รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณจายขาดเพื่อชดเชยสวนตางราคาขาวโดยไมมีตัวสินคาเขามาเกี่ยวของ เกษตรกรจะขายขาวทุก ราคาตามกลไกตลาดขณะที่ตลาดยังเปนของผูซื้อ
  3. 3. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 85 จากประเทศเพื่อนบาน สําหรับในดานงบประมาณการใชจายของภาครัฐ ตอง เปรียบเทียบดูจากของจริง ระหวางนโยบายใหม (การประกันรายได) ซึ่งเริ่มใชใน เดือน ตุลาคม 2552 กับโครงการพยุงราคาแบบรับจํานําที่ใชในอดีต สําหรับประเทศกัมพูชา พมา และลาวนั้น รัฐบาลยังไมมีนโยบายในการ ชวยเหลือแกเกษตรกรในทุกๆ ดาน (2) นโยบายการเชาและถือครองที่ดินในการทําการเกษตรของ ตางชาติ ในปจจุบันกระแสขาวการเขามาเชาที่ทําการเกษตรในประเทศไทยของ ตางชาติ เปนที่กลาวถึงอยางมาก แตเมื่อพิจารณาตามพระราชบัญญัติการ ประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ.2542 ระบุไวชัดเจนวาคนตางชาติไมสามารถ เขามาลงทุนทําธุรกิจทํานา และเลี้ยงสัตวในประเทศไทยได เพราะถือเปนธุรกิจ ตองหามของคนตางชาติ ที่ถูกกําหนดไวในบัญชี 1 ใหสงวนสําหรับคนไทยเทานั้น ในขณะที่ประเทศไทยตอตานตานการเขามาเชาพื้นที่ทําการเกษตรของตางชาติ แตประเทศเพื่อนบานอยาง เวียดนาม ลาว พมา และกัมพูชา กลับมีนโยบาย สงเสริมใหตางชาติเขาไปเชาพื้นที่ทําการเกษตรในประเทศ โดยมีนโยบายใหเชา พื้นที่ดวยระยะเวลามากกวา 30 ป และสามารถสงผลผลิตทั้งหมดที่ผลิตไดกลับไป ยังประเทศของผูลงทุน ถึงแมจะมีนโยบายการเชาและถือครองที่ดินในการทํา การเกษตรของตางชาติที่ชัดเจน แตผูลงทุนสวนใหญกลับใหความสนใจที่จะลงทุน ในประเทศไทยมากกวา เนื่องจากประเทศเหลานั้นมีความเสี่ยงในเรื่องการเมือง การกําหนดนโยบาย ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลาไมมีมั่นคงในสายตา
  4. 4. AEC Prompt 86 ของนักลงทุน ในขณะที่ไทยมีนโยบายหลายดานที่เอื้อกับการลงทุน มีระบบ โครงสรางพื้นฐานที่ดีกวาและไมมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงดานนโยบาย 4.1.2 มันสําปะหลัง นโยบายของภาครัฐในการชวยเหลือเกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลังของไทย สวนใหญเปนนโยบายและมาตรการแทรกแซงราคา ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวง พาณิชย ทั้งนี้เพื่อบรรเทาปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรในกรณีที่ราคามัน สําปะหลังตกต่ํา ซึ่งแสดงรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้ นโยบายการแทรกแซงราคามันสําปะหลังของไทย เปนนโยบายที่กระทรวง พาณิชยดําเนินการเพื่อบรรเทาความเดือนรอนของเกษตรกรอันเนื่องมาจากการ ผลิตมันสําปะหลังในป 2551/52 มีมากเกินความตองการ ทําใหราคาหัวมัน สําปะหลังสดลดลงมาอยูที่ประมาณกิโลกรัมละ 1.00-1.30 บาท ทําใหรัฐตอง ดําเนินการเขาไปแทรกแซงราคา โดยการรับจํานําหัวมันสําปะหลังสด ป 2551/52 เปนปริมาณ 13 ลานตัน ในราคากิโลกรัมละ 1.80-2.05 บาท ตั้งแตเดือน พฤศจิกายน 2551-เมษายน 2552 สําหรับป 2552/53 รัฐบาลมีนโยบายประกัน รายไดใหแกเกษตรกร โดยกําหนดราคาประกันหัวมันสดกิโลกรัมละ 1.70 บาท ซึ่งการ กําหนดราคาประกัน คํานวณจากตนทุนการผลิต บวกคาขนสงและกําไรใหแก เกษตรกร และจายคาสวนตางระหวางราคาหัวมันสดใหแกเกษตรกรในกรณีที่ราคา ตลาดอางอิงต่ํากวาราคาประกันโดยไมตองสงมอบสินคา ซึ่งจะทําใหเกษตรกรมี รายไดคุมตอการลงทุน สวนในประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา พมา และลาว รัฐบาลไมมีนโยบายในการแทรกแซงตลาดแตอยางใด
  5. 5. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 87 4.1.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว นโยบายดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยนั้น สวนใหญเปนนโยบาย และมาตรการแทรกแซงตลาด ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวงพาณิชย ทั้งนี้เพื่อบรรเทา ปญหาความเดือดรอนของเกษตรกรในกรณีที่ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวตกต่ํา นอกจากนั้นยังมีมาตรการเพื่อแกปญหาระยะยาวใหแกภาคการผลิตขาวโพดเลี้ยง สัตวไทยโดยแนวทางการปรับโครงการสรางการผลิต การตลาด และมาตรการ นําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตว สําหรับนโยบายของอินโดนีเซียนั้น กระทรวงเกษตรของ อินโดนีเซียไดออกกฎกระทรวงเกษตรเรื่อง การควบคุมความปลอดภัยอาหารจาก พืชที่นําเขาและสงออก และนโยบายเพื่อรักษาความมั่นคงทางดานอาหาร ซึ่งแสดง รายละเอียดเพิ่มเติมไดดังนี้ (1) นโยบายการแทรกแซงตลาด นโยบายการแทรกแซงตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทย เปนนโยบายที่ กระทรวงพาณิชยดําเนินการเพื่อบรรเทาความเดือนรอนของเกษตรกรอัน เนื่องมาจากราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวตกต่ํา ซึ่งมีการดําเนินนโยบายมาโดยตลอด ตั้งแต ป 2537 จนถึงปจจุบัน นโยบายการแทรกแซงตลาดที่รัฐบาลเลือกดําเนินการ คือการรับจํานําขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยในป 2548 ไดมีการรับจํานําขาวโพดเมล็ด ความชื้นไมเกิน 30.0% จากเกษตรกรรายบุคคลปริมาณ 5 แสนตัน โดยกําหนด ราคารับจํานําขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% เดือนกันยายน-พฤศจิกายน 2548 กิโลกรัมละ 4.75 บาท และเดือนธันวาคม 2548-มกราคม 2549 กิโลกรัมละ 5.00 บาท ระยะเวลาไถถอนภายใน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจํานํา ตอมาในป 2551 รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการแทรกแซงตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยการรับจํานํา
  6. 6. AEC Prompt 88 ขาวโพดปริมาณ 1.5 ลานตัน โดยกําหนดราคารับจํานําขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% กิโลกรัมละ 8.50 บาท มีระยะเวลาไถถอนภายใน 3 เดือนนับจากเดือนที่รับ จํานํา สําหรับนโยบายแทรกแซงตลาดในป 2552 นั้น รัฐบาลมีแนวทางในการ ดําเนินโครงการประกันราคาขาวโพดเลี้ยงสัตว โดย 1) กําหนดราคาประกัน ขาวโพดเมล็ดความชื้น 14.5% กิโลกรัมละ 7.10 บาท 2) กําหนดเปาหมายให เกษตรกรรายครัวเรือนใชสิทธิเพื่อขอรับเงินชดเชยสวนตางราคาประกันกับราคา ตลาดอางอิงไดในปริมาณที่ผลิตจริงแตไมเกินครัวเรือนละ 20 ตัน ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) ทําสัญญากับเกษตรกรที่ประสงคจะเขา รวมโครงการฯ เดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน 2552 และ 3) เกษตรกรใชสิทธิประกัน ราคาไดหลังจากวันทําสัญญา 15 วัน แตไมเกิน 3 เดือนนับจากวันทําสัญญา และ ตองไมเกิน 28 กุมภาพันธ 255318 (2) นโยบายดานการผลิตและการตลาด กระทรวงพาณิชยและกระทรวงเกษตรและสหกรณของไทย ไดรวมกันจัดทํา ยุทธศาสตรการปรับโครงการสรางการผลิตและการตลาดขาวโพดเลี้ยงสัตวตาม แผนบริหารราชการแผนดิน ป 2548-2551 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน สรางมูลคาเพิ่ม และทําใหเกษตรกรมีรายไดจากการขยายผลผลิตในราคาที่ เหมาะสม เปนธรรม โดยมีแนวทาง ดังนี้ 18 สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย (กันยายน 2552)
  7. 7. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 89 1) ดานการผลิต 1.1) พัฒนาและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งดานเทคโนโลยี และสายพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ศักยภาพไมเกิน 7 ลานไร เพื่อใหผลผลิตตอ ไรเพิ่มขึ้นและลดตนทุนการผลิต 1.2) พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยการถายทอด เทคโนโลยีและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวที่ถูกตองใหแกเกษตรกร สถาบัน การเกษตร เพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ และมีรายไดเพิ่มขึ้น 1.3) เพิ่มมูลคาขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยสงเสริมการเพิ่มรายไดจากเศษ วัสดุเหลือใชเพื่อเปนการสรางรายไดและเสริมสรางความเขมแข็งภายในชุมชน 2) ดานการตลาด 2.1) จัดระบบการคาและระบบกํากับดูแลเพื่อรักษาความเปนธรรมทาง การคา 2.2) สงเสริมการซื้อขายขาวโพดเลี้ยงสัตวในระบบตลาดขอตกลงและ เชื่อมโยงการทําสัญญาขอตกลงระหวางผูซื้อ/ผูขาย 2.3) สรางเครือขายเชื่อมโยงตลาดผลผลิตคุณภาพดีเพื่อเพิ่มอํานาจ ตอรองใหเกษตรกรสามารถขายผลผลิตไดราคาสูงขึ้น และจูงใจใหมีการพัฒนา คุณภาพขาวโพดเลี้ยงสัตว สําหรับนโยบายดานการผลิตของอินโดนีเซียนั้น พบวารัฐบาลอินโดนีเซียให ความสําคัญในการรักษาความมั่นคงทางอาหาร นั่นคือรักษาเสถียรภาพของ ปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวใหเพียงพอตอความตองการในประเทศ โดยมี นโยบายที่เกี่ยวของ เชน นโยบายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อรักษาปริมาณ
  8. 8. AEC Prompt 90 และคุณภาพของขาวโพดไมใหลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดการน้ําใหเพียงพอ ในพื้นที่เพาะปลูก นโยบายการพัฒนากลุม/สถาบันเกษตรกร นโยบายการเพิ่ม ศักยภาพการสงเสริมการเกษตรและการเพิ่มศักยภาพของเกษตรกรในการเขาถึง ตลาด19 (3) นโยบายและมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตว นโยบายและมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยในป 2552 มีการ กําหนดเชนเดียวกับป 2551 โดยสําหรับมาตรการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวที่ เกี่ยวของกับอาเซียนมีดังนี้ 1) มาตรการตามขอผูกพัน AFTA กําหนดอัตราภาษีนําเขา 5.0% หรือ กิโลกรัมละ 2.75 บาท 2) มาตรการตามขอผูกพันยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี- เจาพระยา-แมโขง หรือ (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) กําหนดอัตราภาษีนําเขารอยละ 0 ทั้งขาวโพดในโครงการ Contract Farming และนอกโครงการ และผูมี สิทธินําเขาตองจดทะเบียนเปนผูนําเขากับกรมการคาตางประเทศ และ ตองรายงานการนําเขาตามที่กําหนดเปนประจําทุกเดือน20 นโยบายนําเขาของอินโดนีเซียนั้น ขณะนี้กระทรวงเกษตรของอินโดนีเซียได ออกกฎกระทรวงเกษตร เรื่อง “การควบคุมความปลอดภัยอาหารจากพืชที่นําเขา และสงออก” เริ่มมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 เปนตนไป โดย 19 ผลการประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 8 กันยายน 2552เรื่อง “รายงานผลการเดินทางไปราชการตางประเทศของรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ” 20 สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย (กันยายน 2552)
  9. 9. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 91 กําหนดใหผูที่จะสงออกสินคาพืชซึ่งรวมถึงขาวโพดเลี้ยงสัตวดวย ตองตรวจสอบ สารพิษตกคาง สารอะฟลาทอกซิน และโลหะหนัก เชน แคดเมียม และตะกั่ว เปน ตน21 นโยบายนี้อาจมีผลกระทบทําใหการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยไปยัง อินโดนีเซียลดลงได22 4.1.4 ถั่วเหลือง นโยบายดานการนําเขาถั่วเหลืองของประเทศไทยนั้น พบวามีการกําหนด นโยบายและมาตรการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ น้ํามันพืชและพืชน้ํามัน ซึ่งกําหนดใหประเทศไทยเปดตลาดนําเขาเมล็ดถั่วเหลือง ป 2549 ตามมติคณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช ดังนี้ (1) ใหนําเขาไมจํากัดปริมาณ และชวงเวลานําเขา อากรนําเขาในโควตา รอยละ 0 นอกโควตา รอยละ 80 (2) ผูมีสิทธินําเขาในโควตา รวม 13 ราย คือ สมาคมผูผลิตน้ํามันถั่วเหลือง และรําขาว สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย สมาคมปศุสัตวไทย สมาคมผูเลี้ยงไกเนื้อ เพื่อการสงออก สมาคมสงเสริมผูใชวัตถุดิบอาหารสัตว สมาคมผูผลิตไกเพื่อ สงออกไทย สมาคมผูคาสินคาเกษตรกับประเทศเพื่อนบาน บริษัท กรีนสปอรต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท แลคตาซอย จํากัด บริษัท ไทยเทพรสผลิตภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) บริษัท แดรี่พลัส จํากัด บริษัท ไทยชิม จํากัด และหางหุนสวน จํากัด คิคโคเคน หากมีผูยื่นขอสิทธินําเขารายใหมใหฝายเลขานุการคณะกรรมการ พืชน้ํามันและน้ํามันพืช (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร) เปนผูพิจารณาและแจง คณะกรรมการทราบ 21 ขาวโพดตองตรวจสอบสารตกคางและโลหะหนักประมาณ 20รายการ 22 “อินโดฯคุมเขมนําเขาสินคาเกษตร” หนังสือพิมพเดลินิวส วันอังคาร ที่ 8 กันยายน 2552
  10. 10. AEC Prompt 92 (3) ผูมีสิทธินําเขาในโควตาตองรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศจาก เกษตรกรทั้งหมด ดังนี้ - ถั่วเหลืองเกรดสกัดน้ํามัน ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 12.25 บาท ณ ไรนา หรือ 13.00 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร - ถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 12.50 บาท ณ ไรนา หรือ 13.25 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร - ถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร ราคาไมต่ํากวา กก.ละ 14.50 บาท ณ ไรนา หรือ 15.25 บาท ณ หนาโรงงาน ตลาดกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ผูมีสิทธินําเขาในโควตาตองทําสัญญารับซื้อเมล็ดถั่วเหลือง ภายในประเทศกับกระทรวงเกษตรและสหกรณและกระทรวงพาณิชย นอกจากนี้คณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช ไดแตงตั้ง คณะอนุกรรมการกํากับ ดูแลเมล็ดถั่วเหลือง เพื่อกํากับดูแลและติดตามการรับซื้อ เมล็ดถั่วเหลืองที่ผลิตในประเทศ การใชเมล็ดถั่วเหลืองนําเขาของผูมีสิทธินําเขา เมล็ดถั่วเหลืองในโควตาใหเปนไปตามนโยบาย เงื่อนไข และมาตรการนําเขาเมล็ด ถั่วเหลือง ตามมติคณะกรรมการพืชน้ํามันและน้ํามันพืช และที่ทางราชการกําหนด โดยมี เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปนประธาน ผูแทนจากหนวยงาน ราชการ และเอกชนที่เกี่ยวของ เปนอนุกรรมการ และผูอํานวยการสํานักวิจัย เศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปนอนุกรรมการและ เลขานุการ (ที่มา: สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร กรมการคาภายใน กระทรวง พาณิชย)
  11. 11. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 93 4.1.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม เมื่อพิจารณาในภาพรวมของนโยบายในภาพรวมของประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งเปนผูผลิตปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมรายใหญของ โลกแลว จะพบวานโยบายของไทยเปนไปเพื่อควบคุมการนําเขาเพื่อปกปอง อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมในประเทศ สวนนโยบายอื่นๆ และองคกรควบคุมกํากับ นโยบายที่ยังไมชัดเจน ในขณะที่ในมาเลเซียรัฐบาลใหการสนับสนุนรวมถึงการดูแลและควบคุม ตั้งแตการปลูกจนถึงการสงออก สนับสนุนการเพิ่มมูลคาใหกับน้ํามันปาลมใหมี มูลคาสูงขึ้น เชน เคมีภัณฑจากน้ํามันปาลม และมีนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพ ราคาผลผลิต โดยการกําหนดใหมีสต็อกไมเกิน 1 ลานตันตอเดือน อีกทั้งยังมี Malaysian Palm Oil Board (MPOB) เปนองคกรระดับชาติในการควบคุมดูแล สวนนโยบายของอินโดนีเซียนั้นไดมีการสนับสนุนใหชาวตางชาติเขามา ลงทุนในธุรกิจปาลมน้ํามัน และสนับสนุนการสงออกน้ํามันปาลมที่มีมูลคาสูง จน ทําใหอินโดนีเซียกาวขึ้นมาเปนผูผลิตปาลมน้ํามันอันดับ 1 ของโลก 4.1.6 กาแฟ สําหรับนโยบายสงเสริมและสนับสนุนดานกาแฟของประเทศไทยและ ประเทศเพื่อนบานที่เปนผูผลิตสําคัญ คือ เวียดนามและอินโดนีเซียนั้น สามารถ สรุปไดดังนี้ (1) นโยบายดานการปลูกกาแฟ นโยบายดานการปลูกกาแฟของประเทศไทยนั้น ปจจุบันเปนการเนนดาน คุณภาพของเมล็ดกาแฟและปริมาณผลผลิตตอไรมากกวาสงเสริมใหเพิ่มพื้นที่ปลูก
  12. 12. AEC Prompt 94 กาแฟ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณไดกําหนดใหหนวยงานที่เกี่ยวของสงเสริม ใหเกษตรกรผูปลูกกาแฟหันไปปลูกกาแฟคุณภาพดีซึ่งมีราคาสูงกวา และชวงชิง สวนแบงทางการตลาดของกาแฟคุณภาพนี้ รวมทั้งมีมาตรการเพิ่มปริมาณผลผลิต เมล็ดกาแฟตอไรใหเพิ่มสูงขึ้นและมีตนทุนลดลง โดยการปรับโครงสรางการผลิต ปรับปรุงสูตรการใสปุย และการพัฒนาสายพันธุเมล็ดกาแฟ สําหรับนโยบายดานการปลูกกาแฟของประเทศเวียดนามนั้น พบวาในชวงที่ ผานมาราคาเมล็ดกาแฟในตลาดโลกผันผวนและตกต่ําทําใหรัฐบาลเวียดนามหัน มาสงเสริมดานการพัฒนาประสิทธิภาพของการปลูกกาแฟมากยิ่งขึ้น ดังนี้ - กําหนดมาตรฐานของเมล็ดกาแฟที่ชัดเจนเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแก ผูบริโภคและลูกคา เชน การประกาศมาตรฐานคุณภาพเมล็ดกาแฟ TCVN 4193 : 2001 ในป 2544 และปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพเมล็ด กาแฟใหม คือ TCVN 9193 : 2001 ในป 2545 เปนตน - นโยบายลดพื้นที่ปลูกกาแฟพันธุโรบัสตาในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม และเพิ่ม พื้นที่ปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่ที่เหมาะสมแทนเนื่องจากมีราคา ดีกวา - คิดคนและวิจัยพันธุกาแฟใหมๆ ที่ใหปริมาณผลผลิตสูงกวา คุณภาพ ดีกวา และการวิจัยความเปนกรด-ดางของดินในระดับที่มีประสิทธิภาพ มากที่สุด นั่นคือมีการใชปุยนอยลงแตใหปริมาณผลผลิตเทาเดิม - สงเสริมการผลิตกาแฟปลอดสารเคมี โดยเฉพาะในพื้นที่เพาะปลูกทาง ตอนเหนือที่อยูในเขตภูเขา มีความเหมาะสมในการปลูกกาแฟโดยไม จําเปนตองใสปุยหรือยาฆาแมลง
  13. 13. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 95 - นโยบายเพิ่มการลงทุนของรัฐบาลดานการขยายการใหบริการแก ผูประกอบการรายยอยในชนบท และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใน พื้นที่ชนบทใหดียิ่งขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกดานการเพาะปลูกและการ ขนสงกาแฟ - สมาคมกาแฟเวียดนามไดทําความตกลงกับทางการแขวงจําปาสักของ ลาวเพื่อปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่กวา 60,000 ไรในเขตเมืองปาก ซอง (ป 2550) โดยเปนบริษัทรวมทุนของสองประเทศเพื่อปลูกกาแฟ คุณภาพดีของลาว ซึ่งผลผลิตจากที่แหงนี้จะสงออกไปยังสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา แตเนื่องจากเนื้อที่เพาะปลูกมีจํากัดและขาดแรงงาน ทองถิ่นทําใหไมสามารถขยายการผลิตไดตามที่ตกลง โดยทางการแขวง ไดสัญญาจะจัดหาพื้นที่ประมาณ 18,000-30,000 ไร ใหแกบริษัทกาแฟ รวมทุนเวียดนาม-ลาวดังกลาว สวนนโยบายดานการปลูกกาแฟของอินโดนีเซียนั้น พบวามีมาตรการสงเสริม ใหมีปริมาณการผลิตเมล็ดกาแฟภายในประเทศใหมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาการ นําเขาเมล็ดกาแฟจากตางประเทศ รวมทั้งมีนโยบายสนับสนุนดานการขยายพื้นที่ การปลูกกาแฟพันธุอาราบิกาในพื้นที่เกาะสุมาตรา เพื่อเพิ่มมูลคาการสงออก แทนที่กาแฟพันธุโรบัสตาที่มีราคาต่ํากวา (2) นโยบายดานการนําเขาเมล็ดกาแฟ เนื่องจากเมล็ดกาแฟจัดอยูในบัญชีสินคาออนไหวของไทย ที่กําหนดใหลด อัตราภาษีเหลือรอยละ 5 ในป 2553 ซึ่งจากการลดอัตราภาษีนี้สงผลใหรัฐบาลไทย มีมาตรการรับมือกับผลกระทบของการทะลักเขามาของเมล็ดกาแฟจาก
  14. 14. AEC Prompt 96 ตางประเทศ โดยกําหนดใหองคการคลังสินคา (อคส.) หรือผูประกอบการที่เปนนิติ บุคคล เปนผูนําเขาภายใตเงื่อนไขและการกํากับดูแลของคณะอนุกรรมการพืชสวน ภายใตคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ เงื่อนไขก็คือ กําหนดใหมีการนําเขาเมล็ดกาแฟในชวงพฤษภาคม-สิงหาคมของทุกป และใชเปน วัตถุดิบในการแปรรูปเทานั้น หามจําหนายหรือจายแจกเปนวัตถุดิบภายในประเทศ อีกทั้งกําหนดใหผูมีสิทธินําเขาเมล็ดกาแฟตองรับซื้อเมล็ดกาแฟในประเทศใน ฤดูกาลถัดไปตามปริมาณนําเขานั้นดวย โดยจะตองรับซื้อตามราคาตลาดโลก หรือ หากราคาตลาดโลกตกต่ําใหรับซื้อในราคาตนทุนการผลิตบวก 20% รวมถึง มาตรการเขมงวดดานสุขอนามัยพืชที่เปนการกําหนดในดานโรคพืชและแมลง และ มาตรการที่มิใชภาษี (Non-Tariff Measures : NTM) ที่เปนการกําหนดมาตรฐาน และสารปนเปอนดวย (3) นโยบายดานราคาเมล็ดกาแฟ ในอดีตประเทศไทยเคยดําเนินมาตรการแทรกแซงราคาเมล็ดกาแฟ ดําเนินการรับจํานําเมล็ดกาแฟพันธุโรบัสตาจากเกษตรกรรายยอยในจังหวัดแหลง ผลิต แตในปจจุบันไมไดดําเนินมาตรการดังกลาวแลวเนื่องจากราคาเมล็ดกาแฟใน ตลาดโลกสูงขึ้น รวมทั้งการพัฒนาเครือขายเกษตรกรชาวสวนกาแฟกับผูประกอบ กิจการแปรรูปกาแฟใหสามารถกําหนดราคาซื้อ-ขายที่เหมาะสมไดเอง
  15. 15. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 97 4.2 ปญหาสินคาเกษตรไทยในตลาดอาเซียน 4.2.1 ขาว ถึงแมปจจุบันประเทศไทยจะยังคงครองอันดับ 1 ในการสงออกขาวใน ตลาดโลก แตสําหรับตลาดอาเซียนนั้นคงตองยอมรับวาในชวงหลายปที่ผานมา ไทยไดเสียตลาดขาวสวนใหญใหกับประเทศเพื่อนบานอยางเวียดนาม และยังเสีย ตลาดบางสวนใหกับกัมพูชา พมา และลาว ซึ่งปญหาของขาวไทยในตลาดอาเซียน เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบาน สามารถสรุปไดดังนี้ (1) ตนทุนการผลิตตอไรสูง แตผลผลิตตอไรต่ํา ปญหาดานตนทุนการผลิตและผลผลิตตอไร เปนปญหาที่สงผลกระทบ โดยตรงตอศักยภาพในการสงออกขาวของไทยในตลาดอาเซียน เพราะเมื่อ เปรียบเทียบตนทุนการผลิตตอไรของไทยกับเวียดนาม ขอมูลจากสมาคมชาวนา ไทย ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2552 ราคาตนทุนการผลิตตอไรของไทยอยูที่ 5,950 บาท ในขณะที่เวียดนามมีตนทุนการผลิตตอไรใกลเคียงกับของไทย สวนตนทุนการ ผลิตของพมานั้นต่ํากวาของไทยคอนขางมาก โดยการผลิตขาวที่ใชแรงคนตนทุน การผลิตจะอยูที่ 2,000 บาทตอไร แตถามีเครื่องจักรเขามาชวยตนทุนการผลิตจะ อยูที่ 3,000 บาทตอไร ซึ่งผลผลิตตอไรของไทยกับเวียดนามเมื่อเปรียบเทียบกัน แลว พบวาเวียดนามมีผลผลิตตอไรสูงกวาไทยคอนขางมาก โดยเมื่อพิจารณา ขอมูลชวงป 2549/50-2552/53 จะเห็นวาเวียดนามมีผลผลิตตอไรสูงถึง 782.4- 796.0 กิโลกรัมตอไร ในขณะที่ไทยมีผลผลิตตอไรเพียง 441.6-452.8 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 6)
  16. 16. AEC Prompt 98 (2) ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจํากัด จากรายงานขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร ของสํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร ป 2551 พบวาในปจจุบันมีระบบชลประทานอยูในพื้นที่เพาะปลูกขาว เพียงรอยละ 32 ของพื้นที่ปลูกขาวทั้งหมดของประเทศ สวนอีกรอยละ 68 ตอง พึ่งพาน้ําฝนเปนหลัก ซึ่งพื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีระบบชลประทานสวนใหญจะอยูใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทย ในขณะที่เวียดนามมีระบบ ชลประทานกระจายอยูในพื้นที่เพาะปลูกมากถึงรอยละ 50 ของพื้นที่เพาะปลูกขาว ทั่วประเทศ ทําใหเกษตรกรที่อยูในเขตชลประทานสามารถปลูกขาวได 2-3 ครั้งตอ ป (3) งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตขาวนอยเกินไป ในปจจุบันรัฐบาลไทยไมไดใหความสําคัญเทาที่ควรกับการวิจัยและพัฒนา เพื่อปรับปรุงพันธุขาว รวมไปถึงเทคโนโลยีในการเพาะปลูก และการพัฒนาความรู ความสามารถใหกับเกษตรกรผูปลูกขาว เห็นไดจากการกําหนดนโยบายและการ จัดสรรงบประมาณของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลใหความสําคัญกับนโยบายดานราคาขาว มากกวาที่จะสนับสนุนดานการพัฒนาและการวิจัย โดยงบประมาณที่ไดมาสําหรับ การวิจัยและพัฒนาขาวของไทย อยูในหลักรอยลานบาทตอปเทานั้น ในขณะที่ ประเทศคูแขงที่สําคัญอยางเวียดนาม รัฐบาลเวียดนามใหความสําคัญกับเรื่องนี้ เปนอยางมาก โดยทุมงบประมาณหลายพันลานบาทตอป ในการสนับสนุนการ วิจัยและพัฒนาพันธุขาวอยางตอเนื่อง รวมไปถึงการใหความชวยเหลือแก เกษตรกรในการเพิ่มปริมาณผลผลิต สนับสนุนการขยายพันธุขาวใหมๆ ที่ใหผล ผลิตสูงและใชเวลาสั้นลงในการเพาะปลูก อีกทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนา
  17. 17. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 99 พื้นที่เพาะปลูกใหมีศักยภาพมากขึ้น เพื่อใหเอื้อตอการปลูกขาวเพื่อการสงออกเปน การเฉพาะ จากปจจัยดังกลาวทําใหเวียดนามสามารถพัฒนาดานการผลิตขาวได อยางรวดเร็ว (4) ราคาสงออกขาวไทยสูงกวาประเทศเพื่อนบาน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบราคาสงออกขาวของไทยกับประเทศเพื่อนบานใน อาเซียนที่สามารถผลิตและสงออกขาวทั้งพมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ราคา ขาวของไทยถือวาอยูในระดับที่คอนขางสูง โดยเฉพะเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนาม ซึ่งเปนคูแขงที่สําคัญของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก จะเห็นวาในราคา สงออกขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยคอนขางมาก เห็นไดจากราคาขาวสารชนิด 5% ในป 2550 ราคาขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยอยูเพียง 20 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน แตในป 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ราคาสงออกขาวของเวียดนามต่ํากวาไทยถึง 169 เหรียญสหรัฐฯตอตัน ซึ่งจากราคาขาวของเวียดนามที่ต่ํากวาไทยคอนขางมาก ถือวาเปนจุดแข็งและจุดขายที่ทําใหเวียดนามสามารถแยงตลาดขาวในหลาย ประเทศทั้งในและนอกอาเซียนจากไทย (ตารางที่ 43) ตารางที่ 43 เปรียบเทียบราคาสงออกขาวระหวางไทยกับเวียดนาม (FOB) หนวย: เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ไทย เวียดนาม รายการ 2550 2551 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) 2550 2551 2552 (ม.ค.-มิ.ย.) ขาวสารชนิด 5% 333* 691* 601* 313 614 432 ขาวสารชนิด 25% 305 603 469 294 553 383 หมายเหตุ: * เปนขอมูลจาก USDA, Rice Outlook, September, 2009. ที่มา: FAO, Rice Market Monitor, collected from Jackson Son & Co. (London) Ltd. and other public sources. 2009.
  18. 18. AEC Prompt 100 (5) ขาดการประชาสัมพันธในการสรางตราสินคาขาวไทยในตลาด อาเซียนและตลาดโลก รัฐบาลยังไมมีการประชาสัมพันธในสินคาขาวไทยและผลิตภัณฑที่ทําจาก ขาว ในประเทศอาเซียนมากนัก ถึงแมวาที่ผานมารัฐบาลจะมีการจัดโรดโชวขาว ไทยในประเทศตางๆ ทั้งในอาเซียนและนอกอาเซียนบาง แตก็ยังไมเพียงพอที่จะทํา ใหขาวไทยเปนที่รูจักในกลุมผูบริโภคในตางประเทศ ที่สําคัญยังขาดยุทธศาสตรเชิง รุกและงบประมาณในการสนับสนุน (6) ระบบและตนทุนขนสง ตนทุนการขนสงขาวของไทยอยูในระดับที่คอนขางสูงเมื่อเทียบกับประเทศ เพื่อนบานโดยเฉพาะเวียดนาม เนื่องจากโดยโครงสรางการทําการเกษตร (ปลูก ขาว) ของไทยสวนใหญใชการขนสงทางถนนเปนหลัก รองลงมาเปนทางเรือและ ทางรถไฟ เพราะไทยมีระบบการขนสงทางถนนที่ดี ทําใหสะดวกและรวดเร็วแต ตนทุนจะสูง ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเวียดนาม โดยโครงสรางของพื้นที่ในบริเวณ สามเหลี่ยมปากแมน้ําโขงจะพึ่งระบบทางน้ําเปนหลัก ทําใหมีตนทุนการขนสงที่ถูก กวาไทย แตจะเกิดความลาชาและไมคอยสะดวกโดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิต จํานวนมากๆ ในคราวเดียวกัน แตทั้งนี้รัฐบาลของเวียดนามไดใหความสําคัญกับ การสรางทาเรือไวสําหรับรองรับการขนสงขาวเฉพาะ โดยไดสรางทาเรือและ จัดระบบขนสงทางน้ําไวในพื้นที่ๆ มีการเพาะปลูกขาวที่สําคัญของประเทศเพื่อ รองรับการขนสงขาวภายในประเทศและขนสงตอไปยังตางประเทศ ทําใหตนทุน การขนสงขาวของเวียดนามต่ํากวาของไทยและประเทศเพื่อนบาน
  19. 19. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 101 (7) ไมมีนโยบายและยุทธศาสตรขาวที่ชัดเจนภายใตประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ในขณะที่สินคาขาวของไทยตองลดภาษีเปน 0 ในกรอบของ AFTA และ กรอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในวันที่ 1 มกราคม 2553 นี้ ในขณะ ที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนไมไดลดภาษี แตจัดขาวอยูในรายการสินคาออนไหวที่ ตองดูแลเปนพิเศษ ซึ่งรัฐยังไมมีนโยบายหรือยุทธศาสตรของประเทศที่ชัดเจนใน การกําหนดทิศทางของขาวไทย ทําใหการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้ง ทางดานการวิจัยและการพัฒนา รวมไปถึงการสงเสริมของหนวยงานตางๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชนขาดประสิทธิภาพ และไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน 4.2.2 มันสําปะหลัง ปญหามันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนมีนอยมาก เนื่องจากในตลาด อาเซียนไทยเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิต และความสามารถในการสงออก ผลิตภัณฑมันสําปะหลังสูงกวาประเทศคูแขงอยางอินโดนีเซียและเวียดนาม คอนขางมาก ดังนั้นในตลาดอาเซียนคูแขงที่แทจริงของไทยคือการแขงกับตัวเองใน การพัฒนาศักยภาพการผลิต การพัฒนาการแปรรูปมันสําปะหลังออกมาใน รูปแบบตางๆ เพื่อที่จะรักษาตลาดผลิตภัณฑเดิมและขยายตลาดผลิตภัณฑใหมๆ 4.2.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยในตลาดอาเซียนนั้น แมวาจะมีปริมาณ ผลผลิตเฉลี่ยตอไรที่เทียบกับประเทศอาเซียนแลวอยูที่อันดับ 2 รองจากประเทศ ลาว แตเมื่อพิจารณาปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว จะพบวาอยูในอันดับ 3 รองลงมาจากประเทศอินโดนีเซียและฟลิปปนส เนื่องจากทั้ง 2 ประเทศนี้มีเนื้อที่
  20. 20. AEC Prompt 102 เพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมากกวาประเทศไทย รวมทั้งปญหาดานอื่นๆ ซึ่งสรุปได ดังนี้ (1) ปญหาแนวโนมการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยลดลง พื้นที่เพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยมีแนวโนมลดลงเรื่อยมา ซึ่ง มีเหตุผลมาจากเกษตรกรบางสวนที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่มี แรงจูงใจดานผลตอบแทนสูงกวา เชน มันสําปะหลัง ออย และยางพารา เปนตน จึง ทําใหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยลดลงอยาง แตในทางกลับกัน อุตสาหกรรมอาหารสัตวในประเทศไทยมีความตองการใชวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ซึ่ง ขาวโพดก็เปนหนึ่งในวัตถุดิบหลัก ดังนั้นผลที่ตามมาอาจทําใหประเทศไทย จําเปนตองนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวมาจากประเทศเพื่อนบานเพิ่มมากขึ้น (2) ปญหาการปนเปอนของสารอัลฟราทอกซิน การเพาะปลูกขาวโพดของไทยแบงออกไดเปน 2 รุนหลักๆ คือ23 1) รุนที่ 1 มีชวงเวลาการปลูกเดือน พฤษภาคม-ตุลาคม และมีชวงเวลาเก็บ เกี่ยวเดือน สิงหาคม-กุมภาพันธ มีปริมาณผลผลิตสูงที่สุดประมาณรอย ละ 80.0 ของผลผลิตขาวโพดทั้งหมด 2) รุนที่ 2 มีชวงเวลาการปลูกเดือน พฤศจิกายน-มีนาคม และมีชวงเวลา เก็บเกี่ยวเดือน กุมภาพันธ-มิถุนายน มีปริมาณผลผลิตประมาณรอยละ 20.0 ของผลผลิตขาวโพดทั้งหมด 23 “ขอมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร” ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2552
  21. 21. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 103 จากชวงเวลาการปลูกและเก็บเกี่ยวของขาวโพดทั้ง 2 รุนนี้ จะเห็นวาในรุนที่ 1 ซึ่งเปนรุนที่มีปริมาณผลผลิตมากที่สุด พบวามีชวงเวลาการเก็บเกี่ยวในฤดูฝนทํา ใหเสี่ยงตอการขึ้นราและปนเปอนสารพิษอัลฟราทอกซิน ซึ่งการปนเปอนสวนหนึ่ง จะเกิดขึ้นกับขาวโพดที่เก็บไวในยุงของเกษตรกร และปริมาณสารพิษจะเพิ่มมาก ขึ้นเมื่อขาวโพดอยูในมือของพอคาทองถิ่น โดยเฉพาะชวงที่ขาวโพดอยูในโกดังเพื่อ รอลดความชื้น นอกจากนี้ในชวงปลายของฤดูฝนจะมีการระบาดของโรคและแมลง ซึ่งทําใหผลผลิตขาวโพดเสียหายอีกดวย 4.2.4 ถั่วเหลือง ปญหาของถั่วเหลืองไทยในอาเซียนยังไมมีมากนัก เนื่องจากประเทศไทยเปน ประเทศผูนําเขาถั่วเหลือง โดยสามารถสงออกไดนอยมาก และขณะนี้ผลผลิตตอไร ของไทยอยูในระดับที่สูงกวาประเทศเพื่อนบานทั้งหมด ดังนั้นในระยะสั้นคาดวา ยังคงไมพบปญหา แตในระยะยาวนั้นอาจมีปญหาผลผลิตในประเทศที่มีแนวโนม ลดลงเพราะมีพื้นที่ใหผลผลิตลดลง จึงอาจตองนําเขาถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเกิด ปญหาในดานคุณภาพของถั่วเหลืองที่นําเขาจากประเทศเพื่อนบานบางประเทศที่ เปนถั่วเหลือง (Genetic Modified Organisms : GMOs) ซึ่งอาจทําใหถูกกีดกัน ทางการคาจากประเทศผูนําเขาผลิตภัณฑถั่วเหลืองจากไทยได 4.2.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม แมวาประเทศไทยจะยังมีปญหาในการผลิตปาลมน้ํามันแตไทยก็ยังสามารถ ปรับตัวเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมจนสามารถ พึ่งพาตัวเองได ไมตองนําเขาหรือนําเขาในปริมาณนอยและยังสามารถผลิตจน เหลือสงออกไปยังตางประเทศได สรางความเขมแข็งใหเกิดขั้นทั้งระบบไมวาจะ
  22. 22. AEC Prompt 104 เปนเกษตรกร ผูประกอบการแปรรูป รวมถึงผูบริโภค แตปจจุบันยังมีปญหาเกิดขึ้น ในการพัฒนาน้ํามันปาลมของไทย สามารถสรุปเปนปญหาในดานตางๆ ได ดังตอไปนี้ (1) ดานการผลิต 1) คุณภาพของผลปาลมน้ํามันที่ยังมีคุณภาพต่ํา เนื่องจากพันธุปาลมมี คุณภาพต่ํา 2) ตนทุนการเพาะปลูกปาลมน้ํามันของไทยอยูในระดับสูง เนื่องจาก ชาวสวนปาลมสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย พื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันมี ขนาดเล็ก สงผลใหผลผลิตตอไรอยูในระดับต่ําและตนทุนการผลิตสูง รวมการขาดการบริหารจัดการที่ดี 3) เกษตรกรขาดอํานาจตอรอง และมีการจําหนายผลผลิตขาดการแยก เกรดทําใหไดราคาต่ํา (2) ดานการบริหารจัดการ 1) การขยายพื้นที่สงเสริมการปลูกโดยมิไดคํานึงถึงความเหมาะสมของ พื้นที่และความเปนไปไดในทางปฏิบัติ 2) โรงงานสกัดน้ํามันปาลมมีกําลังการผลิตสวนเกิน ซึ่งปจจุบันมีโรงงาน สกัดน้ํามันปาลม 54 โรงงานมีกําลังการผลิตรวม 14.5 ลานตันผลปาลม สดตอป มีกําลังการผลิตสวนเกินเฉลี่ยรอยละ 55 สงผลใหเกิดการตัด ปาลมดิบเขาสูโรงงานในขณะมีที่โรงงานกลั่นน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ 14
  23. 23. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 105 โรงงาน มีกําลังการผลิต 1.2 ลานตันน้ํามันปาลมดิบตอป โรงงานมี กําลังผลิตสวนเกินรอยละ 45 เชนกัน 3) การดําเนินนโยบายพลังงานทดแทน ซึ่งมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ สงเสริมไบโอดีเซล โดยใชน้ํามันสวนที่เหลือจากการบริโภคมาผลิต เปนไบโอดีเซล เพื่อลดการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง ยังไมมีวัตถุดิบเพียงพอ แมวาจะนโยบายในการเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกปาลมเพื่อนําไปใชผลิต พลังงานทดแทนโดยเฉพาะ 4) การขาดมาตรฐานในการกําหนดราคารับซื้อผลปาลม การเปลี่ยนแปลง ของราคาผลปาลมจะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงราคาน้ํามันปาลมดิบ จนกระทั่งน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ที่ใชในการบริโภคและการผลิตสินคา อุปโภคบริโภคในอุตสาหกรรมตอเนื่องดวย 5) ประเทศไทยยังขาดหนวยงานที่ควบคุมดูและจัดการเกี่ยวกับปาลม น้ํามันและน้ํามันปาลมอยางเปนระบบเชนเดียวกับ Malaysian Palm Oil Board (MPOB) ของมาเลเซีย ซึ่งกลาวไดวานี่เปนจุดแข็งที่สําคัญ อยางหนึ่งของการพัฒนาอุตสาหกรรมปาลมน้ํามันของมาเลเซียจนกาว เปนผูผลิตชั้นนําของโลก 4.2.6 กาแฟไทย (1) ตนทุนการผลิต สําหรับตนทุนการผลิตของไทยในปจจุบันยังคงมีระดับสูงกวาประเทศคูแขง อยางเวียดนาม โดยเฉพาะตนทุนคาจางแรงงานของไทยที่สูงกวาเวียดนามและ อินโดนีเซีย ทําใหกาแฟไทยไมสามารถแขงขันในตลาดโลกได นอกจากนั้นยังมี
  24. 24. AEC Prompt 106 สาเหตุจากการดูแลรักษาตนกาแฟไมถูกวิธีดวย เชน การใชปุยมากเกินไป การใช ยากําจัดโรคและแมลงยังไมถูกตอง เปนตน สงผลใหเสียคาใชจายสูงและปริมาณ ผลผลิตต่ํา (2) คุณภาพกาแฟ คุณภาพของเมล็ดกาแฟของไทยแมวาจะมีคุณภาพที่ดีกวาประเทศคูแขงทั้ง จากเวียดนามและอินโดนีเซีย แตอยางไรก็ตามเมล็ดกาแฟของไทยยังคงพบวามี ปญหาดานคุณภาพที่ไมสม่ําเสมอ เนื่องจากมีการเก็บเมล็ดสุกและไมสุกปะปนกัน การนําผลกาแฟไปตากบนลานดินทําใหเมล็ดกาแฟดูดซับเอากลิ่นดินเขาไปใน เมล็ด (3) เวียดนามมีแนวโนมผลิตกาแฟเพิ่มขึ้นทําใหผลผลิตลนตลาด จากการที่เวียดนามสามารถผลิตกาแฟไดมากเปนอันดับ 2 ของโลก รวมทั้งมี นโยบายเพิ่มพื้นที่ปลูกมากขึ้นเรื่อยๆ จะยิ่งทําใหปริมาณผลผลิตกาแฟออกสู ตลาดโลกเปนจํานวนมาก ทําใหเกิดภาวะสินคาลนตลาด และทําใหราคา ตลาดโลกตกต่ําในที่สุด ผลจากราคาตกต่ํานี้จะยิ่งลดแรงจูงใจของผูปลูกกาแฟใน ประเทศไทยมากขึ้น และอาจสงผลใหปริมาณการผลิตกาแฟในประเทศลดลง 4.3 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตอสินคาเกษตรไทย 4.3.1 ขาว จากเดิมกอนที่จะลดภาษีขาวเปน 0 ตามขอตกลงของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในป 2553 การลักลอบนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานอยางเชน ลาว พมา และกัมพูชา มีจํานวนคอนขางมากอยูแลว ซึ่งเมื่อมีการเปดใหมีการนําเขา
  25. 25. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 107 ขาวอยางเสรีจากประเทศในกลุมอาเซียนดวยกัน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นแนนอนคือ การทะลักเขามาจํานวนมากของขาวจากประเทศเพื่อนบาน และสิ่งที่ทุกฝายกังวล ก็คือเมื่อมีการนําเขาขาวจากเพื่อนบานอาจมีสารปนเปอนและมีการตัดแตง พันธุกรรม (GMOs) โดยที่ไมสามารถแยกไดวามาจากไหน อาจเกิดการปลอมปน ทําใหคุณภาพขาวของไทยดอยลง สวนในดานการคาเมื่อขาวของไทยมีราคาแพง ผูซื้อหันไปนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานที่ราคาถูกกวา สวนพอคาในประเทศ บางสวนอาจนําเขาขาวจากประเทศเพื่อนบานแลวสงออก ซึ่งในสวนนี้อาจจะสงผล กระทบตอเรื่องราคาขาวภายในประเทศของไทย 4.3.2 มันสําปะหลัง การเปดเสรีทางการคาภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไมสงผลกระทบ ตอมันสําปะหลังของไทยมากนัก เนื่องจากในปจจุบันไทยเปนประเทศที่มีศักยภาพ ในการผลิตและสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังไดมากที่สุดในอาเซียน โดยครอง สวนแบงตลาดมากกวาประเทศคูแขงอยางเวียดนามและอินโดนีเซียคอนขางมาก ประกอบกับไทยมีการพัฒนาในดานการผลิต ดานคุณภาพของผลิตภัณฑมัน สําปะหลัง รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตและการแปรรูปมันสําปะหลัง ในรูปแบบตางๆ ใหมีความหลากหลายมากขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนั้นผลกระทบของ ผลิตภัณฑมันสําปะหลังภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จึงเปนผลกระทางดาน บวกมากกวาดานลบ ถึงแมวาการเปด AEC อาจจะทําใหมีการนําเขามันสําปะหลัง จากประเทศเพื่อนบานอยางเชนกัมพูชา ลาว พมา มากขึ้น แตปริมาณการนําเขา มันสําปะหลังจากประเทศเพื่อนบาน จะไมสงผลกระทบตอมันสําปะหลังของไทย
  26. 26. AEC Prompt 108 แตอยางใดเนื่องจากความตองการใชมันสําปะหลังของไทยในการสงออกมีจํานวน มาก 4.3.3 ขาวโพดเลี้ยงสัตว จากที่กลาวขางตนในดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยที่มีปริมาณการ ผลิตยังไมเพียงพอตอความตองการใชในประเทศ ทําใหตองนําเขามาจาก ตางประเทศดวยนั้น หากในป 2553 ที่อัตราภาษีนําเขาของประเทศอาเซียนลดลง เหลือ 0% ซึ่งรวมถึงไทยดวยนั้น พบวาจะทําใหขาวโพดเลี้ยงสัตวจากประเทศ อาเซียนเขามาในประเทศเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีความตองการนําเขาและราคาใน ประเทศอยูในระดับสูง แตทั้งนี้ในระยะสั้นปริมาณการไหลเขามาในไทยของ ขาวโพดเลี้ยงสัตวจากอาเซียนยังคงมีไมมากนัก เนื่องจากปริมาณการผลิตของ ประเทศอาเซียนที่เปนผูผลิตหลักยังไมเพียงพอตอความตองการในประเทศของ ตนเอง แตในระยะยาวแลวหากประเทศเหลานั้นมีการพัฒนาปริมาณผลผลิตตอไร เพิ่มมากขึ้นแลว อาจสงผลใหปริมาณการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยจาก อาเซียนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทําใหสงผลกระทบตอราคาและเกษตรกรในประเทศได ในที่สุด 4.3.4 ถั่วเหลือง ปจจุบันผลผลิตถั่วเหลืองในประเทศไทยที่ยังมีไมเพียงพอตอความตองการ ใชในประเทศ ทําใหเมื่อประเทศอาเซียนตองลดภาษีเปน 0% ในป 2553 จะทําให ผูประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑจากถั่วเหลืองสามารถนําเขาถั่วเหลืองและกากถั่ว เหลืองไดในราคาที่ถูกลง ซึ่งในระยะสั้นอาจยังไมสงผลเสียตอเกษตรกรผูผลิต แต
  27. 27. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 109 ในระยะยาวอาจสงผลกระทบใหจํานวนผูผลิตถั่วเหลืองลดลงได เนื่องจากประเทศ เพื่อนบาน เชน เวียดนาม ลาว เปนตน ในพื้นที่ตอนบนของประเทศมีสภาพอากาศ ที่เหมาะสมในการผลิตถั่วเหลือง ซึ่งหากมีการพัฒนาการผลิตและผลผลิตตอไร ก็ จะยิ่งทําใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นมากและทะลักเขาสูประเทศไทยมากขึ้น 4.3.5 ปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม ปาลมน้ํามันถือเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญอยางหนึ่งของเกษตรกรของไทย โดยเฉพาะทางภาคใต รวมถึงยังสงผลใหไทยมีจุดแข็งในดานความมั่นคงทางดาน อาหารประเภทน้ํามัน ซึ่งน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ของไทยถือไดวามีมาตรฐานการผลิต ที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศผูผลิตปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมรายใหญของ โลก เนื่องจากเปนน้ํามันที่มีลักษณะใส ไมมีตะกอน และไมเปนไข สําหรับพันธกรณีการเปดตลาดสินคาสินคาน้ํามันปาลมนั้น ตามขอตกลง เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) สงผลใหไทยตองปรับ ลดภาษีนําเขาน้ํามันปาลมดิบและน้ํามันปาลมบริสุทธิ์เหลือเพียงรอยละ 5 ในป 2546 จากภาษีภายใตองคการการคาโลกซึ่งเดิมอยูที่รอยละ 20 หากเปนภาษีที่อยู ในโควตาการนําเขา และรอยละ 143 หากเปนภาษีที่อยูนอกโควตาการนําเขา และ ในป 2548 ไดมีการยกเลิกมาตรการโควตาภาษีแลว แตใชมาตรการที่มิใชภาษี NTB โดยการนําเขาตองยื่นนําเขาผานองคการคลังสินคา ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับ ปริมาณสินคาที่มีอยูในประเทศ สวนการปรับลดภาษีของ AFTA ภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2553 ที่ตองปรับลดภาษีลงเหลือ รอยละ 0 นั้น น้ํามันปาลมของไทยตองเผชิญกับ ภาษีดังกลาวดวยเชนกัน แตทั้งนี้การนําเขายังตองอยูภายใตการควบคุมดูแลของ

×