SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1

ข้อสอบวิชาทัศนศิลป์ (โอเนต) มัธยมศึกษาที่ 6 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี
1. สีใดที่ใช๎แทนความรัก
1. ดา
2. แดง
3. ชมพู 4. ขาว
2. ข๎อใดไมํใชํเอกลักษณ์ของงานจิตรกรรมไทย
1. แสดงภาพแบนๆ แบบสองมิติ 2. แสดงแสงเงาตามธรรมชาติ
3. แสดงความแตกตํางระหวํางบุคคลด๎วยสี 4. แสดงจุดเดํนโดยไมํคานึงถึงสัดสํวน
3. สีชนิดใดใช๎ระบายบางๆ แบบสีน้าและแบบปาดปูายเป็นก๎อนในแบบสีน้ามันได๎
1. Pastel
2. Acrylic
3. Crayon 4. Marker
4. ข๎อใดเป็นศิลปินในลัทธิประทับใจยุคหลัง (Post-Impressionism) ทั้งหมด
1. ปอลเซซาน (Paul Cezanne) มาร์เซล ดูชอง (Marcel Duchamp)
2. ปอล โกแกง (Paul Ganguin) ฟินเซนต์ ฟานก๏อก (Vincent Van Gogh)
3. ซาลาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) มักซ์ เอินสต์ (Max Ernst)
4. ชอร์ช บราก (Georges Broque) ปาโบล ปิกัสโซํ (Pablo Picasso)
5. ภาพโมนาลิซา (Mona Lisa) ของลีโอนาโด ดา วินซี (Leonardo do Vince) มีการใช๎สิ่งใดในการจัด
องค์ประกอบศิลป์มากที่สุด
1. ความสมดุล 2. ความกลมกลืน
3. เน๎นสีตํางวรรณะกัน 4. เน๎นด๎วยเส๎นให๎เกิดระยะ
6. ลักษณะของแมํพิมพ์ทุบเป็นอยํางไร
1. เป็นแมํพิมพ์ชั่วคราว สามารถหลํอได๎รูปเดียว 2. ไมํนิยมใช๎ต๎นแบบเป็นดินเหนียว
3. เป็นแมํพิมพ์ที่แข็งแรง ที่สามารถใช๎หลํอได๎หลายครั้ง
4. หลํอได๎งําย ทนความร๎อนได๎ดี
7. การผสมปูนปลาสเตอร์ เพื่อหลํอรูปปั้นควรทาตามข๎อใด
1. ใสํน้าในภาชนะ, โรยปูนพลาสเตอร์พอเสมอระดับน้า, กวนให๎เข๎ากัน
2. ใสํน้าในภาชนะสลับกับโรยปูนพลาสเตอร์ แล๎วกวนให๎เข๎ากัน
3. ใสํปูนในภาชนะ, ใสํน้าพอประมาณ, กวนให๎เข๎ากันอยํางนุํมนวล
4. ใสํปูนและน้าพร๎อมๆ กัน แล๎วกวนให๎เข๎ากันอยํางรวดเร็ว
8. ภาพลายรดน้าของชํางศิลป์ไทย นิยมใช๎สิ่งใดลงพื้น
1. รัก
2. สีน้ามันมะเดื่อ
3. หรดาล 4. สีฝุน
9. แอนดี วอร์ฮอล เป็นศิลปินชนชาติใด และเป็นหนึ่งในศิลปินสมัยใด
1. อเมริกา สมัยนิยม (Pop Art)
2. ฮอลแลนด์ สมัยเหมือนจริง (Realism)
3. โปแลนด์ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance)
4. เยอรมัน สมัยหลังสมัยใหมํ (Postmodern)
10.ลายกระหนก มีต๎นแบบมาจากธรรมชาติ 4 อยํางคือข๎อใด
2

1. ดอกบัว ใบฝูาย รวงข๎าว เปลวไฟ
2. ดอกบัว หยดน้า นก รวงข๎าว
3. เปลวไฟ เมฆ เกลียวคลื่น ช๎าง
4. นก หยดน้า เกลียวคลื่น ปลา
11.ข๎อใดเป็นตัวอยํางประยุกต์ศิลปะกับเทคโนโลยีสมัยใหมํ
1. ภาพยนตร์เรื่องก๎านกล๎วย 2. หนังใหญํ
3. ละครหุํนเชิด 4. หนังตะลุง
12.สีขั้นที่สามในวงจรสีประกอบด๎วยสีใด
1. ส๎ม เขียว
2. แดง เหลือง
3. เขียวเหลือง ส๎มแดง 4. แดงส๎ม น้าเงิน
13.เทคนิคการพิมพ์ประเภทใดที่นิยมใช๎ในการพิมพ์กระเป๋าผ๎า
1. เทคนิคภาพพิมพ์แกะไม๎ (Woodcut)
2. เทคนิคภาพพิมพ์โลหะ (Etching)
3. เทคนิคภาพพิมพ์หิน (Lithograph)
4. เทคนิคภาพพิมพ์ตะแกรงไหม (Silkscreen)
14. ข๎อใดไม่จัดเป็นทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์
1. พื้นผิ ว 2. พื้นที่วําง
3. ปริมาตร 4. น้าหนักอํอน-แกํ
15. ภาพวาดที่แสดงให๎เห็นการเจริญเติบโตก๎าวหน๎าควรเป็นภาพลักษณะใด
1. วาดด๎วยเส๎นตรงแนวเฉียง
2. วาดด๎วยเส๎นโค๎งของวงกลม
3. วาดด๎วยเส๎นฟันปลาหรือเส๎นซิกแซก 4. วาดด๎วยเส๎นโค๎งอิสระทิ้งปลายขึ้นสูงและน้าหนักเบา
16. ถ๎านักเรียนต๎องวาดภาพเหมือนบุคคลควรศึกษาในเรื่องใด
1. การวาดดวงตา ปาก จมูก 2. การวาดภาพหุํนนิ่ง
3. การจัดวางองค์ประกอบ 4. กายวิภาคศาสตร์
17. “...ดวงตาเบิกกว้าง ลูกตาดาอยู่กลางดวงตาและใหญ่กว่าปกติ มีเส้นรอยย่นหนึ่งเส้นหรือมากกว่าที่
หน้าผาก อ้าปากกว้าง มุมปากด้านล่างตกลง... ”
จากข๎อดังกลําวภาพนี้แสดงถึงอารมณ์ใด
1. อารมณ์โกรธ 2. อารมณ์ฉุนเฉียว
3. อารมณ์ดี หัวเราะอยํางรําเริง
4. อารมณ์กลัว
18. งานศิลปะในข๎อใดใช๎เทคนิคน้าหนักอํอน-แกํของการใช๎สี
1. รูปปั้นในสวนสาธารณะ 2. ลวดลายจากการทอผ๎า
3. ภาพวาดบนฝาผนังโบสถ์ 4. งานแกะสลักงาช๎างเป็นรูปตํางๆ
19. “ภาพตอนพระอาทิตย์ใกล้จะตกดิน สีภาพโดยรวมจะดูหม่น ค่อนข้างมืด แต่มีแสงสีสดใสส่องกระทบ
กับก้อนเมฆอย่างสวยงาม ”
ภาพนี้แสดงให๎เห็นลักษณะของสีแบบใด
1. สีเอกรงค์ (Monochrome) 2. คุณคําของสี (Value)
3. สีกลาง (Neutral Colors) 4. ความเดํนชัดของสี (Intensity)
3

20. ข๎อใดคือแนวคิดของการออกแบบที่ดี
1. มีราคาแพงที่สุด 2. สวยงามมากที่สุด
3. ทันสมัยมากที่สุด 4. ใช๎ประโยชน์ได๎มากที่สุด
21. การออกแบบมีความหมายสัมพันธ์กับข๎อใด
1. การสร๎างสรรค์ผลงานที่แปลกใหมํขึ้นมา 2. การประดิษฐ์คิดค๎นสิ่งใหมํให๎เกิดขึ้น
3. การสร๎างงานทุกประเภทที่คนยอมรับ 4. การสร๎างงานทุกประเภทไมํมีขอบเขตกาหนด
22. ข๎อใดไม่ใช่เกณฑ์หรือตัวชี้วัดที่แสดงถึง “ความพึงพอใจในการออกแบบ”
1. ความสวยงามแปลกใหมํ 2. ประโยชน์ในการใช๎สอย
3. การเลียนแบบมาจากสิ่งอื่น 4. แนวคิดในการออกแบบที่ดี
23.ข๎อใดกลําวถึงความหมายของศิลปะได๎ถูกต๎อง
1. สิ่งที่สวยงาม 2. การสร๎างสรรค์
3. สิ่งที่มนุษย์สร๎างขึ้น 4. สิ่งที่มนุษย์สร๎างขึ้นจากความพึงพอใจ
24. ข๎อใดเป็นความหมายที่ถูกต๎องของการบรรยายผลงานทางทัศน์ศิลป์
1. เป็นกระบวนการรับรู๎ที่เกิดจากการมองเห็น สังเกต และบันทึกคุณลักษณะเดํนที่พบเห็น โดยที่ไมํมี
การวิพากษ์วิจารณ์ใดๆ
2. เป็นกระบวนการรับรู๎ที่เกิดจากการปฏิบัติและบันทึกคุณลักษณะเดํนที่พบเห็น โดยที่ไมํมีการ
วิพากษ์วิจารณ์ใดๆ
3. เป็นกระบวนการรับรู๎ผลงาน เพื่อวิเคราะห์ ตีความ และถํายทอดแนวคิดในผลงานให๎ผู๎อื่นเข๎าใจ
4. เป็นกระบวนการรับรู๎ผลงาน เพื่อวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความชื่นชม
25.ข๎อใดกลําวถูกต๎องเกี่ยวกับศิลปะนามธรรม
1. ภาพผลงานเกิดจากการผสมผสานกันทางด๎านเทคนิคที่หลากหลาย
2. สื่อความหมายด๎วยการใช๎สีหลายสี
3. นาวัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพงมาสร๎างชิ้นงานให๎มีความโดดเดํน
4. ใช๎ภาษาภาพในการสื่อความหมายด๎วยรูปทรง สี และลายเส๎น
26.การออกแบบภาพรํางในทางทัศนศิลป์หมายถึงวิธีการใด
1. การขึ้นรูป 2. การสเกตซ์ภาพ
3. การพิมพ์ภาพต๎นแบบ 4. การวางโครงสร๎างอุปกรณ์
27.ถ๎าต๎องการวาดภาพท๎องฟูาควรใช๎เทคนิคใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
1. แบบเปียกบนเปียก 2. แบบเปียกบนแห๎ง
3. แบบแห๎งบนแห๎ง
4. แบบแห๎งบนเปียก
28.ข๎อใดกลําวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับงานศิลปะสื่อผสม
1. สร๎างสรรค์โดยใช๎สื่อวัสดุตํางชนิดมาประกอบกันเป็นองค์ประกอบภาพ
2. ผู๎สร๎างสรรค์ผลงานต๎องมีความเข๎าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ
3. งานศิลปะที่แสดงออกถึงการผสมผสานกันระหวํางแนวความคิดกับผลงานได๎ลงตัว
4. สร๎างสรรค์ได๎เฉพาะผู๎ที่มีประสบการณ์ในการสร๎างสรรค์งานศิลปะมาเป็นเวลานานเทํานั้น
29.ข๎อใดเป็นวิธีการระบายสีน้าที่ถูกต๎องที่สุด
1. พยายามระบายสีให๎มีเนื้อสีมากที่สุดจะได๎ภาพที่สดใส
2. ระบายสีให๎รวดเร็วฉับไว โดยไมํต๎องรอคอยให๎สีแห๎ง
4

3. ระบายสีให๎โปรํงใส ไมํควรทับซ๎อน หรือซ้ากันหลายๆ ครั้ง
4. ควรใช๎พูํกันกลมในการระบายสีน้ามากกวําพูํกันแบน เพราะอุ๎มน้าได๎ดีกวํา
30.ข๎อใดจัดเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการสร๎างงานศิลปะสื่อผสม
1. ความรู๎พื้นฐานด๎านงานศิลปะ
2. การเตรียมวัสดุที่จะนามาใช๎ในการสร๎างผลงาน
3. ความคิดริเริ่มสร๎างสรรค์และจินตนาการ
4. ผลงานต๎นแบบที่นามาเป็นตัวอยํางในการสร๎างงาน
31.เทคนิคการเขียนภาพสีน้าแบบเปียกบนเปียกเหมาะสาหรับการระบายสีภาพในสํวนใด
1. ภาพอาคารบ๎านเรือน
2. ภาพต๎นไม๎และธรรมชาติ
3. ภาพคนและสัตว์
4. ภาพท๎องฟูาและน้า
32.ผลงานนี้สะท๎อนให๎เห็นสิ่งใด

1. เคลื่อนไหว 2. กลมกลืน
3. ราบรื่น 4. โน๎มเอียง
33.ผลงานชิ้นนี้ต๎องการสื่อให๎เห็นสิ่งใด

1. ความอํอนช๎อ
3. ความกลมกลืน

2. ความโดดเดํน
4. ความรักของแมํ

34.เพราะเหตุใดจึงนิยมใช๎ทองแดงเป็นโครงสร๎างสาหรับปั้นหุํนขี้ผึ้งมากกวําลวดเหล็ก
1. ทองแดงมีความยืดหยุํนมากกวําลวดเหล็ก
2. ทองแดงมีความสัมพันธ์กับขี้ผึ้งได๎ดีกวําลวดเหล็ก
3. ทองแดงสามารถสื่อความร๎อนได๎ดีกวําลวดเหล็ก
4. ทองแดงมีความเหนียวและทนทานกวําลวดเหล็ก
35.เพราะเหตุใดจึงเรียกการปั้นวํา “กระบวนการในทางบวก”
1. เป็นการนาวัสดุเพิ่มเข๎าไปให๎ได๎รูปทรง
2. เป็นการบวกกันระหวํางดินเหนียวกับดินน้ามัน
3. เป็นการบวกกันระหวํางการปั้นและแกะสลัก
4. เป็นการคิดในทางบวกวําผลงานจะออกมาดี
36.ข๎อใดจัดเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของงานสถาปัตยกรรม
5

1. มีราคาแพง สวยงาม ทันสมัย
2. ใช๎วัสดุท๎องถิ่น แข็งแรง ใช๎สะดวก
3. ความงาม ความแข็งแรง ประโยชน์ใช๎สอย
4. ประโยชน์ใช๎สอย ใช๎วัสดุท๎องถิ่น ต๎นทุนต่า
37.สิ่งใดตํอไปนี้ตรงกับคาวํา “สถาปัตยกรรม” มากที่สุด
1. หุํนขี้ผึ้ง 2. โบสถ์
3. พระพุทธรูป 4. พระบรมรูปทรงม๎า
38.ข๎อใดคือรูปแบบของงานศิลปะบาศกนิยม
1. เน๎นการใช๎สีที่สดใส
2. รูปทรงแสดงให๎เห็นลักษณะผันแปรจากความจริง
3. นาเทคนิคใหมํมาผสมผสานในการสร๎างงาน
4. ใช๎วัสดุหลากหลายที่หาได๎ในท๎องถิ่นมาสร๎างผลงาน
39.ใช๎สีสดใสและตัดกันอยํางรุนแรง จัดเป็นงานศิลปะประเภทใด
1. ศิลปะบาศกนิยม 2. ศิลปะนามธรรม
3. ศิลปะโฟวิสม์ 4. ศิลปะสมัยใหมํ
40.ข๎อใดไม่ใช่เอกลักษณ์ของงานศิลปะแบบคิวบิสต์
1. ภาพสํวนใหญํเป็นรูปทรงเรขาคณิต
2. แสดงมิติด๎วยรูปทรง ขนาด การซ๎อนกันภายในภาพ
3. มีลักษณะกึ่งนามธรรม คือ มีตัวตนและไมํมีตัวตนชัดเจน
4. สํวนประกอบของภาพจะเน๎นเรื่องของแสงเป็นสาคัญ
41.การออกแบบงานทัศนศิลป์นอกจากจะต๎องใช๎ความรู๎และทักษะในงานกราฟิกแล๎วยังต๎องใช๎ความรู๎
ความสามารถด๎านใดอีกบ๎าง
1. การใช๎เส๎น 2. การใช๎สี
3. การสร๎างรูปทรง 4.การจัดองค์ประกอบศิลป์
42.การจัดภาพในลักษณะใดที่แสดงถึงการใช๎เทคนิคด๎านจังหวะเพื่อให๎เกิดความงามที่โดดเดํน
1. จัดภาพโดยใช๎การซ้ากันสลับไปมาอยํางตํอเนื่อง
2. จัดภาพโดยใช๎ลักษณะของพื้นผิวเดียวกันตลอดทั้งผลงาน
3. จัดภาพโดยใช๎หลักความสมดุลทั้งสองข๎างของผลงาน
4. จัดภาพโดยเน๎นให๎เกิดการประสานกันอยํางลงตัว
43.ข๎อใดเป็นขั้นตอนแรกของการสร๎างสรรค์งานกราฟิก
1. การรํางภาพ 2. การกาหนดวัตถุประสงค์
3. การคัดเลือกภาพที่นามาใช๎ 4. การลงมือสร๎างชิ้นงาน
44.ข๎อใด ไม่ใช่ ความสาคัญของการออกแบบ
1. เสริมสร๎างให๎เกิดคํานิยมทางความงาม
2. ชํวยให๎เกิดจินตภาพ เกิดแนวคิดในการสร๎างสรรค์ผลงาน
3. ทาให๎ข๎อมูลที่กระจัดกระจายมีระเบียบเพิ่มมากขึ้น
4. ราคาสินค๎าที่ออกแบบมีราคาสูงตามประโยชน์ของการใช๎สอย
6

45.เครื่องแขวนปลาตะเพียนของไทยเป็นงานทัศนศิลป์แบบใด
1. ประติมากรรม 2. สื่อผสม
3. โมบาย 4. จิตรกรรมผสมประติมากรรม
46.เส๎นในลักษณะใดที่ให๎ความรู๎สึกเคลื่อนไหวและคลี่คลายไมํมีที่สิ้นสุด
1. เส๎นคด 2. เส๎นสลับฟันปลา
3. เส๎นโค๎งก๎นหอย 4. เส๎นโค๎งกลับหลัง
47.แฟูมสะสมผลงานมีประโยชน์ตํอการเรียนการสอนอยํางไร
1. ทาให๎รู๎ถึงทักษะพื้นฐานของผู๎เรียน 2. สามารถสะสมเป็นผลงานของครูได๎
3. ใช๎ในการสอนรายบุคคลได๎เป็นอยํางดี 4. ทาให๎ครูสามารถวางแผนการเรียนการสอน
48.ผลงานที่มีจานวนมากและจาเป็นต๎องจัดเก็บชิ้นงานเป็นกลุํมควรจัดเก็บไว๎ในรูปแบบใด
1. แฟูมแขวน 2. สมุดงาน
3. แฟูมสี 4. กลํอง
49.ข๎อใดเป็นประโยชน์ของการจัดทาแฟูมสะสมผลงานที่ทาให๎เกิดการพัฒนาตนเองตํอไป
1. มีที่เก็บสะสมผลงานที่แสดงถึงความคิดสร๎างสรรค์ของตนเอง
2. ได๎ฝึกทักษะในการจัดเก็บและนาเสนอผลงานอยํางเป็นระบบ
3. ทาให๎ครูผู๎สอนสามารถสรุปปัญหาและเสนอแนะแนวทางพัฒนาศักยภาพของผู๎เรียนได๎
4. เก็บไว๎ใช๎เป็นหลักฐานเพื่อประโยชน์อื่นๆ ในชีวิตประจาวันได๎
50.การวิจารณ์ศิลปะมีความสัมพันธ์กับข๎อใด
1. ชี้ข๎อบกพรํองของผลงาน 2. แสดงทัศนะตํอผลงาน
3. อธิบายถึงผลงานในแงํดี 4. นาผลงานมาประกวดกัน
51.จุดมุํงหมายสาคัญของการวิจารณ์ศิลปะคือข๎อใด
1. เพื่อประเมินคําผลงานศิลปะให๎เป็นมาตรฐาน
2. เพื่อตัดสินผลงานศิลปะที่สํงเข๎าประกวดอยํางยุติธรรม
3. เพื่อให๎ผู๎ที่สนใจงานศิลปะรับรู๎ เข๎าใจ และชื่นชมผลงานศิลปะ
4. เพื่อให๎ผลงานศิลปะมีราคาที่สูงขึ้นและสามารถจาหนํายได๎
52.ทฤษฎีศิลปะข๎อใดที่เน๎นคุณคําด๎านทัศนธาตุและองค์ประกอบศิลป์เป็นสาคัญ
1. เลียนแบบนิย ม 2. รูปทรงนิยม
3. อารมณ์นิยม 4. เครื่องมือนิยม
53.เพราะเหตุใดจึงต๎องมีการวิจารณ์งานศิลปะ
1. เพื่อให๎มีผู๎ซื้องานศิลปะมากขึ้น
2. เพื่อให๎ผู๎ชมอยากสร๎างงานศิลปะ
3. เพื่อให๎ศิลปินสร๎างงานที่มีคุณภาพมากขึ้น 4. เพื่อให๎คนเข๎ามาชมนิทรรศการทางศิลปะมากขึ้น
54. ภาพนี้แสดงทัศนธาตุใดที่สื่อให๎เห็นความงามของภาพไทย
7

1. เส๎น 2. รูปทรง
3. รูปรําง 4. พื้นที่วําง
55. ขั้นตอนและวิธีการในการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ข๎อใดถูกต๎องที่สุด
1. พรรณนา วิเคราะห์ ตีความหมาย ประเมินคํา
2. พรรณนา
ตีความหมาย
วิเคราะห์
ประเมินคํา
3. ตีความหมาย
วิเคราะห์
ประเมินคํา
พรรณนา
4. ตีความหมาย
พรรณนา
วิเคราะห์
ประเมินคํา
56. ภาพ “ยามเช๎า” ผลงานของศาสตราจารย์ประหยัด พงษ์ดา เป็นการสร๎างสรรค์ด๎วยเทคนิคและอุปกรณ์
ชนิดใด

1. เทคนิคภาพพิมพ์ (แมํพิมพ์แกะไม๎ ) 2. เทคนิคภาพพิมพ์ (แมํพิมพ์กระดาษ)
3. เทคนิคภาพพิมพ์ (แมํพิมพ์หิน) 4. เทคนิคจิตรกรรมสีน้ามัน
57. ศิลปินไทยนาเปลวไฟเป็นแรงบันดาลใจในการสร๎างสรรค์ลายใด
1. ลายกนก 2. ลายรักร๎อย
3. ลายกระจัง 4. ลายดอกลอย
58. ในการวาดภาพกล๎วยไขํสุกด๎วยเทคนิคสีน้า ทํานจะเลือกใช๎สีอะไรบ๎างผสมกันเพื่อให๎เหมือนจริง
ขณะเดียวกันกล๎วยไขํวางอยูํบนผ๎าสีมํวง สีที่เป็นเงาของกล๎วยไขํควรใช๎สีอะไร เพื่อให๎เกิดเงาสะท๎อน
(Reflected) ตํอกัน
1. ใช๎สีเหลืองผสมสีแดงผสมสีน้าเงินเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีมํวง
2. ใช๎สีขาวผสมสีเหลืองผสมสีน้าเงินเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีมํวง
8

3. ใช๎สีเหลืองผสมสีแดงผสมสีขาวเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีดา
4. ใช๎สีขาวผสมสีเหลืองผสมสีแดงเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีน้าเงิน
59. มิติระยะของภาพจะเกิดขึ้นได๎ด๎วยการเน๎นวิธีใด
1. เน๎นด๎วยผิว สี
2. เน๎นด๎วยขนาด พื้นผิว
3. เน๎นด๎วยขนาด สี
4. เน๎นด๎วยสี รูปทรง
อ่านข้อความต่อไปนี้ และตอบคาถามข้อ 60-64
“การ์ตูนกับสังคมไทย”
การ์ตูนเป็นศิลปะการวาดภาพอยํางหนึ่งที่ชํวงสํงเสริมความคิดสร๎างสรรค์การจินตนาการ
แฝงด๎วยอารมณ์สนุกสนาน นักเขียนการ์ตูนจึงต๎องมีจิตวิทยาในการนาเสนอเนื้อหาและรูปแบบที่เรียบงําย ตลก
ขบขัน นําสนใจ
โดยวาดภาพอยํางงํายๆ ที่เน๎นลีลาของเส๎น-สี มีลักษณะไมํเหมือนจริง อาจจะเกินความจริง
หรือน๎อยกวําความเป็นจริง โดยการลดตัดทอนหรือเพิ่มเติมเพื่อแสดงออกให๎เกิดความตลกขบขัน ล๎อเลียน
เสียดสี ที่สอดแทรก เรื่องราว วิถีชีวิตหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม
ปัจจุบันการ์ตูนไทยที่ถือได๎วําครองใจคนทุกเพศทุกวัยอันดับหนึ่งคือ ขายหัวเราะ มหาสนุก
ซึ่งเป็นการ์ตูนแนวเรื่องสั้น นอกจากนี้ยังมีการ์ตูนประเภทล๎อเลียนการเมือง เขียนโดยชัย ราชวัตร
การ์ตูนมีหลายประเภท ดังนี้
1. การ์ตูนการเมืองเป็นการ์ตูนที่มุํงล๎อเลียน เสียดสี ประชดประชันบุคคลหรือเหตุการณ์
ทางการเมือง เพื่อกระตุ๎นให๎ผู๎อํานเกิดความคิดเห็นใหมํๆ อาจมีคาบรรยายหรือไมํมีก็ได๎ โดยนาเสนอภาพเป็น
ชํองเดียวหรือหลายชํองก็ได๎
2. การ์ตูนขบขัน เป็นการ์ตูนที่เน๎นความตลกขบขันเป็นหลัก ที่เก็บเนื้อเรื่องมาจากวิถีชีวิตหรือ
เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน
3. การ์ตูนเรื่องราว เป็นการ์ตูนที่นาเสนอเรื่องราวที่มีความตํอเนื่องกันจนจบ มีคาบรรยาย
บทสนทนาภายในภาพ สาหรับการ์ตูนไทยที่นิยมเขียนจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับวรรณคดี นิยายพื้นบ๎าน
เรื่องจักรๆ วงศ์ๆ
4. การ์ตูนประกอบเรื่องเป็นการ์ตูนที่เขียนเพื่อสื่อสารประกอบข๎อความ หรืออธิบายข๎อความให๎เข๎าใจ
งํายและนําสนใจ เชํน การ์ตูนโฆษณา การ์ตูนประกอบสื่อการศึกษา
5. การ์ตูนมีชีวิต หรือภาพยนตร์การ์ตูน มีการลาดับภาพและเรื่องราวตํอเนื่องคล๎ายกับภาพนักแสดง
ที่เป็นคนในภาพยนตร์ หรือใช๎แสดงประกอบกับนักแสดงที่เป็นคนในภาพยนตร์
การเขียนการ์ตูนที่ดีควรมีการสื่อสารอารมณ์ความรู๎สึกในเชิงตลกขบขัน มีรูปแบบที่เรียบงํายด๎วย
ลีลาของเส๎น สี รูปรําง มีเอกลักษณ์เฉพาะตน ผู๎เริ่มฝึกเขียนการ์ตูนจึงควรมีทักษะ ดังนี้
1. ฝึกเขียนลีลาของเส๎นในลักษณะตํางๆ เชํน เส๎นตรง เส๎นโค๎ง เส๎นอิสระ
2. เขียนภาพวัตถุ สิ่งของ ภาพคน ภาพสัตว์ หรือภาพสิ่งแวดล๎อมที่อยูํรอบตัวเพื่อใช๎เป็นแนวทาง
ในการนามาเขียนภาพการ์ตูน
3. ฝึกการเขียนรูปแบบจากธรรมชาติที่อยูํรอบตัวในเชิงลดตัดทอน หรือเพิ่มเติมรูปแบบให๎เรียบงํายใน
ลักษณะคล๎ายจริง เกินความจริง น๎อยกวําความจริง เป็นต๎น
4. ศึกษาแนวหรือประเภทการ์ตูนที่ชื่นชอบ เชํน การ์ตูนล๎อการเมือง การ์ตูนขบขัน การ์ตูน
9

ประกอบเรื่อง เป็นต๎น
5. พล็อตเรื่องที่จะวาดเริ่มจาก THEME แล๎วแบํงเรื่องเป็นตอนใน (Story board)
6. รํางภาพจากแนวคิดจินตนาการ
7. ตัดเส๎น ลงสี เก็บรายละเอียด
60. ทัศนธาตุใดที่ต๎องฝึกฝนเพื่อเป็นพื้นฐานในการวาดภาพการ์ตูน
1. แสง – เงา พื้นผิว 2. สี รูปทรง
3. เส๎น สี 4. จุด รูปทรง
61. ถ๎าทํานจะวาดภาพการ์ตูนให๎เป็นที่นิยมของคนทั่วไปต๎องคานึงถึงอะไร
1. ต๎องเป็นภาพสื่อให๎เห็นถึงรูปแบบที่เรียบงํายมีความเหมือนจริงตามธรรมชาติ
2. ต๎องเป็นภาพที่เรียบงําย สื่อสารอารมณ์ความรู๎สึกในเชิงตลกขบขัน
3. ต๎องเป็นภาพลายเส๎นเรียบงํายสื่อวิถีชีวิตในสังคมได๎ดี
4. ต๎องสามารถนาเสนอเป็นภาพโฆษณา สื่อการศึกษาได๎
62. ถ๎านักเรียนต๎องการวาดภาพการ์ตูนล๎อเลียนการเมืองจะดาเนินการอยํางไร
1. รํางภาพ – เก็บรายละเอียด – ตรวจสอบความถูกต๎องของเนื้อเรื่อง
2. วางเนื้อเรื่อง – รํางภาพ – เก็บรายละเอียด
3. วางเนื้อเรื่อง – ตัดเส๎น – ลงสี
4. รํางภาพ – ตัดเส๎น – ลงสี – ตรวจสอบความถูกต๎องของเนื้อเรื่อง
63.การ์ตูนประเภทใดที่นาเทคโนโลยีเข๎ามาเกี่ยวข๎องมากที่สุด
1. การ์ตูนขบขัน 2. การ์ตูนประกอบเรื่อง
3. การ์ตูนมีชีวิต 4. การ์ตูนเรื่องราว
64.จิตรกรรมไทยใช๎ลักษณะเดํนของทัศนธาตุข๎อใดมากที่สุด
1. สี
2.เส๎น
3. ชํองไฟ
4. จังหวะ
65. ดินแดนเมโสโปเตเมียตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มน้าใด
1 ลุํมแมํน้าไนล์

2 ลุํมแมํน้าไทกริส

3 ลุํมแมํน้ายูเฟรทีส 4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก
66. ประเพณีการเก็บรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อยของชาวอียิปต์ก่อให้เกิดสิ่งใด
1 มัมมี่

2 พีระมิด

3 มาสตาบา

4 ถูกทุกข๎อ

67. ข้อใดคือลักษณะงานประติมากรรมของอียิปต์
1 เน๎นความงามจากด๎านหน๎า 2 มีความสมดุลแบบสองข๎างเทํากัน
3 ให๎ความรู๎สึกมั่นคง แข็งแรง และทึบตัน 4 ถูกทุกข๎อ
10

68. งานจิตรกรรมของอียิปต์ส่วนใหญ่เป็นงานประเภทใด
1 งานจิตรกรรมฝาผนัง 2 งานจิตรกรรมสีน้ามัน
3 งานจิตรกรรมบนผนังถ้า 4 งานจิตรกรรมตกแตํงภาชนะ
69. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับจิตรกรรมของอียิปต์
1 จิตรกรรมของอียิปต์สํวนใหญํเป็นการบันทึก
เรื่องราวเกี่ยวกับเทพเจ๎าตําง ๆ
2 จิตรกรรมของอียิปต์มีการจัดวางทําทางของคน
ในอิริยาบถตําง ๆ ในรูปของสัญลักษณ์
3 จิตรกรรมของอียิปต์สํวนใหญํมีลักษณะสองมิติ
ปรากฏบนภาชนะเครื่องใช๎ตําง ๆ ที่ทาจาก
เครื่องปั้นดินเผา
4 ถูกทุกข๎อ
70. ชนชาติใดให้อิทธิพลทางศิลปกรรมแก่อินเดียจนส่งผลให้ศิลปกรรมของอินเดียมีการพัฒนาอย่างสูงสุด
1 กรีก

2 โรมัน

3 เมโสโปเตเมีย 4 ข๎อ 1 และ 2 ถูก
71. งานจิตรกรรมยุคหินนิยมใช้สีใดในการระบายสี
1 สีแดง สีน้าเงิน สีเหลือง สีดา 2 สีแดง สีน้าตาล สีเหลือง สีดา
3 สีแดง สีน้าตาล สีเหลือง สีขาว 4 ถูกทุกข๎อ
72. งานจิตรกรรมยุคหินมีการค้นพบในถ้าใด
1 ถ้าลาสโก 2 ถ้าอัลตามีรา
3 ถ้าเลส์กอมบราเรลส์ 4 ถูกทุกข๎อ
ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 73–75
1 Ionic
11

2 Doric
3 Corinthian
73. วิหารพาร์เธนอน มีลักษณะเสาตามข้อใด2
74. วิหารโอลิมเปีย มีลักษณะเสาตามข้อใด 3
75. วิหารอีเรกทีอุมมีลักษณะเสาตามข้อใด1
76. ศิลปินใดเป็นผู้นาของการสร้างสรรค์งานตามแนวลัทธิโฟวิสต์
1 อองรี มาตีส

2 ชอง-ฟรองซัวมีเล

3 โมรีซเดอวลาแมง

4 ข๎อ 1 และ 3 ถูก

77. ส่วนที่สองของสัดส่วนคนเป็นบริเวณใด
1 ลาคอ

2 ราวนม

3 หน๎าท๎อง

4 สะโพก

78. สัดส่วนร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็นกี่ส่วน
1 6 สํวนครึ่ง

2 7 สํวนครึ่ง

3 8 สํวนครึ่ง

4 9 สํวนครึ่ง

79. บุคคลใดเป็นศิลปินในลัทธิประทับใจ
1 ปอล เซซาน

2 เอดการ์เดอกาส์

3 ฟินเซนต์ ฟาน ก็อก

4 อองรี เดอตูลูส-โลเตรก

80. ศิลปินใดเป็นผู้นาของศิลปะลัทธิบาศกนิยม
1 Salvador Dali
3 Georges Braque

2 Pablo Picasso
4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก

81. Vanishing Pointเหมาะกับการวาดภาพประเภทใด
1 การวาดภาพหุํนนิ่ง

2 การวาดภาพทิวทัศน์
12

3 การวาดภาพคนเหมือน 4 ถูกทุกข๎อ
82. บุคคลใดเป็นผู้นาของการสร้างสรรค์งานตามแนว
ลัทธิคลาสสิกใหม่
1 ปอล โกแกง

2 อองรี มาตีส

3 เอดวาร์ดมุงก์ 4 ชาก-ลุย ดาวิด
83. ศิลปะบาโรกพัฒนามาจากศิลปะใด
1 Gothic Art 2 Renaissance
3 Rococo Art 4 ไมํมีข๎อใดถูก
84. ข้อใดคือลักษณะของงานประติมากรรมศิลปะสมัย
ฟื้นฟูศิลปวิทยา
1 แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับคริสต์ศาสนา
2 รูปคนจะมีสัดสํวนคํอนข๎างยาวและเป็น
เส๎นตรง
3 เป็นประติมากรรมที่สร๎างขึ้นเพื่อประดับ
ตกแตํงโบสถ์และวิหาร
4 มีลักษณะเหมือนจริงตามธรรมชาติอยําง
ศิลปกรรมของกรีกและโรมัน
85. ข้อใดคือลักษณะเด่นของงานประติมากรรมศิลปะบาโรก
1 เน๎นรายละเอียดตามธรรมชาติ
2 เน๎นสัดสํวนความงามของสรีระมนุษย์
3 เน๎นรายละเอียดตามสํวนสาคัญตําง ๆ อยํางเหมือนจริง มีการจัดวางสัดสํวนตําง ๆ อยําง
ซับซ๎อน มีการนาหินสีตําง ๆ มาใช๎ผสมผสานกับโลหะสาริด
4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก
13

86. ข้อใดคือจุดประสงค์ของการสร้างงานประติมากรรมศิลปะโรมาเนสก์
1 เพื่อใช๎ตกแตํงสถานที่สาธารณะ 2 เพื่อใช๎ตกแตํงเป็นสํวนประกอบในงานสถาปัตยกรรม
3 เพื่อใช๎ในการแก๎ไขจุดบกพรํองของงานสถาปัตยกรรม

4 ข๎อ 1 และ 3 ถูก

87. ข้อใดคือความเชื่อของชาวกรีก
1 มนุษย์คือมาตรวัดสรรพสิ่ง
2 สิ่งทั้งหลายในธรรมชาติล๎วนเกิดจากความ
พอใจของเทพเจ๎า
3 มนุษย์ประกอบด๎วยรํางกายและวิญญาณ เมื่อ
ตายไปแล๎ววิญญาณจะไมํดับสูญ
4 ไมํมีข๎อใดถูก
88. ดินแดนเมโสโปเตเมียตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มน้าใด
1 ลุํมแมํน้าไนล์

2 ลุํมแมํน้าไทกริส

3 ลุํมแมํน้ายูเฟรทีส 4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก
89. ประเพณีการเก็บรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อยของขุนนางชั้นสูงชาวอียิปต์คือ
1 มัมมี่
3 มาสตาบา

2 พีระมิด
4 ถูกทุกข๎อ

90. รูปปั้น แกะสลัก และหลํอ ที่เป็นรูปเคารพทางศาสนาโดยทั่วไป หมายถึง พระพุทธรูป คือ ข๎อใด
ก. จิตรกรรม
ข. ปฏิมากรรม
ค. ประติมากรรม
ง. ประติมากรรม และจิตรกรรม

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1saoBenz
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาJariya Jaiyot
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีนpannnnnn
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆleemeanshun minzstar
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยPitchyJelly Matee
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 

What's hot (20)

วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีน
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 

Similar to เฉลยข้อสอบโอเนตม.6 วันที่ 12 กพ 57

ข้อสอบโอเนตม.6
ข้อสอบโอเนตม.6ข้อสอบโอเนตม.6
ข้อสอบโอเนตม.6peter dontoom
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
Work การงาน
Work การงานWork การงาน
Work การงานthitinan38
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nakee Wk
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Jc C' Twc
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะbowing3925
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 

Similar to เฉลยข้อสอบโอเนตม.6 วันที่ 12 กพ 57 (10)

ข้อสอบโอเนตม.6
ข้อสอบโอเนตม.6ข้อสอบโอเนตม.6
ข้อสอบโอเนตม.6
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
 
Work การงาน
Work การงานWork การงาน
Work การงาน
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

เฉลยข้อสอบโอเนตม.6 วันที่ 12 กพ 57

  • 1. 1 ข้อสอบวิชาทัศนศิลป์ (โอเนต) มัธยมศึกษาที่ 6 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี 1. สีใดที่ใช๎แทนความรัก 1. ดา 2. แดง 3. ชมพู 4. ขาว 2. ข๎อใดไมํใชํเอกลักษณ์ของงานจิตรกรรมไทย 1. แสดงภาพแบนๆ แบบสองมิติ 2. แสดงแสงเงาตามธรรมชาติ 3. แสดงความแตกตํางระหวํางบุคคลด๎วยสี 4. แสดงจุดเดํนโดยไมํคานึงถึงสัดสํวน 3. สีชนิดใดใช๎ระบายบางๆ แบบสีน้าและแบบปาดปูายเป็นก๎อนในแบบสีน้ามันได๎ 1. Pastel 2. Acrylic 3. Crayon 4. Marker 4. ข๎อใดเป็นศิลปินในลัทธิประทับใจยุคหลัง (Post-Impressionism) ทั้งหมด 1. ปอลเซซาน (Paul Cezanne) มาร์เซล ดูชอง (Marcel Duchamp) 2. ปอล โกแกง (Paul Ganguin) ฟินเซนต์ ฟานก๏อก (Vincent Van Gogh) 3. ซาลาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) มักซ์ เอินสต์ (Max Ernst) 4. ชอร์ช บราก (Georges Broque) ปาโบล ปิกัสโซํ (Pablo Picasso) 5. ภาพโมนาลิซา (Mona Lisa) ของลีโอนาโด ดา วินซี (Leonardo do Vince) มีการใช๎สิ่งใดในการจัด องค์ประกอบศิลป์มากที่สุด 1. ความสมดุล 2. ความกลมกลืน 3. เน๎นสีตํางวรรณะกัน 4. เน๎นด๎วยเส๎นให๎เกิดระยะ 6. ลักษณะของแมํพิมพ์ทุบเป็นอยํางไร 1. เป็นแมํพิมพ์ชั่วคราว สามารถหลํอได๎รูปเดียว 2. ไมํนิยมใช๎ต๎นแบบเป็นดินเหนียว 3. เป็นแมํพิมพ์ที่แข็งแรง ที่สามารถใช๎หลํอได๎หลายครั้ง 4. หลํอได๎งําย ทนความร๎อนได๎ดี 7. การผสมปูนปลาสเตอร์ เพื่อหลํอรูปปั้นควรทาตามข๎อใด 1. ใสํน้าในภาชนะ, โรยปูนพลาสเตอร์พอเสมอระดับน้า, กวนให๎เข๎ากัน 2. ใสํน้าในภาชนะสลับกับโรยปูนพลาสเตอร์ แล๎วกวนให๎เข๎ากัน 3. ใสํปูนในภาชนะ, ใสํน้าพอประมาณ, กวนให๎เข๎ากันอยํางนุํมนวล 4. ใสํปูนและน้าพร๎อมๆ กัน แล๎วกวนให๎เข๎ากันอยํางรวดเร็ว 8. ภาพลายรดน้าของชํางศิลป์ไทย นิยมใช๎สิ่งใดลงพื้น 1. รัก 2. สีน้ามันมะเดื่อ 3. หรดาล 4. สีฝุน 9. แอนดี วอร์ฮอล เป็นศิลปินชนชาติใด และเป็นหนึ่งในศิลปินสมัยใด 1. อเมริกา สมัยนิยม (Pop Art) 2. ฮอลแลนด์ สมัยเหมือนจริง (Realism) 3. โปแลนด์ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance) 4. เยอรมัน สมัยหลังสมัยใหมํ (Postmodern) 10.ลายกระหนก มีต๎นแบบมาจากธรรมชาติ 4 อยํางคือข๎อใด
  • 2. 2 1. ดอกบัว ใบฝูาย รวงข๎าว เปลวไฟ 2. ดอกบัว หยดน้า นก รวงข๎าว 3. เปลวไฟ เมฆ เกลียวคลื่น ช๎าง 4. นก หยดน้า เกลียวคลื่น ปลา 11.ข๎อใดเป็นตัวอยํางประยุกต์ศิลปะกับเทคโนโลยีสมัยใหมํ 1. ภาพยนตร์เรื่องก๎านกล๎วย 2. หนังใหญํ 3. ละครหุํนเชิด 4. หนังตะลุง 12.สีขั้นที่สามในวงจรสีประกอบด๎วยสีใด 1. ส๎ม เขียว 2. แดง เหลือง 3. เขียวเหลือง ส๎มแดง 4. แดงส๎ม น้าเงิน 13.เทคนิคการพิมพ์ประเภทใดที่นิยมใช๎ในการพิมพ์กระเป๋าผ๎า 1. เทคนิคภาพพิมพ์แกะไม๎ (Woodcut) 2. เทคนิคภาพพิมพ์โลหะ (Etching) 3. เทคนิคภาพพิมพ์หิน (Lithograph) 4. เทคนิคภาพพิมพ์ตะแกรงไหม (Silkscreen) 14. ข๎อใดไม่จัดเป็นทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ 1. พื้นผิ ว 2. พื้นที่วําง 3. ปริมาตร 4. น้าหนักอํอน-แกํ 15. ภาพวาดที่แสดงให๎เห็นการเจริญเติบโตก๎าวหน๎าควรเป็นภาพลักษณะใด 1. วาดด๎วยเส๎นตรงแนวเฉียง 2. วาดด๎วยเส๎นโค๎งของวงกลม 3. วาดด๎วยเส๎นฟันปลาหรือเส๎นซิกแซก 4. วาดด๎วยเส๎นโค๎งอิสระทิ้งปลายขึ้นสูงและน้าหนักเบา 16. ถ๎านักเรียนต๎องวาดภาพเหมือนบุคคลควรศึกษาในเรื่องใด 1. การวาดดวงตา ปาก จมูก 2. การวาดภาพหุํนนิ่ง 3. การจัดวางองค์ประกอบ 4. กายวิภาคศาสตร์ 17. “...ดวงตาเบิกกว้าง ลูกตาดาอยู่กลางดวงตาและใหญ่กว่าปกติ มีเส้นรอยย่นหนึ่งเส้นหรือมากกว่าที่ หน้าผาก อ้าปากกว้าง มุมปากด้านล่างตกลง... ” จากข๎อดังกลําวภาพนี้แสดงถึงอารมณ์ใด 1. อารมณ์โกรธ 2. อารมณ์ฉุนเฉียว 3. อารมณ์ดี หัวเราะอยํางรําเริง 4. อารมณ์กลัว 18. งานศิลปะในข๎อใดใช๎เทคนิคน้าหนักอํอน-แกํของการใช๎สี 1. รูปปั้นในสวนสาธารณะ 2. ลวดลายจากการทอผ๎า 3. ภาพวาดบนฝาผนังโบสถ์ 4. งานแกะสลักงาช๎างเป็นรูปตํางๆ 19. “ภาพตอนพระอาทิตย์ใกล้จะตกดิน สีภาพโดยรวมจะดูหม่น ค่อนข้างมืด แต่มีแสงสีสดใสส่องกระทบ กับก้อนเมฆอย่างสวยงาม ” ภาพนี้แสดงให๎เห็นลักษณะของสีแบบใด 1. สีเอกรงค์ (Monochrome) 2. คุณคําของสี (Value) 3. สีกลาง (Neutral Colors) 4. ความเดํนชัดของสี (Intensity)
  • 3. 3 20. ข๎อใดคือแนวคิดของการออกแบบที่ดี 1. มีราคาแพงที่สุด 2. สวยงามมากที่สุด 3. ทันสมัยมากที่สุด 4. ใช๎ประโยชน์ได๎มากที่สุด 21. การออกแบบมีความหมายสัมพันธ์กับข๎อใด 1. การสร๎างสรรค์ผลงานที่แปลกใหมํขึ้นมา 2. การประดิษฐ์คิดค๎นสิ่งใหมํให๎เกิดขึ้น 3. การสร๎างงานทุกประเภทที่คนยอมรับ 4. การสร๎างงานทุกประเภทไมํมีขอบเขตกาหนด 22. ข๎อใดไม่ใช่เกณฑ์หรือตัวชี้วัดที่แสดงถึง “ความพึงพอใจในการออกแบบ” 1. ความสวยงามแปลกใหมํ 2. ประโยชน์ในการใช๎สอย 3. การเลียนแบบมาจากสิ่งอื่น 4. แนวคิดในการออกแบบที่ดี 23.ข๎อใดกลําวถึงความหมายของศิลปะได๎ถูกต๎อง 1. สิ่งที่สวยงาม 2. การสร๎างสรรค์ 3. สิ่งที่มนุษย์สร๎างขึ้น 4. สิ่งที่มนุษย์สร๎างขึ้นจากความพึงพอใจ 24. ข๎อใดเป็นความหมายที่ถูกต๎องของการบรรยายผลงานทางทัศน์ศิลป์ 1. เป็นกระบวนการรับรู๎ที่เกิดจากการมองเห็น สังเกต และบันทึกคุณลักษณะเดํนที่พบเห็น โดยที่ไมํมี การวิพากษ์วิจารณ์ใดๆ 2. เป็นกระบวนการรับรู๎ที่เกิดจากการปฏิบัติและบันทึกคุณลักษณะเดํนที่พบเห็น โดยที่ไมํมีการ วิพากษ์วิจารณ์ใดๆ 3. เป็นกระบวนการรับรู๎ผลงาน เพื่อวิเคราะห์ ตีความ และถํายทอดแนวคิดในผลงานให๎ผู๎อื่นเข๎าใจ 4. เป็นกระบวนการรับรู๎ผลงาน เพื่อวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความชื่นชม 25.ข๎อใดกลําวถูกต๎องเกี่ยวกับศิลปะนามธรรม 1. ภาพผลงานเกิดจากการผสมผสานกันทางด๎านเทคนิคที่หลากหลาย 2. สื่อความหมายด๎วยการใช๎สีหลายสี 3. นาวัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพงมาสร๎างชิ้นงานให๎มีความโดดเดํน 4. ใช๎ภาษาภาพในการสื่อความหมายด๎วยรูปทรง สี และลายเส๎น 26.การออกแบบภาพรํางในทางทัศนศิลป์หมายถึงวิธีการใด 1. การขึ้นรูป 2. การสเกตซ์ภาพ 3. การพิมพ์ภาพต๎นแบบ 4. การวางโครงสร๎างอุปกรณ์ 27.ถ๎าต๎องการวาดภาพท๎องฟูาควรใช๎เทคนิคใดจึงจะเหมาะสมที่สุด 1. แบบเปียกบนเปียก 2. แบบเปียกบนแห๎ง 3. แบบแห๎งบนแห๎ง 4. แบบแห๎งบนเปียก 28.ข๎อใดกลําวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับงานศิลปะสื่อผสม 1. สร๎างสรรค์โดยใช๎สื่อวัสดุตํางชนิดมาประกอบกันเป็นองค์ประกอบภาพ 2. ผู๎สร๎างสรรค์ผลงานต๎องมีความเข๎าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ 3. งานศิลปะที่แสดงออกถึงการผสมผสานกันระหวํางแนวความคิดกับผลงานได๎ลงตัว 4. สร๎างสรรค์ได๎เฉพาะผู๎ที่มีประสบการณ์ในการสร๎างสรรค์งานศิลปะมาเป็นเวลานานเทํานั้น 29.ข๎อใดเป็นวิธีการระบายสีน้าที่ถูกต๎องที่สุด 1. พยายามระบายสีให๎มีเนื้อสีมากที่สุดจะได๎ภาพที่สดใส 2. ระบายสีให๎รวดเร็วฉับไว โดยไมํต๎องรอคอยให๎สีแห๎ง
  • 4. 4 3. ระบายสีให๎โปรํงใส ไมํควรทับซ๎อน หรือซ้ากันหลายๆ ครั้ง 4. ควรใช๎พูํกันกลมในการระบายสีน้ามากกวําพูํกันแบน เพราะอุ๎มน้าได๎ดีกวํา 30.ข๎อใดจัดเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการสร๎างงานศิลปะสื่อผสม 1. ความรู๎พื้นฐานด๎านงานศิลปะ 2. การเตรียมวัสดุที่จะนามาใช๎ในการสร๎างผลงาน 3. ความคิดริเริ่มสร๎างสรรค์และจินตนาการ 4. ผลงานต๎นแบบที่นามาเป็นตัวอยํางในการสร๎างงาน 31.เทคนิคการเขียนภาพสีน้าแบบเปียกบนเปียกเหมาะสาหรับการระบายสีภาพในสํวนใด 1. ภาพอาคารบ๎านเรือน 2. ภาพต๎นไม๎และธรรมชาติ 3. ภาพคนและสัตว์ 4. ภาพท๎องฟูาและน้า 32.ผลงานนี้สะท๎อนให๎เห็นสิ่งใด 1. เคลื่อนไหว 2. กลมกลืน 3. ราบรื่น 4. โน๎มเอียง 33.ผลงานชิ้นนี้ต๎องการสื่อให๎เห็นสิ่งใด 1. ความอํอนช๎อ 3. ความกลมกลืน 2. ความโดดเดํน 4. ความรักของแมํ 34.เพราะเหตุใดจึงนิยมใช๎ทองแดงเป็นโครงสร๎างสาหรับปั้นหุํนขี้ผึ้งมากกวําลวดเหล็ก 1. ทองแดงมีความยืดหยุํนมากกวําลวดเหล็ก 2. ทองแดงมีความสัมพันธ์กับขี้ผึ้งได๎ดีกวําลวดเหล็ก 3. ทองแดงสามารถสื่อความร๎อนได๎ดีกวําลวดเหล็ก 4. ทองแดงมีความเหนียวและทนทานกวําลวดเหล็ก 35.เพราะเหตุใดจึงเรียกการปั้นวํา “กระบวนการในทางบวก” 1. เป็นการนาวัสดุเพิ่มเข๎าไปให๎ได๎รูปทรง 2. เป็นการบวกกันระหวํางดินเหนียวกับดินน้ามัน 3. เป็นการบวกกันระหวํางการปั้นและแกะสลัก 4. เป็นการคิดในทางบวกวําผลงานจะออกมาดี 36.ข๎อใดจัดเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของงานสถาปัตยกรรม
  • 5. 5 1. มีราคาแพง สวยงาม ทันสมัย 2. ใช๎วัสดุท๎องถิ่น แข็งแรง ใช๎สะดวก 3. ความงาม ความแข็งแรง ประโยชน์ใช๎สอย 4. ประโยชน์ใช๎สอย ใช๎วัสดุท๎องถิ่น ต๎นทุนต่า 37.สิ่งใดตํอไปนี้ตรงกับคาวํา “สถาปัตยกรรม” มากที่สุด 1. หุํนขี้ผึ้ง 2. โบสถ์ 3. พระพุทธรูป 4. พระบรมรูปทรงม๎า 38.ข๎อใดคือรูปแบบของงานศิลปะบาศกนิยม 1. เน๎นการใช๎สีที่สดใส 2. รูปทรงแสดงให๎เห็นลักษณะผันแปรจากความจริง 3. นาเทคนิคใหมํมาผสมผสานในการสร๎างงาน 4. ใช๎วัสดุหลากหลายที่หาได๎ในท๎องถิ่นมาสร๎างผลงาน 39.ใช๎สีสดใสและตัดกันอยํางรุนแรง จัดเป็นงานศิลปะประเภทใด 1. ศิลปะบาศกนิยม 2. ศิลปะนามธรรม 3. ศิลปะโฟวิสม์ 4. ศิลปะสมัยใหมํ 40.ข๎อใดไม่ใช่เอกลักษณ์ของงานศิลปะแบบคิวบิสต์ 1. ภาพสํวนใหญํเป็นรูปทรงเรขาคณิต 2. แสดงมิติด๎วยรูปทรง ขนาด การซ๎อนกันภายในภาพ 3. มีลักษณะกึ่งนามธรรม คือ มีตัวตนและไมํมีตัวตนชัดเจน 4. สํวนประกอบของภาพจะเน๎นเรื่องของแสงเป็นสาคัญ 41.การออกแบบงานทัศนศิลป์นอกจากจะต๎องใช๎ความรู๎และทักษะในงานกราฟิกแล๎วยังต๎องใช๎ความรู๎ ความสามารถด๎านใดอีกบ๎าง 1. การใช๎เส๎น 2. การใช๎สี 3. การสร๎างรูปทรง 4.การจัดองค์ประกอบศิลป์ 42.การจัดภาพในลักษณะใดที่แสดงถึงการใช๎เทคนิคด๎านจังหวะเพื่อให๎เกิดความงามที่โดดเดํน 1. จัดภาพโดยใช๎การซ้ากันสลับไปมาอยํางตํอเนื่อง 2. จัดภาพโดยใช๎ลักษณะของพื้นผิวเดียวกันตลอดทั้งผลงาน 3. จัดภาพโดยใช๎หลักความสมดุลทั้งสองข๎างของผลงาน 4. จัดภาพโดยเน๎นให๎เกิดการประสานกันอยํางลงตัว 43.ข๎อใดเป็นขั้นตอนแรกของการสร๎างสรรค์งานกราฟิก 1. การรํางภาพ 2. การกาหนดวัตถุประสงค์ 3. การคัดเลือกภาพที่นามาใช๎ 4. การลงมือสร๎างชิ้นงาน 44.ข๎อใด ไม่ใช่ ความสาคัญของการออกแบบ 1. เสริมสร๎างให๎เกิดคํานิยมทางความงาม 2. ชํวยให๎เกิดจินตภาพ เกิดแนวคิดในการสร๎างสรรค์ผลงาน 3. ทาให๎ข๎อมูลที่กระจัดกระจายมีระเบียบเพิ่มมากขึ้น 4. ราคาสินค๎าที่ออกแบบมีราคาสูงตามประโยชน์ของการใช๎สอย
  • 6. 6 45.เครื่องแขวนปลาตะเพียนของไทยเป็นงานทัศนศิลป์แบบใด 1. ประติมากรรม 2. สื่อผสม 3. โมบาย 4. จิตรกรรมผสมประติมากรรม 46.เส๎นในลักษณะใดที่ให๎ความรู๎สึกเคลื่อนไหวและคลี่คลายไมํมีที่สิ้นสุด 1. เส๎นคด 2. เส๎นสลับฟันปลา 3. เส๎นโค๎งก๎นหอย 4. เส๎นโค๎งกลับหลัง 47.แฟูมสะสมผลงานมีประโยชน์ตํอการเรียนการสอนอยํางไร 1. ทาให๎รู๎ถึงทักษะพื้นฐานของผู๎เรียน 2. สามารถสะสมเป็นผลงานของครูได๎ 3. ใช๎ในการสอนรายบุคคลได๎เป็นอยํางดี 4. ทาให๎ครูสามารถวางแผนการเรียนการสอน 48.ผลงานที่มีจานวนมากและจาเป็นต๎องจัดเก็บชิ้นงานเป็นกลุํมควรจัดเก็บไว๎ในรูปแบบใด 1. แฟูมแขวน 2. สมุดงาน 3. แฟูมสี 4. กลํอง 49.ข๎อใดเป็นประโยชน์ของการจัดทาแฟูมสะสมผลงานที่ทาให๎เกิดการพัฒนาตนเองตํอไป 1. มีที่เก็บสะสมผลงานที่แสดงถึงความคิดสร๎างสรรค์ของตนเอง 2. ได๎ฝึกทักษะในการจัดเก็บและนาเสนอผลงานอยํางเป็นระบบ 3. ทาให๎ครูผู๎สอนสามารถสรุปปัญหาและเสนอแนะแนวทางพัฒนาศักยภาพของผู๎เรียนได๎ 4. เก็บไว๎ใช๎เป็นหลักฐานเพื่อประโยชน์อื่นๆ ในชีวิตประจาวันได๎ 50.การวิจารณ์ศิลปะมีความสัมพันธ์กับข๎อใด 1. ชี้ข๎อบกพรํองของผลงาน 2. แสดงทัศนะตํอผลงาน 3. อธิบายถึงผลงานในแงํดี 4. นาผลงานมาประกวดกัน 51.จุดมุํงหมายสาคัญของการวิจารณ์ศิลปะคือข๎อใด 1. เพื่อประเมินคําผลงานศิลปะให๎เป็นมาตรฐาน 2. เพื่อตัดสินผลงานศิลปะที่สํงเข๎าประกวดอยํางยุติธรรม 3. เพื่อให๎ผู๎ที่สนใจงานศิลปะรับรู๎ เข๎าใจ และชื่นชมผลงานศิลปะ 4. เพื่อให๎ผลงานศิลปะมีราคาที่สูงขึ้นและสามารถจาหนํายได๎ 52.ทฤษฎีศิลปะข๎อใดที่เน๎นคุณคําด๎านทัศนธาตุและองค์ประกอบศิลป์เป็นสาคัญ 1. เลียนแบบนิย ม 2. รูปทรงนิยม 3. อารมณ์นิยม 4. เครื่องมือนิยม 53.เพราะเหตุใดจึงต๎องมีการวิจารณ์งานศิลปะ 1. เพื่อให๎มีผู๎ซื้องานศิลปะมากขึ้น 2. เพื่อให๎ผู๎ชมอยากสร๎างงานศิลปะ 3. เพื่อให๎ศิลปินสร๎างงานที่มีคุณภาพมากขึ้น 4. เพื่อให๎คนเข๎ามาชมนิทรรศการทางศิลปะมากขึ้น 54. ภาพนี้แสดงทัศนธาตุใดที่สื่อให๎เห็นความงามของภาพไทย
  • 7. 7 1. เส๎น 2. รูปทรง 3. รูปรําง 4. พื้นที่วําง 55. ขั้นตอนและวิธีการในการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ข๎อใดถูกต๎องที่สุด 1. พรรณนา วิเคราะห์ ตีความหมาย ประเมินคํา 2. พรรณนา ตีความหมาย วิเคราะห์ ประเมินคํา 3. ตีความหมาย วิเคราะห์ ประเมินคํา พรรณนา 4. ตีความหมาย พรรณนา วิเคราะห์ ประเมินคํา 56. ภาพ “ยามเช๎า” ผลงานของศาสตราจารย์ประหยัด พงษ์ดา เป็นการสร๎างสรรค์ด๎วยเทคนิคและอุปกรณ์ ชนิดใด 1. เทคนิคภาพพิมพ์ (แมํพิมพ์แกะไม๎ ) 2. เทคนิคภาพพิมพ์ (แมํพิมพ์กระดาษ) 3. เทคนิคภาพพิมพ์ (แมํพิมพ์หิน) 4. เทคนิคจิตรกรรมสีน้ามัน 57. ศิลปินไทยนาเปลวไฟเป็นแรงบันดาลใจในการสร๎างสรรค์ลายใด 1. ลายกนก 2. ลายรักร๎อย 3. ลายกระจัง 4. ลายดอกลอย 58. ในการวาดภาพกล๎วยไขํสุกด๎วยเทคนิคสีน้า ทํานจะเลือกใช๎สีอะไรบ๎างผสมกันเพื่อให๎เหมือนจริง ขณะเดียวกันกล๎วยไขํวางอยูํบนผ๎าสีมํวง สีที่เป็นเงาของกล๎วยไขํควรใช๎สีอะไร เพื่อให๎เกิดเงาสะท๎อน (Reflected) ตํอกัน 1. ใช๎สีเหลืองผสมสีแดงผสมสีน้าเงินเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีมํวง 2. ใช๎สีขาวผสมสีเหลืองผสมสีน้าเงินเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีมํวง
  • 8. 8 3. ใช๎สีเหลืองผสมสีแดงผสมสีขาวเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีดา 4. ใช๎สีขาวผสมสีเหลืองผสมสีแดงเล็กน๎อย สํวนเงาใช๎สีน้าเงิน 59. มิติระยะของภาพจะเกิดขึ้นได๎ด๎วยการเน๎นวิธีใด 1. เน๎นด๎วยผิว สี 2. เน๎นด๎วยขนาด พื้นผิว 3. เน๎นด๎วยขนาด สี 4. เน๎นด๎วยสี รูปทรง อ่านข้อความต่อไปนี้ และตอบคาถามข้อ 60-64 “การ์ตูนกับสังคมไทย” การ์ตูนเป็นศิลปะการวาดภาพอยํางหนึ่งที่ชํวงสํงเสริมความคิดสร๎างสรรค์การจินตนาการ แฝงด๎วยอารมณ์สนุกสนาน นักเขียนการ์ตูนจึงต๎องมีจิตวิทยาในการนาเสนอเนื้อหาและรูปแบบที่เรียบงําย ตลก ขบขัน นําสนใจ โดยวาดภาพอยํางงํายๆ ที่เน๎นลีลาของเส๎น-สี มีลักษณะไมํเหมือนจริง อาจจะเกินความจริง หรือน๎อยกวําความเป็นจริง โดยการลดตัดทอนหรือเพิ่มเติมเพื่อแสดงออกให๎เกิดความตลกขบขัน ล๎อเลียน เสียดสี ที่สอดแทรก เรื่องราว วิถีชีวิตหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม ปัจจุบันการ์ตูนไทยที่ถือได๎วําครองใจคนทุกเพศทุกวัยอันดับหนึ่งคือ ขายหัวเราะ มหาสนุก ซึ่งเป็นการ์ตูนแนวเรื่องสั้น นอกจากนี้ยังมีการ์ตูนประเภทล๎อเลียนการเมือง เขียนโดยชัย ราชวัตร การ์ตูนมีหลายประเภท ดังนี้ 1. การ์ตูนการเมืองเป็นการ์ตูนที่มุํงล๎อเลียน เสียดสี ประชดประชันบุคคลหรือเหตุการณ์ ทางการเมือง เพื่อกระตุ๎นให๎ผู๎อํานเกิดความคิดเห็นใหมํๆ อาจมีคาบรรยายหรือไมํมีก็ได๎ โดยนาเสนอภาพเป็น ชํองเดียวหรือหลายชํองก็ได๎ 2. การ์ตูนขบขัน เป็นการ์ตูนที่เน๎นความตลกขบขันเป็นหลัก ที่เก็บเนื้อเรื่องมาจากวิถีชีวิตหรือ เหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน 3. การ์ตูนเรื่องราว เป็นการ์ตูนที่นาเสนอเรื่องราวที่มีความตํอเนื่องกันจนจบ มีคาบรรยาย บทสนทนาภายในภาพ สาหรับการ์ตูนไทยที่นิยมเขียนจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับวรรณคดี นิยายพื้นบ๎าน เรื่องจักรๆ วงศ์ๆ 4. การ์ตูนประกอบเรื่องเป็นการ์ตูนที่เขียนเพื่อสื่อสารประกอบข๎อความ หรืออธิบายข๎อความให๎เข๎าใจ งํายและนําสนใจ เชํน การ์ตูนโฆษณา การ์ตูนประกอบสื่อการศึกษา 5. การ์ตูนมีชีวิต หรือภาพยนตร์การ์ตูน มีการลาดับภาพและเรื่องราวตํอเนื่องคล๎ายกับภาพนักแสดง ที่เป็นคนในภาพยนตร์ หรือใช๎แสดงประกอบกับนักแสดงที่เป็นคนในภาพยนตร์ การเขียนการ์ตูนที่ดีควรมีการสื่อสารอารมณ์ความรู๎สึกในเชิงตลกขบขัน มีรูปแบบที่เรียบงํายด๎วย ลีลาของเส๎น สี รูปรําง มีเอกลักษณ์เฉพาะตน ผู๎เริ่มฝึกเขียนการ์ตูนจึงควรมีทักษะ ดังนี้ 1. ฝึกเขียนลีลาของเส๎นในลักษณะตํางๆ เชํน เส๎นตรง เส๎นโค๎ง เส๎นอิสระ 2. เขียนภาพวัตถุ สิ่งของ ภาพคน ภาพสัตว์ หรือภาพสิ่งแวดล๎อมที่อยูํรอบตัวเพื่อใช๎เป็นแนวทาง ในการนามาเขียนภาพการ์ตูน 3. ฝึกการเขียนรูปแบบจากธรรมชาติที่อยูํรอบตัวในเชิงลดตัดทอน หรือเพิ่มเติมรูปแบบให๎เรียบงํายใน ลักษณะคล๎ายจริง เกินความจริง น๎อยกวําความจริง เป็นต๎น 4. ศึกษาแนวหรือประเภทการ์ตูนที่ชื่นชอบ เชํน การ์ตูนล๎อการเมือง การ์ตูนขบขัน การ์ตูน
  • 9. 9 ประกอบเรื่อง เป็นต๎น 5. พล็อตเรื่องที่จะวาดเริ่มจาก THEME แล๎วแบํงเรื่องเป็นตอนใน (Story board) 6. รํางภาพจากแนวคิดจินตนาการ 7. ตัดเส๎น ลงสี เก็บรายละเอียด 60. ทัศนธาตุใดที่ต๎องฝึกฝนเพื่อเป็นพื้นฐานในการวาดภาพการ์ตูน 1. แสง – เงา พื้นผิว 2. สี รูปทรง 3. เส๎น สี 4. จุด รูปทรง 61. ถ๎าทํานจะวาดภาพการ์ตูนให๎เป็นที่นิยมของคนทั่วไปต๎องคานึงถึงอะไร 1. ต๎องเป็นภาพสื่อให๎เห็นถึงรูปแบบที่เรียบงํายมีความเหมือนจริงตามธรรมชาติ 2. ต๎องเป็นภาพที่เรียบงําย สื่อสารอารมณ์ความรู๎สึกในเชิงตลกขบขัน 3. ต๎องเป็นภาพลายเส๎นเรียบงํายสื่อวิถีชีวิตในสังคมได๎ดี 4. ต๎องสามารถนาเสนอเป็นภาพโฆษณา สื่อการศึกษาได๎ 62. ถ๎านักเรียนต๎องการวาดภาพการ์ตูนล๎อเลียนการเมืองจะดาเนินการอยํางไร 1. รํางภาพ – เก็บรายละเอียด – ตรวจสอบความถูกต๎องของเนื้อเรื่อง 2. วางเนื้อเรื่อง – รํางภาพ – เก็บรายละเอียด 3. วางเนื้อเรื่อง – ตัดเส๎น – ลงสี 4. รํางภาพ – ตัดเส๎น – ลงสี – ตรวจสอบความถูกต๎องของเนื้อเรื่อง 63.การ์ตูนประเภทใดที่นาเทคโนโลยีเข๎ามาเกี่ยวข๎องมากที่สุด 1. การ์ตูนขบขัน 2. การ์ตูนประกอบเรื่อง 3. การ์ตูนมีชีวิต 4. การ์ตูนเรื่องราว 64.จิตรกรรมไทยใช๎ลักษณะเดํนของทัศนธาตุข๎อใดมากที่สุด 1. สี 2.เส๎น 3. ชํองไฟ 4. จังหวะ 65. ดินแดนเมโสโปเตเมียตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มน้าใด 1 ลุํมแมํน้าไนล์ 2 ลุํมแมํน้าไทกริส 3 ลุํมแมํน้ายูเฟรทีส 4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก 66. ประเพณีการเก็บรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อยของชาวอียิปต์ก่อให้เกิดสิ่งใด 1 มัมมี่ 2 พีระมิด 3 มาสตาบา 4 ถูกทุกข๎อ 67. ข้อใดคือลักษณะงานประติมากรรมของอียิปต์ 1 เน๎นความงามจากด๎านหน๎า 2 มีความสมดุลแบบสองข๎างเทํากัน 3 ให๎ความรู๎สึกมั่นคง แข็งแรง และทึบตัน 4 ถูกทุกข๎อ
  • 10. 10 68. งานจิตรกรรมของอียิปต์ส่วนใหญ่เป็นงานประเภทใด 1 งานจิตรกรรมฝาผนัง 2 งานจิตรกรรมสีน้ามัน 3 งานจิตรกรรมบนผนังถ้า 4 งานจิตรกรรมตกแตํงภาชนะ 69. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับจิตรกรรมของอียิปต์ 1 จิตรกรรมของอียิปต์สํวนใหญํเป็นการบันทึก เรื่องราวเกี่ยวกับเทพเจ๎าตําง ๆ 2 จิตรกรรมของอียิปต์มีการจัดวางทําทางของคน ในอิริยาบถตําง ๆ ในรูปของสัญลักษณ์ 3 จิตรกรรมของอียิปต์สํวนใหญํมีลักษณะสองมิติ ปรากฏบนภาชนะเครื่องใช๎ตําง ๆ ที่ทาจาก เครื่องปั้นดินเผา 4 ถูกทุกข๎อ 70. ชนชาติใดให้อิทธิพลทางศิลปกรรมแก่อินเดียจนส่งผลให้ศิลปกรรมของอินเดียมีการพัฒนาอย่างสูงสุด 1 กรีก 2 โรมัน 3 เมโสโปเตเมีย 4 ข๎อ 1 และ 2 ถูก 71. งานจิตรกรรมยุคหินนิยมใช้สีใดในการระบายสี 1 สีแดง สีน้าเงิน สีเหลือง สีดา 2 สีแดง สีน้าตาล สีเหลือง สีดา 3 สีแดง สีน้าตาล สีเหลือง สีขาว 4 ถูกทุกข๎อ 72. งานจิตรกรรมยุคหินมีการค้นพบในถ้าใด 1 ถ้าลาสโก 2 ถ้าอัลตามีรา 3 ถ้าเลส์กอมบราเรลส์ 4 ถูกทุกข๎อ ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 73–75 1 Ionic
  • 11. 11 2 Doric 3 Corinthian 73. วิหารพาร์เธนอน มีลักษณะเสาตามข้อใด2 74. วิหารโอลิมเปีย มีลักษณะเสาตามข้อใด 3 75. วิหารอีเรกทีอุมมีลักษณะเสาตามข้อใด1 76. ศิลปินใดเป็นผู้นาของการสร้างสรรค์งานตามแนวลัทธิโฟวิสต์ 1 อองรี มาตีส 2 ชอง-ฟรองซัวมีเล 3 โมรีซเดอวลาแมง 4 ข๎อ 1 และ 3 ถูก 77. ส่วนที่สองของสัดส่วนคนเป็นบริเวณใด 1 ลาคอ 2 ราวนม 3 หน๎าท๎อง 4 สะโพก 78. สัดส่วนร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็นกี่ส่วน 1 6 สํวนครึ่ง 2 7 สํวนครึ่ง 3 8 สํวนครึ่ง 4 9 สํวนครึ่ง 79. บุคคลใดเป็นศิลปินในลัทธิประทับใจ 1 ปอล เซซาน 2 เอดการ์เดอกาส์ 3 ฟินเซนต์ ฟาน ก็อก 4 อองรี เดอตูลูส-โลเตรก 80. ศิลปินใดเป็นผู้นาของศิลปะลัทธิบาศกนิยม 1 Salvador Dali 3 Georges Braque 2 Pablo Picasso 4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก 81. Vanishing Pointเหมาะกับการวาดภาพประเภทใด 1 การวาดภาพหุํนนิ่ง 2 การวาดภาพทิวทัศน์
  • 12. 12 3 การวาดภาพคนเหมือน 4 ถูกทุกข๎อ 82. บุคคลใดเป็นผู้นาของการสร้างสรรค์งานตามแนว ลัทธิคลาสสิกใหม่ 1 ปอล โกแกง 2 อองรี มาตีส 3 เอดวาร์ดมุงก์ 4 ชาก-ลุย ดาวิด 83. ศิลปะบาโรกพัฒนามาจากศิลปะใด 1 Gothic Art 2 Renaissance 3 Rococo Art 4 ไมํมีข๎อใดถูก 84. ข้อใดคือลักษณะของงานประติมากรรมศิลปะสมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยา 1 แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับคริสต์ศาสนา 2 รูปคนจะมีสัดสํวนคํอนข๎างยาวและเป็น เส๎นตรง 3 เป็นประติมากรรมที่สร๎างขึ้นเพื่อประดับ ตกแตํงโบสถ์และวิหาร 4 มีลักษณะเหมือนจริงตามธรรมชาติอยําง ศิลปกรรมของกรีกและโรมัน 85. ข้อใดคือลักษณะเด่นของงานประติมากรรมศิลปะบาโรก 1 เน๎นรายละเอียดตามธรรมชาติ 2 เน๎นสัดสํวนความงามของสรีระมนุษย์ 3 เน๎นรายละเอียดตามสํวนสาคัญตําง ๆ อยํางเหมือนจริง มีการจัดวางสัดสํวนตําง ๆ อยําง ซับซ๎อน มีการนาหินสีตําง ๆ มาใช๎ผสมผสานกับโลหะสาริด 4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก
  • 13. 13 86. ข้อใดคือจุดประสงค์ของการสร้างงานประติมากรรมศิลปะโรมาเนสก์ 1 เพื่อใช๎ตกแตํงสถานที่สาธารณะ 2 เพื่อใช๎ตกแตํงเป็นสํวนประกอบในงานสถาปัตยกรรม 3 เพื่อใช๎ในการแก๎ไขจุดบกพรํองของงานสถาปัตยกรรม 4 ข๎อ 1 และ 3 ถูก 87. ข้อใดคือความเชื่อของชาวกรีก 1 มนุษย์คือมาตรวัดสรรพสิ่ง 2 สิ่งทั้งหลายในธรรมชาติล๎วนเกิดจากความ พอใจของเทพเจ๎า 3 มนุษย์ประกอบด๎วยรํางกายและวิญญาณ เมื่อ ตายไปแล๎ววิญญาณจะไมํดับสูญ 4 ไมํมีข๎อใดถูก 88. ดินแดนเมโสโปเตเมียตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มน้าใด 1 ลุํมแมํน้าไนล์ 2 ลุํมแมํน้าไทกริส 3 ลุํมแมํน้ายูเฟรทีส 4 ข๎อ 2 และ 3 ถูก 89. ประเพณีการเก็บรักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อยของขุนนางชั้นสูงชาวอียิปต์คือ 1 มัมมี่ 3 มาสตาบา 2 พีระมิด 4 ถูกทุกข๎อ 90. รูปปั้น แกะสลัก และหลํอ ที่เป็นรูปเคารพทางศาสนาโดยทั่วไป หมายถึง พระพุทธรูป คือ ข๎อใด ก. จิตรกรรม ข. ปฏิมากรรม ค. ประติมากรรม ง. ประติมากรรม และจิตรกรรม