Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 1
ขอบังคับของหอการคาจังหวัดกระบี่
หอการคานี้จัดตั้งตามพระราชบัญญัติหอการคา ...
ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 2
หมวด 2 วัตถุประสงค
ขอ 3. หอการคานี้มีวัตถุประสงคดังตอไปนี้
1. สงเสริมวิ...
ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 3
(4) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ไดแก อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร หอการคาจังหวัดกระบี...
Advertisement
Advertisement

Check these out next

1 of 13 Ad

ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549

Download to read offline

Advertisement
Advertisement

More Related Content

More from วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

Advertisement

ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549

  1. 1. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 1 ขอบังคับของหอการคาจังหวัดกระบี่ หอการคานี้จัดตั้งตามพระราชบัญญัติหอการคา พ.ศ. 2509 และอยูในการควบคุมดูแลของสํานักงาน ทะเบียนหอการคาประจําจังหวัดกระบี่ หมวดที่ 1 บทความทั่วไป ขอ 1. สถาบันนี้เรียกชื่อวา “หอการคาจังหวัดกระบี่” เรียกชื่อเปนภาษาอังกฤษวา “KRABI CHAMBER OF COMMERCE” ตราของหอการคาจังหวัดกระบี่ มีเครื่องหมายเปนรูปโล ดานในมีรูปเรือสําเภา หัวเปน พญานาค ใบเรือมีสีธงชาติไทย มีพื้นน้ําอยูดานลาง ดานชายมือมีอักษรภาษาไทยวา “หอการคาจังหวัด กระบี่” ดานขวามือมีอักษรภาษาอังกฤษวา “THE KRABI CHAMBER OF COMMERCE” คําวา “หอการคา” ตอไปในขอบังคับนี้ใหหมายความถึง “หอการคาจังหวัดกระบี่” ขอ 2. สํานักงานของหอการคา ตั้งอยู ณ เลขที่ 1/23-24 ถนนวัชระ ตําบลกระบี่ใหญ อําเภอเมือง จังหวัด กระบี่ โทรศัพท (075) 700204 โทรสาร (075) 700205
  2. 2. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 2 หมวด 2 วัตถุประสงค ขอ 3. หอการคานี้มีวัตถุประสงคดังตอไปนี้ 1. สงเสริมวิสาหกิจตางๆ เพื่อประโยชนทางการคา อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงิน และเศรษฐกิจ ในเขตจังหวัดกระบี่ เชน รวบรวมสถิติเผยแพรขาวสารการคา วิจัยเกี่ยวกับการคาและเศรษฐกิจ สงเสริมการทองเที่ยว การออกใบรับรองแหลงกําเนิดของสินคา การวางมาตรฐานแหงคุณภาพของ สินคา การตรวจสอบมาตรฐานสินคา จัดตั้ง และดําเนินการสถานการศึกษาที่เกี่ยวกับการคา และ เศรษฐกิจพิพิธภัณฑสินคา การจัดงานแสดงสินคา การเปนอนุญาโตตุลาการ ขอพิพาททางการคา 2. รับปรึกษา และใหขอแนะนําแกสมาชิกเกี่ยวกับการคา อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงิน หรือ เศรษฐกิจ และชวยอํานวยความสะดวกตาง ๆ ในการดําเนินธุรกิจของสมาชิก 3. ใหคําปรึกษา และเสนอขอแนะนําแกหอการคาไทย และรัฐบาล เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 4. ประสานงานในทางการคา ระหวางผูประกอบการคากับทางราชการ 5. เพื่อชวยเหลือ และสงเสริมการกุศล และสาธารณสงเคราะห 6. ปฏิบัติกิจการอื่น ๆ ตามแตจะมีกฎหมายระบุใหเปนหนาที่ของหอการคา หรือตามที่ทางราชการ มอบหมาย 7. หอการคาจังหวัดกระบี่นี้ ไมดําเนินการทางการเมือง หมวดที่ 3 สมาชิกและสมาชิกภาพ ขอ 4. หอการคาประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคล มีคุณสมบัติ ตามที่ไดระบุไวในขอ 5 ขอ 5. สมาชิกหอการคาแบงออกเปน 4 ประเภทคือ (1) สมาชิกสามัญ ไดแก บุคคลธรรมดา สัญชาติไทย ธุรกิจที่จดทะเบียนประกอบการ ซึ่งบุคคลธรรมดา สัญชาติไทยเปนเจาของ หรือนิติบุคคลที่มีบุคคลสัญชาติไทยเปนหุนสวนหรือผูถือหุนเกินกึ่งจํานวน เงินทุนของนิติบุคคลนั้น ซึ่งมีภูมิลําเนาอยูในจังหวัดกระบี่ และประกอบวิสาหกิจในทางการคา อุตสาหกรรม เกษตรกรรมการเงิน บริการ หรือเศรษฐกิจ หรือเปนสมาคมการคา ที่มีสมาชิกสัญชาติ ไทยเกินกึ่งจํานวนของสมาชิกทั้งหมด หรือเปนรัฐวิสาหกิจ สหกรณ หรือกลุมเกษตรกร (2) สมาชิกวิสามัญ ไดแก บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่มีคุณสมบัติเชนเดียวกับสมาชิกสามัญ แตไดแสดง ความจํานงสมัครเปนสมาชิกวิสามัญ (3) สมาชิกสมทบ ไดแก บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลที่มิไดมีสัญชาติไทย และสมาคมการคาที่มีสมาชิก เปนคนตางดาว เกินกึ่งจํานวนของสมาชิกทั้งหมด ซึ่งประกอบวิสาหกิจในทางการคา อุตสาหกรรม
  3. 3. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 3 (4) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ไดแก อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร หอการคาจังหวัดกระบี่บุคคลผูทรงคุณ วุฒิ หรือผูที่มีอุปการคุณแกหอการคาจังหวัดกระบี่ ซึ่งคณะกรรมการลงมติเชิญใหเปนสมาชิกกิตติม ศักดิ์ ไมตองชําระคาลงทะเบียน หรือคาบํารุงอยางใดทั้งสิ้น ขอ 6. คุณสมบัติของสมาชิก สมาชิกของหอการคา นอกจากคุณสมบัติตามขอ 5 แลว ยังตองประกอบดวยคุณ สมบัติดังตอไปนี้คือ (1) ในกรณีที่เปนบุคคลธรรมดา 1. เปนผูบรรลุนิติภาวะแลว 2. ไมเปนบุคคลลมละลาย บุคคลไรความสามารถหรือบุคคลเสมือนไรความสามารถ 3. ไมเคยเปนบุคคล ที่เคยตองโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดของศาลมากอนเวนแตความผิด ลหุโทษ หรือความผิดที่อัตราโทษไมสูงกวาความผิดลหุโทษ หรือความผิดซึ่งกระทําโดยประมาท 4. ไมเปนโรคอันพึงรังเกียจแกสังคม 5. เปนผูมีฐานะมั่นคงพอสมควร 6. เปนผูมีความประพฤติเรียบรอย (2) ในกรณีเปนนิติบุคคล 1. ไมเปนบุคคลลมละลาย 2. มีฐานะมั่นคงพอสมควรใหนําความในขอ 6 (1) มาใชบังคับแกคุณสมบัติของผูแทนนิติบุคคล ที่เปนสมาชิกตามขอ 10 ดวย ขอ 7. การสมัครเขาเปนสมาชิก ผูที่ประสงคจะสมัครเขาเปนสมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ หรือสมาชิก สมทบ ของหอการคา จะตองยื่นความจํานงตอเลขาธิการ หรือกรรมการผูทําหนาที่แทนเลขาธิการตาม แบบ พิมพที่หอการคาไดกําหนดไว โดยมีสมาชิกสามัญเปนผูรับรองอยางนอยสองคน ขอ 8. การพิจารณาคําขอสมัครเขาเปนสมาชิก ใหเลขาธิการ หรือกรรมการผูทําหนาที่แทนเลขาธิการนําใบ สมัคร เสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการในคราว ตอไป ครั้งแรกหลังจากการที่ไดรับใบสมัครเมื่อคณะกรรมการ มีมติใหรับหรือไมรับผูใดเขาเปนสมาชิกใหเลขาธิการมีหนังสือแจงใหผูนั้นทราบภายในเจ็ดวันแตวันลงมติ
  4. 4. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 4 ขอ 9. วันเริ่มสมาชิกภาพ สมาชิกภาพเริ่มตั้งแตวันที่ผูสมัครไดชําระคาลงทะเบียนเขาเปนสมาชิกและคา บํารุงประจําปของหอการคาเรียบรอยแลว ขอ 10. สมาชิกที่เปนนิติบุคคล จะตองตั้งผูแทนซึ่งเปนบุคคลธรรมดาที่มีอํานาจเต็มกระทํากิจการแทนนิติบุคคลนั้น ไดไมเกิน 2 คน เพื่อปฏิบัติการในหนาที่และการใชสิทธิแทนนิติบุคคลนั้น ผูแทนดังกลาวจะใชสิทธิในฐานะสมาชิก นิติบุคคลนั้นไดเพียงคนเดียว ผูแทนนิติบุคคลในวรรคแรกจะตองถือสัญชาติไทย และมีนิติสัมพันธ กับนิติบุคคลนั้น ในฐานะเปนกรรมการผูจัดการบริษัท จํากัด หุนสวนผูจัดการหางหุนสวนจํากัด หุนสวนใน หางหุนสวนสามัญจดทะเบียน หรือผูมีอํานาจทําการแทนนิติบุคคลตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณี บุคคลเดียวกันจะเปนผูแทนที่มีอํานาจเต็มของสมาชิกเกิน 1 รายมิไดภายหลังวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกป กอนที่มีการประชุมใหญประจําปหามใหมีการเปลี่ยนแปลงผูแทนที่มีอํานาจเต็ม ที่ไดจดแจงไว ขอ 11. การขาดจากสมาชิกภาพ สมาชิกภาพยอมสิ้นสุดลงในกรณีดังตอไปนี้ 1. ตาย หรือสิ้นสภาพนิติบุคคล 2. ขาดคุณสมบัติตามขอ 5 3. ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกตอคณะกรรมการ และคณะกรรมการเห็นชอบ 4. ตองคําพิพากษาถึงที่สุด ใหเปนบุคคลลมละลาย 5. ถูกศาลสั่งใหเปนบุคคลไรความสามารถหรือบุคคลเสมือนไรความสามารถ 6. ตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษจําคุก เวนแตเปนความผิดลหุโทษ หรือความผิดที่ไดกระทําโดย ประมาท 7. คณะกรรการลงมติ ใหลบชื่อออกจากทะเบียนสมาชิก โดยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวน กรรรมการทั้งหมดดวยเหตุหนึ่งเหตุใดดังตอไปนี้ 1. ประพฤติผิดศีลธรรมอันดี หรือธรรมจรรยาของพอคาจนขาดความนิยมของมหาชน 2. มีหนี้สินลนพนตัว หรือประพฤติตน หรือกระทําการใด ๆ อันจะนําความเสื่อมเสียมาสูหอการคา จังหวัดกระบี่ 3. ไมปฎิบัติตามขอบังคับ ระเบียบ หรือคําสั่งของหอการคาจังหวัดกระบี่ ที่กําหนดไว 4. ไมชําระเงินคาบํารุงประจําป และไดรับใบเตือนจากเจาหนาที่ครบสามสิบวัน
  5. 5. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 5 ขอ 12. ทะเบียนสมาชิก ใหนายทะเบียนจัดทําทะเบียน สมาชิกเก็บไว ณ สํานักงานหอการคา โดยอยางนอย ใหมีรายการดังตอไปนี้ 1. ชื่อ และสัญชาติของสมาชิก 2. ชื่อที่ใชในการประกอบวิสาหกิจ และประเภทของวิสาหกิจ 3. ที่ตั้งสํานักงานของสมาชิก 4. วันที่เขาเปนสมาชิก หมวดที่ 4 สิทธิและหนาที่ของสมาชิก ขอ 13. สิทธิของสมาชิก 1. ไดรับความชวยเหลือ และการสงเคราะหในเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการ อันอยูในวัตถุประสงคของหอ การคา เทาที่จะอํานวยได 2. เสนอความคิดเห็นหรือใหคําแนะนําตอหอการคาหรือคณะกรรมการในเรื่องใดๆ อันอยูในวัตถุ ประสงคของหอการคาเพื่อนํามาซึ่งความเจริญรุงเรืองของหอการคา 3. ขอตรวจสอบกิจการและทรัพยสินของหอการคาได โดยทําเปนหนังสือยื่นตอเลขาธิการหรือ กรรมการผูทําหนาที่แทนเลขาธิการ 4. เขารวมประชุมอภิปรายแสดงความคิดเห็นซักถามกรรมการ เสนอญัตติในการประชุมใหญสมาชิก 5. มีสิทธิประดับเครื่องหมายหอการคา 6. สมาชิกสามัญเทานั้นมีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมใหญสามัญประจําป หรือในที่ ประชุมใหญวิสามัญประจําป หรือในการรับเลือกตั้งเปนกรรมการหอการคา ขอ 14. หนาที่ของสมาชิก 1. ตองปฎิบัติตามขอบังคับของหอการคา มติของที่ประชุมใหญ มติของคณะกรรมการและหนาที่ ซึ่งตน ไดรับมอบหมายจากหอการคาดวยความซื่อสัตยโดยเครงครัด 2. ดํารงรักษาเกียรติ และผลประโยชนสวนไดเสียของหอการคา ตลอดจนตองรักษาความลับในขอประชุม หรือวิธีการของหอการคาไมเปดเผยขอความ ซึ่งอาจจะนําความเสื่อมเสียมาสูหอการคาโดยเด็ดขาด 3. สงเสริมและสนับสนุนกิจการ ของหอการคาใหเจริญรุงเรืองและมีความกาวหนาอยูเสมอ 4. ตองรักษาไวซึ่งความสามัคคีธรรม ระหวางสมาชิก และปฎิบัติกิจการคาในทํานองชวยเหลือกันดวย ความซื่อสัตยสุจริต 5. ชําระคาบํารุงใหแกหอการคาตามกําหนด
  6. 6. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 6 6. สมาชิกผูใดเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุล สัญชาติ ยายที่อยู ยายที่ตั้งสํานักงานเปลี่ยนแปลงประเภท วิสาหกิจหรือเปลี่ยนผูแทนนิติบุคคลจะตองแจงใหเลขาธิการทราบเปนหนังสือ ภายในกําหนดเวลาเจ็ด วัน นับแตเปลี่ยนแปลง วินัยของสมาชิก - สมาชิกตองรักษาไวซึ่งสามัคคีธรรมระหวางสมาชิก ปฏิบัติกิจการคาในทํานองชวยเหลือซึ่งกันและกัน ดวยความซื่อสัตยสุจริต - สมาชิกตองปฏิบัติหนาที่ของตนตามที่หอการคาไดมอบหมายให ดวยความซื่อสัตยสุจริต - สมาชิกตองรักษาความลับในขอประชุม หรือวิธีการของหอการคาหามเปดเผยขอความ ซึ่งอาจจะนํา ความเสื่อมเสียมาสูหอการคาจังหวัดกระบี่ โดยเด็ดขาด หมวดที่ 5 คาลงทะเบียนเขาเปนสมาชิกและคาบํารุงหอการคา ขอ 15. คาลงทะเบียนเขาเปนสมาชิก และคาบํารุงหอการคา 1. สมาชิกสามัญจะตองชําระ คาลงทะเบียน 500 บาท (หารอยบาทถวน) คาบํารุงหอการคาเปนประจํา ป ๆ ละ 500 บาท (หารอยบาทถวน) และ สมาชิกสามัญตลอดชีพจะตองชําระคาลงทะเบียน 500 บาท และคาบํารุงตลอดชีพจํานวน 10,000 บาท 2. สมาชิกวิสามัญ จะตองชําระคาลงทะเบียน 500 บาท (หารอยบาทถวน) และคาบํารุงหอการคาเปน ประจําป ปละ 200 บาท (สองรอยบาทถวน) 3. สมาชิกสมทบ จะตองชําระคาลงทะเบียน 500 บาท (หารอยบาทถวน) และคาบํารุงหอการคาเปน ประจําปๆละ 500 บาท (หารอยบาทถวน) 4. สมาชิกกิตติมศักดิ์ไมตองชําระคาลงทะเบียนหรือคาบํารุงอยางใดทั้งสิ้น ขอ 16. คาบํารุงพิเศษ หอการคาอาจเรียกเก็บคาบํารุงพิเศษจํานวนเทาใดจากสมาชิก ไดเปนครั้งคราวโดยที่ ประชุมใหญ ลงมติคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนสมาชิกสามัญ ที่มาประชุมทั้งหมด
  7. 7. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 7 หมวดที่ 6 คณะกรรมการของหอการคา ขอ 17. ใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งเปนผูบริหารงานใหเปนไปตามวัตถุประสงคของหอการคา และเปนผูแทน ของหอการคา ในกิจกรรมอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอกประกอบดวยสมาชิกสามัญ มีจํานวนไมนอยกวา 7 คน และไมเกิน 21 คน ดํารงตําแหนงตาง ๆ คือ ประธานกรรมการหอการคา รองประธาน เลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ปฏิคม ประชาสัมพันธ และตําแหนงอื่น ๆ ที่จะกําหนดหนาที่ตามที่เห็นสมควร เวนแตที่ ประชุมใหญครั้งนั้นๆ จะมีมติเปนอยางอื่น การเลือกตั้งกรรมการใหกระทําดวยวิธีลงคะแนนลับ โดยใหสมาชิกสามัญหรือสมาชิกวิสามัญ หรือสมาชิกสมทบเสนอชื่อของสมาชิกสามัญ ซึ่งตนประสงคจะใหเขาสมัครรับเลือกตั้งเปนกรรมการตอที่ ประชุมใหญ โดยมีสมาชิกอื่นรับรองไมนอยกวาสองคนแลวใหที่ประ ชุมใหญ ลงมติเลือกตั้ง ใหผูไดรับ คะแนนสูงตามลําดับไดเปนกรรมการตามจํานวนที่กําหนดไวในวรรคแรก หรือตามมติที่ประชุมใหญครั้ง นั้นๆ ถามีผูใดคะแนนเทากันในลําดับสุดทายที่จะไดเปนกรรมการคราวนั้น ใหที่ประชุมใหญลงมติใหม เฉพาะผูไดคะแนนเทากัน หากปรากฎวาไดคะแนนเทากันอีก ใหใชวิธีจับสลาก 1. คณะกรรมการของหอการคาอยูในตําแหนงคราวละ 2 ป และเมื่อพนจากตําแหนงไปแลว อาจไดรับ เลือกเปนกรรมการอีกก็ได 2. ผูใดจะดํารงตําแหนงประธานกรรมการหอการคาเกินกวา 2 คราว ติดตอกันมิได 3. การนับวาระกรรมการ ใหเริ่มนับวาระกรรมการของหอการคา ตั้งแตวันที่ที่ประชุมใหญมีมติ เลือกตั้งกรรมการ 4. หามมิใหประธานกรรมการหอการคา ดํารงตําแหนงทางการเมืองใดๆ 5. การใชสิทธิของสมาชิกในการเลือกตั้งคณะกรรมการ เปนกิจการเฉพาะตัวของสมาชิก หรือผูแทน นิติบุคคลที่มีอํานาจเต็มซึ่งจดแจงไว จะมอบอํานาจหรือตั้งตัวแทนชวงแทนตนไมได 6. สมาชิกผูใดคางชําระคาบํารุงสมาชิก ผูนั้นจะใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนตามขอบังคับนี้ไมได ขอ 18. การพนจากตําแหนงกรรมการ กรรมการยอมพนจากตําแหนงในกรณีดังตอไปนี้ 1. ครบกําหนดออกตามวาระ 2. ลาออกโดยคณะกรรมการหอการคาไดลงมติอนุมัติแลว 3. พนจากการเปนผูแทนของสมาชิกสามัญ ซึ่งเปนนิติบุคคล 4. ขาดจากสมาชิกภาพ 5. ที่ประชุมใหญมีมติ ใหถอดถอนออกจากการเปนกรรมการ 6. เมื่อรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย สั่งใหออกมาตรา 40 แหงพระราชบัญญัติหอการคา พ.ศ 2509 7. ตองคําพิพากษาถึงที่สุด ใหลงโทษตามพระราชบัญญัติหอการคา พ.ศ.2509
  8. 8. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 8 8. ขาดการประชุมคณะกรรมการ 3 ครั้ง ติดตอกัน โดยไมมีเหตุอันสมควร ในกรณีผูแทนสมาชิกซึ่งเปนนิติบุคคล ตามขอ 10 ที่ไดรับการเลือกตั้ง หรือแตงตั้ง ตายหรือพนจาก ตําแหนงผูแทนของสมาชิกนั้น ผูแทนคนใหมของสมาชิกรายนั้น ๆ จะเขาเปนกรรมการแทนก็ได ขอ 19. กรณีที่กรรมการ พนจากตําแหนงกรรมการกอนครบกําหนดออกตามวาระ คณะกรรมการอาจตั้งสมาชิกสามัญ คนใด คนหนึ่งใหเปนกรรมการแทนได แตกรรมการที่ไดรับ แตงตั้งแทนนี้ใหเปนกรรมการ อยูไดตามวาระของผูที่ตนแทน กรณีคณะกรรมการพนจากตําแหนงทั้งคณะกอนครบกําหนดออกตามวาระ ใหคณะกรรมการที่พน จากตําแหนงทั้งคณะกอนครบกําหนดออกตามวาระ ใหนําความในขอ 24 มาใชบังคับโดยอนุโลม คณะกรรมการซึ่งไดรับเลือกตั้งตามวรรคกอน อยูในตําแหนงไดตามวาระของคณะกรรมการที่พน จากตําแหนงไป ขอ 20. องคประชุมในการประชุมของคณะกรรมการ การประชุมของคณะกรรมการ จะตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาหนึ่งในสาม ขอจํานวน กรรมการทั้งหมด จึงจะนับวาเปนองคประชุม ในกรณีที่จํานวนกรรมการ ในคณะกรรมการนอยกวาหนึ่งในสาม ของจํานวนกรรมการทั้ง หมด กรรมการที่เหลืออยูยอมทํากิจการไดเฉพาะแตในเรื่องที่จะตั้งสมาชิกสามัญคนใดคนหนึ่งหรือ หลายคนเปนกรรมการเพิ่มขึ้นใหครบจํานวน หรือนัดเรียกประชุมใหญ หรือกระทํากิจการอันสมควร ทุกอยางเพื่อปกปกรักษาประโยชน ของหอการคาเทานั้น ขอ 21. มติของที่ประชุมคณะกรรมการ ใหถือเอาคะแนนเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการ ลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหผูเปนประธานในที่ประชุมมีคะแนนอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาดใน กรณีที่ที่ประชุมคณะกรรมการลงมติอันเปนการฝาฝนกฎหมาย และหรือขอบังคับนี้ใหถือ วามตินั้นใชบังคับมิได ขอ 22. ประธานในที่ประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการไมอยูหรือ ไมอาจปฎิบัติหนาที่ไดใหรองประธานผูอาวุโสตามลําดับปฎิบัติหนาที่แทน ถาทั้งประธานกรรมการ และรองประธานไมอยู หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหที่ประชุมเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเปน ประธานในที่ประชุมเฉพาะในการประชุมคราวนั้น
  9. 9. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 9 ขอ 23. การประชุมคณะกรรมการ ใหมีการประชุมคณะกรรมการอยางนอยสามเดือนตอครั้ง อนึ่งในกรณี จําเปน ประธานกรรมการหรือกรรมการผูทําหนาที่แทนหรือกรรมการรวมกันไมนอยกวาหาคนจะเรียก ประชุมขึ้นก็ได ขอ 24. การเขารับหนาที่ของคณะกรรมการ เมื่อมีการเลือกตั้งคณะกรรมการชุดใหม ใหคณะกรรมการซึ่งพน จากตําแหนง ยื่นจดทะเบียนคณะกรรมการชุดใหมตอนายทะเบียนหอการคาประจําจังหวัดกระบี่ ภาย ในสามสิบวัน นับแตวันเลือกตั้ง สงมอบหนาที่ใหคณะกรรมการชุดใหมภายในสามสิบวันนับแตวันที่ นายทะเบียนหอการคาฯ รับจดทะเบียน ในกรณีที่นายทะเบียนหอการคาฯ ยังมิไดรับจดทะเบียนคณะกรรมการชุดใหม และคณะกรรมการ ที่พนจาก ตําแหนงยังมิไดสงมอบหนาที่ตามวรรคแรก ใหคณะกรรมการที่พนจากตําแหนงนั้น มีอํานาจ หนาที่บริหารกิจการของ หอการคาตอไปจนกวานายทะเบียนหอการคา จะรับจดทะเบียนคณะกรรมการชุด ใหม และคณะกรรมการชุดใหมนั้นเขารับหนาที่แลว ขอ 25. อํานาจและหนาที่ของคณะกรรมการ มีดังนี้ 1. จัดดําเนินกิจการ และทรัพยสินของหอการคาใหเปนไปตามขอบังคับ และมติของที่ประชุม 2. เลือกตั้งกรรมการใหดํารงตําแหนงตาง ๆ ในคณะกรรมการ 3. วางระเบียบการในการปฎิบัติงานของหอการคาใหเปนไปตามวัตถุประสงค 4. วาจาง แตงตั้งและถอดถอนที่ปรึกษาของ คณะกรมการ อนุกรรมการ เจาหนาที่และพนักงานทั้งปวงใน กิจการเฉพาะอยางหรือพิจารณาเรื่องตาง ๆ อันอยูในขอบเขตหนาที่ของหอการคา เพื่อใหการดําเนินงาน ของหอการคาเปนไปโดยเรียบรอย ที่ปรึกษาของคณะกรรมการและอนุกรรมการดังกลาว จะแตงตั้งจาก กรรมการหรือสมาชิกของหอการคาหรือบุคคลภายนอกก็ได ขอ 26. อํานาจหนาที่กรรมการตําแหนงตาง ๆ มีดังนี้ 1. ประธานกรรมการ มีหนาที่อํานวยการเพื่อใหการดําเนินการของหอการคา เปนไปตามขอบังคับ และระเบียบการในการปฏิบัติงานของหอการคา เปนผูแทนของหอการคาในกิจการดันเกี่ยวกับ บุคคลภายนอก และเปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการตลอด จนในที่ประชุมใหญ 2. รองประธาน มีหนาที่เปนผูชวยเหลือประธานกรรมการในกิจการทั้งปวง อันอยูในอํานาจหนาที่ ของประธานกรรมการและเปนผูทําหนาที่แทนประธานกรรมการเมื่อประธานกรรมการไมอยู หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได
  10. 10. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 10 3. เลขาธิการ มีหนาที่ทําการโตตอบหนังสือเก็บรักษาเอกสารตาง ๆ ของหอการคา เปน เลขานุการในที่ประชุมคณะกรรมการและที่ประชุมใหญตลอดจนปฎิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่ คณะกรรมการและที่ประชุมใหญตลอดจนปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการจะไดมอบหมาย 4. เหรัญญิก มีหนาที่รักษา และจายเงินของหอการคา ทําบัญชีการเงิน เก็บรักษาและจายพัสดุของ หอการคา ตลอดจนปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการจะไดมอบหมาย 5. นายทะเบียน มีหนาที่เกี่ยวกับการจัดทําทะเบียนสมาชิก และทะเบียนตาง ๆ อันมิใชทะเบียนเกี่ยวกับ การเงินของหอการคา ตลอดจนปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการจะไดมอบหมาย 6. ปฏิคม มีหนาที่รักษาสํานักงานของหอการคา รักษาความเรียบรอยของสถานที่ รักษาสมุดเยี่ยม จัด สถานที่ประชุม ดูแลตอนรับตลอดจนปฏิบัติ หนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการจะไดมอบหมาย 7. ประชาสัมพันธ มีหนาที่เกี่ยวกับการเชิญชวนหาสมาชิก โฆษณากิจการและผลงานดานตางๆ ของ หอการคา ตลอดจนปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการจะไดมอบหมาย ขอ 27. ภายใตบังคับแหงความในหมวดนี้ใหนําความในหมวดที่ 7 การประชุมใหญมาใชบังคับโดยอนุโลม เจาหนาที่ประจําหอการคาจังหวัดกระบี่ - ใหคณะกรรมการแตงตั้งบุคคลภายนอกใหเปนเจาหนาที่บริหารในตําแหนง ผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ และตําแหนงอื่น ๆ โดยพิจารณาถึงความรู ความสามารถ ความประพฤติ และความเหมาะสมในอันที่ จะดําเนินกิจการหอการคาจังหวัดกระบี่ ใหเปนไปตามวัตถุประสงค และใหมีเจาหนาที่ประจําอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการจะพิจารณาเห็นสมควร - ใหผูจัดการหอการคาจังหวัดกระบี่ เปนผูควบคุมตรวจตรากิจการทั่วๆไป ของหอการคา บังคับบัญชา เจาหนาที่ประจําในตําแหนงตางๆ และเปนผูวางระเบียบงานของหอการคา เพื่อใหงานดําเนินไปตาม วัตถุประสงค และตามมติคณะกรรมการ
  11. 11. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 11 หมวดที่ 7 การประชุมใหญ ขอ 28. การประชุมใหญ ใหคณะกรรมการจัดใหมีการประชุมใหญสมาชิก อยางนอยทุกระยะเวลาสิบสองเดือน การประชุมเชนนี้เรียก การประชุมใหญสามัญ การประชุมใหญคราวอื่นนอกจากประชุมใหญตามวรรคกอน เรียกวา การประชุมใหญวิสามัญ ขอ 29. กําหนดการประชุมใหญ 1. ใหมีการประชุมใหญสามัยประจําป ภายในกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวัน นับแตวันสิ้นปการบัญชีของ หอการคาเปนประจําทุก ๆ ป 2. ถามีเหตุใดเหตุหนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการมีมติเห็นสมควร หรือสมาชิกมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดแสดงความจํานงโดยทําการรองขอเปนลายลักษณอักษร ยื่นตอเลขาธิการ หรือกรรมการผูทําหนาที่แทนเลขาธิการ ใหคณะกรรมการนัดประชุมใหญวิสามัญ ภายในกําหนดสิบ หาวันนับแตวันที่ลงมติ หรือวันที่ไดรับหนังสือ ขอ 30. การสงหนังสือบอกกลาวนัดประชุม คณะกรรมการจะตองสงหนังสือบอกกลาวถึง วัน เวลา สถานที่ และระเบียบวาระการประชุมใหญใหสมาชิก ทุกคนไดทราบโดยสงจดหมายทางไปรษณีย ลงทะเบียนฯ ที่อยูของสมาชิกที่ปรากฏอยูในทะเบียนหรือสงใหถึงตัวของสมาชิกกอน กําหนดวัน ประชุมใหญไมนอยกวาเจ็ดวัน การจัดสงหนังสือบอกกลาวตามวรรคแรกใหสงสําเนาบันทึกรายงานการประชุมใหญครั้งที่ แลว (ถามี) ไปดวย ในกรณีที่เปนการนัดประชุมใหญสามัญประจําป จะตองแนบสําเนารายงานประ จําป และสําเนางบดุลรวมทั้งสําเนาบัญชีรายรับ-รายจาย ชื่อผูสอบบัญชีไดตรวจสอบแลวเพิ่มเติมไป ดวย ขอ 31. องคประชุมในการประชุมใหญ ในการประชุมใหญจะตองมีสมาชิกสามัญประชุม ไมนอยกวาหนึ่งใน หาของจํานวนสมาชิกสามัญทั้งหมด จึงจะถือเปนองคประชุม ขอ 32. กรณีที่การประชุมใหญครั้งแรกสมาชิกมาไมครบองคประชุม หากลวงพนกําหนดเวลานัดไปแลวหนึ่ง ชั่วโมง ยังมีสมาชิกมาไมครบองคประชุม ถาการประชุมใหญคราวนั้นไดเรียกนัดเพราะสมาชิกรองขอ ใหเลิกการประชุมใหญนั้น ถามิใชเพราะสมาชิกรองขอ ใหเลื่อนการประชุม และใหทําการบอกกลาว นัดประชุม วัน เวลา และสถานที่ประชุมใหญนี้อีกครั้งหนึ่ง ภายในกําหนดเวลาสิบหาวัน นับแตวัน
  12. 12. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 12 ประชุมใหญคราวแรก ในการประชุมใหญคราวหลังนี้ จะมีสมาชิกมากนอยเพียงใดก็ใหถือวาเปน องคประชุม ขอ 33. ประธานในที่ประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุมใหญ ถาประธานกรรมการไมอยู หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหรองประธานผูมีอาวุโสตามลําดับทําหนาที่แทน ถาทั้งประธานกรรม การและรองประธานไมอยู หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหที่ประชุมใหญเลือกตั้งกรรมการคนหนึ่งคน ใด ขึ้นเปนประธานในที่ประชุม ถาไมมีกรรมการอยูในที่ประชุมเลยก็ใหที่ประชุมใหญเลือกตั้งสมาชิก คนหนึ่งคนใดขึ้นเปนประธานในที่ประชุมเฉพาะการประชุมคราวนั้น ขอ 34. วิธีออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมใหญ การออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมใหญสมาชิกประจําป หรือในการประชุมสมาชิกพิเศษใหการกระทํา ได 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 ออกเสียงลงคะแนนโดยเปดเผย โดยใชวิธียกมือขึ้นเหนือศรีษะ วิธีที่ 2 ออกเสียงลงคะแนนลับ โดยใชวิธีเขียนบัตรลงคะแนน การออกเสียงลงคะแนนตามปกติ ใหใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยเปดเผย เวนแตการลงคะแนน ออกเสียงเลือกตั้งคณะกรรมการ หรือในเรื่องอื่นซึ่งที่ประชุมใหญจะลงมติใหมีการออกเสียงลงคะแนนลับ ผูมีสิทธิออกเสียงในการประชุมใหญสามัญประจําป จะตองเปนสมาชิกหอการคาจังหวัดกระบี่ สมบูรณ ในปที่มีการประชุม และในการเลือกตั้งคณะกรรมการ สมาชิกสามัญเทานั้นที่มีสิทธิออกเสียง ลงคะแนน สมาชิกสามัญคนหนึ่งๆ มีคะแนนเสียงหนึ่งเสียง ในการประชุมใหญใด ๆ ขอมติอันเสนอใหลงคะแนน ใหตัดสินดวยวิธีชูมือ หรือวิธีการอื่นใดอัน เปนการเปดเผยวาสมาชิกใดลงคะแนนเชนไร เวนแตเมื่อกอนหรือในเวลาที่แสดงผลแหงการชูมือนั้น คณะ กรรมการเห็นสมควรหรือไดมีสมาชิกสามัญสองคนเปนอยางนอยติดใจรองขอใหลงคะแนนลับ ขอ 35. มติของที่ประชุมใหญ นอกจากที่กลาวไวเปนอยางอื่นในขอบังคับนี้ใหถือเอาคะแนนเสียงขางมากเปน มติของที่ประชุมใหญ ถาคะแนนเสียงเทากันจะเปนการชูมือก็ดี การลงคะแนนลับก็ดี หรือดวยวิธีการ อื่นใดก็ดี ใหผูเปนประธานในที่ประชุมมีคะแนนอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด ขอ 36. กิจการอันพึงกระทําในการประชุมใหญ มีดังนี้ 1. รับรองรายงานการประชุมใหญคราวกอน 2. พิจารณารายงานประจําป แสดงผลการดําเนินกิจการของหอการคาที่ผานมาในรอบป(ถามี)
  13. 13. ขอบังคับของหอการคา จังหวัดกระบี่ หนาที่ 13 3. พิจารณาอนุมัติงบดุล (ถามี) 4. แตงตั้งผูสอบบัญชีของหอการคาประจําปและกําหนดคาตอบแทน (ถามี) 5. เลือกตั้งคณะกรรมการ (ในปที่ครบวาระ) 6. กิจการที่ตองกระทําโดยอาศัยมติจากที่ประชุมใหญ ขอ 37. กิจการอันพึงกระทําในการประชุมสมาชิกประจําเดือน ไดแกกิจการอันเกี่ยวกับการปฏิบัติธุรกิจทั่วไป ของหอการคา นอกจากกิจการที่จําเปนจะตองกระทํา โดยการประชุมใหญสามัญประจําปหรือการ ประชุมใหญวิสามัญ ขอ 38. การจัดทํารายงาน-บันทึกการประชุม รายงานการประชุมคณะกรรมการ การประชุมใหญการประชุม สมาชิกอื่น ๆ และการประชุมอนุกรรมการใหจดบันทึกไวทุกครั้ง และตองเสนอตอที่ประชุมเพื่อรับ รองในคราวที่มีการประชุมครั้งตอไป รายงานการประชุมที่ผานการรับรองแลว สมาชิกจะดูไดในวัน และเวลาทําการ

×