SlideShare a Scribd company logo
โรงเรียนวังไกลกังวล (ระดับประถมศึกษา) ถนนเพชรเกษม อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 
สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 
คู่มือการจัดการเรียนการสอน 
ทางไกลผ่านดาวเทียม 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 
สุขศึกษาและพลศึกษา 
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 
สงวนลิขสิทธิ์
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
300 
ผั ง ม โ น ทั ศ น์ 
เทคนิคการจัดกิจกรรม 
✍ กระบวนการกลุ่ม ลงมือปฏิบัติจริง 
✍ จัดกิจกรรมทักษะกระบวนการคิด/การแก้ปัญหา 
✍ จัดหน่วยการเรียนบูรณาการเชื่อมโยงกับต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 
✍ ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 
✍ กิจกรรมโครงงาน 
ความปลอดภัยในชีวิต 
นักเรียนมีความรู้ความคิด 
ทักษะกระบวนการ 
คุณธรรม จริยธรรม 
และบูรณาการได้ 
กระบวนการคุณธรรม จริยธรรม 
การเจริญเติบโต 
และ 
พัฒนาการของมนุษย์ 
✍ นักเรียนมีเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ เช่น มีความซื่อสัตย์, กล้าแสดงออก, ตรงต่อเวลา 
ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น, ยินดีเมื่อผู้อื่นประสบผลสำ�เร็จ, มีความกระตือรือร้น 
✍ นักเรียนมีคุณธรรม ค่านิยมที่ดีต่อการเรียนรู้ มีความพอใจในสิ่งที่ตนมี หรือตนเองทำ�ได้ 
ชีวิตและครอบครัว 
การเคลื่อนไหว 
การออกกำ�ลังกาย 
การเล่นเกม 
กีฬาไทย 
และกีฬาสากล 
การสร้างเสริมสุขภาพ 
และการป้องกันโรค
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
ระดับชั้น ป.๔ - ๖ 
✍ เข้าใจธรรมชาติ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ 
✍ เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำ�เนินชีวิต 
✍ เข้าใจมีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรม ทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 
✍ รักการออกกำ�ลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติประจำ�อย่างสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ 
กฎ กติกา มีนํ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 
✍ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำ�รงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริม 
สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ 
✍ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และ 
ความรุนแรง 
301 
มาตรฐานการเรียนรู้ 
สาระการเรียนรู้ 
✍ ระบบต่างๆ ในร่างกาย ✍ ทันตสุขภาพ 
✍ พัฒนาการของตัวเรา ✍ คุณค่าของชีวิตและครอบครัว 
✍ เพศ ✍ อาหารและโภชนาการ 
✍ การป้องกันโรค ✍ อารมณ์และความเครียด 
✍ กิจกรรมเสริมสุขภาพ ✍ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม 
✍ พฤติกรรมเสี่ยง ✍ ยาและสารเสพติด 
✍ สิทธิของเรา ✍ ปฐมพยาบาล
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
302 
ผังมโนทัศน์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ 
ตัวเรา 
ระดับชั้น ป.๑ - ๖ 
แสดงบทบาทสมมติ 
✍ ครอบครัวอบอุ่น 
✍ การเจ็บป่วย 
ปฏิบัติจริง 
✍ ทันตสุขภาพ 
✍ การดูแลรักษาส่วนต่างๆ ของร่างกาย 
✍ บทบาทและมารยาท 
✍ กินดีมีสุข 
✍ การออกกำ�ลังกาย 
✍ กิจกรรมนันทนาการ/เกม 
✍ ทดสอบสมรรถภาพ 
แบ่งกลุ่มเขียนผังความคิด 
✍ วิธีการดูแลตนเอง 
✍ การเจริญเติบโต 
✍ ระบบต่างๆ ของร่างกาย 
✍ ความสุขในชีวิต 
✍ ครอบครัวมีสุข 
✍ สิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ 
✍ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ 
✍ การป้องกันการมีเพศ 
สัมพันธ์ในวัยเรียน 
✍ การดูแลรักษาบ้าน 
✍ กิจกรรมนันทนาการ 
สำ�รวจสืบค้นข้อมูล 
✍ การเจริญเติบโต 
✍ การพัฒนาการด้านร่างกาย 
✍ อาหารและโภชนาการ 
✍ ประวัติกีฬาและนักกีฬา ฝึกทักษะและกระบวนการคิด 
✍ สนทนา ซักถาม 
✍ เขียนแผนผังความคิด 
✍ ร่วมอภิปรายกลุ่ม 
✍ สรุปความคิดเห็น 
✍ แบบทดสอบ 
สุขนิสัยและสุขอนามัย 
✍ การรับประทานอาหาร 
✍ การขับถ่าย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
ระดับชั้น ป.๑ - ๖ 
303 
ผังมโนทัศน์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ 
ชุมชนของเรา 
ปฏิบัติจริง 
✍ ปฏิบัติตามกฎ กติกาและระเบียบของท้องถิ่น 
✍ กีฬา - เพลงพื้นบ้าน 
✍ เคลื่อนไหวตามจังหวะประกอบเพลง 
การแสดงบทบาทสมมติ 
✍ ครอบครัวของฉัน 
✍ อุบัติเหตุในการเดินทาง 
✍ ความปลอดภัยในการเล่นกีฬา 
สำ�รวจสืบค้นข้อมูล 
✍ อาหารในท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ 
✍ ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียงในท้องถิ่น 
✍ การละเล่นและกีฬาในท้องถิ่น 
✍ อาหารพื้นบ้าน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
304 
ผังมโนทัศน์ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
ระดับชั้น ป.๑ - ๖ 
✍ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในท้องถิ่น 
✍ การละเล่นพื้นเมือง (เพื่อส่งเสริมความคิด 
สร้างสรรค์ และภูมิปัญญาไทย) 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ 
เศรษฐกิจพอเพียง 
แสดงบทบาทสมมติ 
✍ บทบาทหน้าที่ของตนเอง/ต่อครอบครัว 
✍ ป้องกันอุบัติเหตุในการเดินทาง 
(ความปลอดภัย) 
ปฏิบัติจริง 
แบ่งกลุ่มเขียนผังความคิด 
✍ การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลง 
(อุปกรณ์ที่หาได้ในท้องถิ่น) 
✍ กิจกรรมนันทนาการ 
✍ การทรงตัว 
✍ กายบริหารประกอบจังหวะ 
สำ�รวจสืบค้นข้อมูล 
✍ กีฬาพื้นบ้าน/ท้องถิ่น 
✍ เกมพื้นบ้าน/ท้องถิ่น 
✍ กีฬาไทย 
สุขนิสัยและสุขอนามัย 
✍ สิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ 
(บ้าน, ห้องเรียน, โรงเรียน) 
✍ เกมนำ�ไปสู่กีฬาและการออกกำ�ลังกาย 
✍ สุขภาพดีมีสุข 
ฝึกทักษะและกระบวนการคิด 
✍ สนทนา ซักถาม 
✍ เขียนแผนผังความคิด 
✍ ร่วมอภิปรายกลุ่ม 
✍ สรุปความคิดเห็น 
✍ แบบทดสอบ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา 
(สุขศึกษา) 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
จำ�นวนหน่วยการเรียนรู้ ๓ หน่วย เวลา ๑๙ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ 
หน่วยการเรียนรู้ที่ สาระการเรียนรู้ เวลา/จำ�นวน 
305 
๑ ตัวเรา (ระบบต่างๆ ของร่างกาย) ๔ 
– ระบบต่างๆ ของร่างกาย 
– วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย 
๒ ชุมชนของเรา (ชีวิตในครอบครัวและเพศศึกษา) ๕ 
– การเปลี่ยนแปลงทางเพศ 
– ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย 
– การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว 
๓ เศรษฐกิจพอเพียง (สุขภาพและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย) ๑๐ 
– การปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 
– ข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริมสุขภาพ 
– โรคติดต่อ 
รวม ๑๙
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
306 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา 
(ระบบต่างๆ ของร่างกาย) 
๑ ๒๒ พ.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ระบบย่อยอาหารและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ 
พ ๒.๑ ป. ๕/๒ 
– ภาพระบบ 
โครงสร้างร่างกาย 
๒ ๒๙ พ.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ระบบย่อยอาหารและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ 
พ ๒.๑ ป. ๕/๒ 
– ภาพระบบ 
โครงสร้างร่างกาย 
๓ ๕ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ระบบขับถ่ายและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ 
พ ๒.๑ ป. ๕/๒ 
– ใบความรู้ 
– ใบงาน 
๔ ๑๒ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ระบบขับถ่ายและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ 
พ ๒.๑ ป. ๕/๒ 
– ภาพระบบ 
โครงสร้างร่างกาย 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา 
(ชีวิตในครอบครัวและเพศศึกษา) 
๕ ๑๙ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ เพศของเรา พ ๒.๑ ป. ๕/๑ – ภาพเด็กชายและ 
เด็กหญิง 
๖ ๒๖ มิ.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ เพศของเรา พ ๒.๑ ป. ๕/๑ – ใบความรู้ 
– ใบงาน 
๗ ๓ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ครอบครัวและเพื่อน พ ๒.๑ ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– ภาพครอบครัว 
๘ ๑๐ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ครอบครัวและเพื่อน พ ๒.๑ ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– ภาพกิจกรรมที่ทำ� 
ร่วมกับครอบครัว 
๙ ๑๗ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ครอบครัวและเพื่อน พ ๒.๑ ป. ๕/๒ 
ป. ๕/๓ 
– ภาพกิจกรรมที่ทำ� 
ร่วมกับครอบครัว
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
307 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง 
(สุขภาพและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย) 
๑๐ ๒๔ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ดูแลสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ 
ป. ๕/๒ 
– ใบความรู้ 
– ใบงาน 
๑๑ ๓๑ ก.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ดูแลสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ 
ป. ๕/๒ 
– ใบความรู้ 
– ใบงาน 
๑๒ ๗ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ ดูแลสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ 
ป. ๕/๒ 
– ใบความรู้ 
– ใบงาน 
๑๓ ๑๔ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ สื่อกับสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ 
ป. ๕/๒ 
– ใบความรู้ 
– ใบงาน 
๑๔ ๒๑ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ สื่อกับสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ 
ป. ๕/๒ 
– ใบความรู้ 
– ใบงาน 
๑๕ ๒๘ ส.ค. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ 
ในชีวิตประจำ�วัน 
– ใบงาน 
๑๖ ๔ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ 
ในชีวิตประจำ�วัน 
– ใบงาน 
๑๗ ๑๑ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ 
ในชีวิตประจำ�วัน 
– ใบงาน 
๑๘ ๑๘ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ 
ในชีวิตประจำ�วัน 
– ใบงาน 
๑๙ ๒๕ ก.ย. ๕๗ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ 
ในชีวิตประจำ�วัน 
– ใบงาน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
ตัวอย่าง 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา ระยะเวลาในการสอน ๖ ชั่วโมง 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
308 
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ อธิบายความสำ�คัญของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและ 
พัฒนาการ 
ป. ๕/๒ อธิบายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทำ�งานตามปกติ 
๒. สาระการเรียนรู้ 
๑. การเจริญเติบโตและพัฒนาการ 
๒. ระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่าย 
๓. วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย 
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๑. บอกและอธิบายระบบการทำ�งานของอวัยวะต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ สมรรถภาพของร่างกาย การเจริญ 
และพัฒนาการของร่างกาย 
๒. บอกและอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ ของวัยแรกรุ่นและ 
วัยรุ่นเป็นอย่างดี 
๓. บอกและอธิบายหน้าที่การทำ�งานของอวัยวะต่างๆ ที่มีต่อสุขภาพ สมรรถภาพของร่างกาย การเจริญเติบโต 
และพัฒนาการด้านร่างกาย 
๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 
๑. นำ�เครื่องชั่งนํ้าหนักมาให้นักเรียนชั่งและบันทึก 
๒. นักเรียนทุกคนชั่งนํ้าหนักและวัดส่วนสูงตามช่วงระยะเวลาที่ครูได้กำ�หนดขึ้นแล้วนำ�ไปเทียบเคียงกับ 
นํ้าหนักและอายุ ส่วนสูงตามใบงาน 
๓. นักเรียนช่วยกันรวมนํ้าหนักและส่วนสูงของนักเรียนทุกคนในห้องเข้าด้วยกัน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
๔. เอานํ้าหนักและส่วนสูงของแต่ละประเภทที่รวมกันแล้วหารด้วยจำ�นวนนักเรียนทั้งหมดเพื่อทราบผลลัพธ์ 
และเขียนติดไว้ที่แผ่นป้ายเพื่อจัดนิทรรศการ 
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใจความสำ�คัญให้ครบถ้วนตามสาระการเรียนรู้ (อวัยวะภายนอกและอวัยวะ 
ภายใน) 
๖. ครูนำ�ภาพอวัยวะภายในมาให้นักเรียนดูแล้วร่วมกันสนทนา 
๗. ให้นักเรียนวาดภาพอวัยวะภายในเช่น กระเพาะอาหาร ระบบขับถ่าย พร้อมทั้งเขียนคำ�อธิบาย 
๘. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใจความสำ�คัญครบถ้วนตรงตามสื่อการเรียนรู้ 
309 
๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 
๑. เครื่องชั่งนํ้าหนัก 
๒. เครื่องวัดส่วนสูง 
๓. ภาพอวัยวะภายในของมนุษย์ 
๖. การวัดผลและประเมินผล 
๑. บันทึกนํ้าหนักและส่วนสูง 
๒. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 
๓. ตรวจผลงาน/แฟ้มสะสมงาน 
๔. ประเมินการปฏิบัติการของกลุ่ม 
หน่วยที่ ๑ 
การเจริญเติบโตของตัวเรา 
สาระที่ ๑ 
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ 
หน่วยที่ ๒ 
ระบบต่างๆ ของร่างกาย 
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายวัยรุ่น
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
ตัวอย่าง 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา 
เรื่อง ชีวิตและครอบครัว ระยะเวลาในการสอน ๗ ชั่วโมง 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
310 
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำ�เนินชีวิต 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ และปฏิบัติตนได้เหมาะสม 
ป. ๕/๒ อธิบายความสำ�คัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย 
ป. ๕/๓ ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ 
กลุ่มเพื่อน 
๒. สาระการเรียนรู้ 
๑. การเปลี่ยนแปลงทางเพศ 
๒. ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย 
๓. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว 
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๑. เห็นคุณค่าของชีวิตครอบครัว 
๒. มีทักษะในการดำ�เนินชีวิตครอบครัว 
๓. เห็นคุณค่าของเพศชาย - หญิง 
๔. เห็นคุณค่าและดูแลสุขอนามัยทางเพศ 
๕. บอกวิธีการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงได้ 
๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 
๑. ทำ�แผนภูมิและภาพสมาชิกในครอบครัว 
๒. อภิปรายสมาชิกในครอบครัว 
๓. อภิปรายบทบาทหน้าที่สมาชิกครอบครัว 
๔. อภิปรายบทบาทหน้าที่ของลูกต่อครอบครัว
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
๕. แบ่งกลุ่มตามความสนใจ กลุ่มละประมาณ ๕ - ๗ คน ศึกษาจากใบความรู้ 
๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกวิธีนำ�เสนอ เช่น การแสดงบทบาทสมมติ ละคร หุ่นเชิด โต้วาที ฯลฯ 
๗. นักเรียนซักถามและเสนอข้อคิดเห็น 
๘. ครูอธิบายเพิ่มเติม 
๙. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปการนำ�เสนอผลงาน 
๑๐. มอบหมายงานให้นักเรียนทำ� 
๑๑. ครูให้นักเรียนชายหรือหญิงที่ตัวโตมีเสียงไพเราะออกมาร้องเพลงให้เต็มเสียง แล้วร่วมกันสนทนาว่าเสียง 
ไพเราะเป็นเพราะเหตุใด 
๑๒. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มตามแถวในห้องเรียน 
๑๓. ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มแบ่งกลุ่มกันเขียนสิ่งที่ทำ�ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางเพศของวัยรุ่น 
๑๔. ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนบันทึกการเปลี่ยนแปลงทางเพศของตนเอง พร้อมกับสิ่งที่ตนเองคิดว่าผิดปกติที่เกิด 
311 
ขึ้นในตัวเองไปส่งครู 
๑๕. เปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเจริญเติบโตหรือการเปลี่ยนแปลงทางเพศคนละ ๓ คำ�ถามและ 
ร่วมสนทนาหาข้อยุติ 
๑๖. ครูนำ�ภาพเพศชายและเพศหญิงมาให้นักเรียนดูแล้วร่วมกันเปรียบเทียบถึงความแตกต่าง 
๑๗. ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนวิธีควบคุมปัญหาทางเพศลงในเศษกระดาษแล้วนำ�ไปใส่กล่องที่ครูเตรียมไว้ 
๑๘. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใจความสำ�คัญเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมและที่ไม่เหมาะสม 
๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 
๑. ภาพเด็กชายและเด็กหญิง 
๒. ภาพข่าวหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ 
๖. การวัดผลประเมินผล 
๑. ประเมินแบบทดสอบและการปฏิบัติงาน 
๒. ประเมินจากการสังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่ม 
๗. บันทึกผลหลังการสอน 
............................................................................................................................................................................................................................................................................................ 
............................................................................................................................................................................................................................................................................................ 
............................................................................................................................................................................................................................................................................................ 
............................................................................................................................................................................................................................................................................................ 
............................................................................................................................................................................................................................................................................................ 
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
312 
ความสำ�คัญของ 
เพศชาย - เพศหญิง พฤติกรรมทางเพศ 
หน่วยที่ ๑ 
สุขอนามัยทางเพศ 
สาระที่ ๒ 
ชีวิตและครอบครัว 
หน่วยที่ ๒ 
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
313 
ตัวอย่าง 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง 
ระยะเวลาในการสอน ๖ ชั่วโมง 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 
ตัวชี้วัด 
ป. ๕/๑ รูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหว 
๒. สาระการเรียนรู้ 
๑. การจัดรูปแบบการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสาน 
๒. การปฏิบัติกิจกรรมทางกายทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบตามแบบที่กำ�หนด 
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่และแบบบังคับสิ่งของตามคำ�แนะนำ�ได้ 
๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 
๑. กิจกรรมในห้องเรียน 
๑.๑ ดูภาพคนกำ�ลังเคลื่อนไหวลักษณะต่างๆ แล้วสนทนา อภิปราย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว 
ร่างกาย 
๑.๒ นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องการเคลื่อนไหว และใบงาน 
๑.๓ นักเรียนสำ�รวจชื่อ เครื่องแต่งกาย ตรวจสุขภาพตนเองและเพื่อน แล้วออกไปรวมกันบริวณสถานที่ 
นัดหมาย 
๒. กิจกรรมนอกห้องเรียน 
๒.๑ นักเรียนเข้าแถวเตรียมพร้อมแล้วอบอุ่นร่างกาย ด้วยการทำ�กายบริหาร 
๒.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันคิดเกมที่ใช้ท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกาย 
๒.๓ นักเรียนคัดเลือกตัวแทนออกมาแสดงการเคลื่อนไหวร่างกายท่าต่างๆ 
๒.๔ นักเรียนร่วมกันเล่นเกม 
๒.๕ นักเรียนร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการและประโยชน์ของการเคลื่อนไหวแบบต่างๆ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๕. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 
314 
๑. ภาพ 
๒. เพลง 
๓. แหล่งเรียนรู้/บุคคล 
๔. สถานที่บริเวณ 
๕. ใบงาน 
๖. การวัดผลประเมินผล 
๑. วิธีการ 
✍ สังเกต 
– การตั้งใจเรียนของแต่ละคน 
– การอภิปรายแสดงความคิดเห็น 
– การนำ�เสนอผลงาน 
– กระบวนการทำ�งานของกลุ่ม 
– คุณลักษณะนิสัยของแต่ละคน 
✍ ตรวจสอบ 
– ตรวจเครื่องแต่งกาย 
– ตรวจใบงาน 
๒. เครื่องมือวัดและประเมิน 
✍ ใบงาน 
✍ แบบบันทึกการเคลื่อนไหว 
๓. เกณฑ์การวัดและประเมิน 
ถือเกณฑ์การผ่านร้อยละ ๘๐ 
๗. บันทึกผลหลังการสอน 
๑. ประสิทธิผลที่เกิดกับผู้เรียน 
ดี (A) เก่ง (K) มีสุข (P) 
๑. นักเรียนส่วนใหญ่มีความประพฤติดี สนใจ 
การเรียน 
๒. นักเรียนมีความสามัคคีและรับผิดชอบดี 
๓. มีมารยาทในการอ่านและแสดงความคิด 
เห็นจากเรื่องที่อ่าน 
นักเรียนจำ�นวน........................คน 
ทำ�กิจกรรมผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 
จำ�นวน........................คน 
คิดเป็นร้อยละ........................ 
๑. ส่วนใหญ่มีความสุขจากกระบวนการ 
ทำ�งานสังเกตได้จากการทำ�กิจกรรม 
ร่วมกัน 
๒. มีความเป็นกัลยาณมิตรแก่กันและกัน 
รวมทั้งกับครู
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
315 
๒. ปัญหา/อุปสรรค 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
๓. ข้อควรปรับปรุงแก้ไข 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
........................................................................................................................................................................................................................................................... 
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา 
ระยะเวลาในการสอน ๒๒ ชั่วโมง 
ตัวอย่าง 
ป.๔-๖ 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
316 
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ 
ตัวชี้วัด 
ป. ๔/๑ อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตามวัย 
ป. ๔/๒ อธิบายความสำ�คัญของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ 
ป. ๔/๓ อธิบายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ให้ทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ 
ป. ๕/๑ อธิบายความสำ�คัญของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่าย ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและ 
พัฒนาการ 
ป. ๕/๒ อธิบายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทำ�งานตามปกติ 
ป. ๖/๑ อธิบายความสำ�คัญของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ ที่มีผลต่อสุขภาพ 
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ 
ป. ๖/๒ อธิบายวิธีการดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทำ�งานตามปกติ 
๒. สาระการเรียนรู้ 
๑. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตามวัย 
๒. ระบบต่างๆ ในร่างกาย 
๓. กระบวนการเรียนรู้ 
๑. ร่วมกันร้องเพลง “อวัยวะสำ�คัญของเรา” “ฟัน” “ยิ้ม” 
๒. ขอนักเรียนอาสาสมัครคนหนึ่งออกมายืนหน้าชั้นเรียนให้เพื่อนดู (ผิวหน้า) แล้วช่วยกันจำ�แนกว่าผิวหน้า 
ของคนเราแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ผิวหนังชั้นนอก (หนังกำ�พร้า) และผิวหนังชั้นใน (หนังแท้) ผิวหน้า 
ทั้ง ๒ ประเภทมีลักษณะอย่างไร แตกต่างกันอย่างไร 
๓. นำ�หุ่นโครงร่างมนุษย์ให้นักเรียนดูแล้วอภิปรายเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร โครงกระดูกและกล้ามเนื้อ และ 
ระบบขับถ่าย โดยครูคอยช่วยถามนำ� เพื่อให้นักเรียนเห็นแนวทางการถามกันเองและตอบคำ�ถามที่เพื่อนและ 
ครูถาม 
๔. นักเรียนดูตัวอย่างฟันร่วมกับอภิปรายถึงความหมาย หน้าที่ ความสำ�คัญ และประโยชน์ของฟัน โดยครูคอย 
ร่วมถามนำ�
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 
๕. นักเรียนสำ�รวจ สังเกตตนเอง ครูซักถามนักเรียนว่า 
– ปีที่แล้วกับปัจจุบันร่างกายของนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงในด้านใดบ้างหรือไม่ 
– เปลี่ยนแปลงอย่างไร 
– ส่วนใดเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้อย่างชัดเจนบ้าง 
๖. ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับผิวหน้าว่ามีหน้าที่อย่างไร โดยให้นักเรียนตอบตามความเข้าใจ 
๗. นำ�ภาพร่างกายของคนมาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันจำ�แนกว่าอวัยวะของคนเราแบ่งเป็น ๒ 
ประเภท คือ อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน แล้วให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอวัยวะภายนอก/ภายใน 
คือ โครงร่าง ของกระดูก และกล้ามเนื้อ, ระบบย่อยอาหาร, ระบบขับถ่าย ว่ามีความสำ�คัญ ความจำ�เป็น 
และประโยชน์ต่อคนเราอย่างไร และเราควรปฏิบัติอย่างไรต่ออวัยวะดังกล่าว 
๘. นักเรียนจับคู่แล้วตรวจสุขภาพฟันของเพื่อนว่าเป็นอย่างไร เป็นโรคฟันอะไรไหม มีฟันชนิดใดบ้าง และ 
เรียกว่าอะไร 
๙. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ของตนเอง แล้วหาข้อสรุปเป็นองค์ความรู้ 
๑๐. แบ่งกลุ่มรับใบความรู้ ใบงาน แล้วศึกษา เรียนรู้ ทำ�ความเข้าใจ “ระบบต่างๆ ในร่างกาย” “ฟันของฉัน” 
“การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม” แล้วปฏิบัติตามขั้นตอนในใบงาน 
๑๑. ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอผลงาน 
๑๒. ร่วมกันสรุป 
317 
๔. การวัดผลประเมินผล 
๑. การสังเกตพฤติกรรมการทำ�งานกลุ่ม 
๒. การนำ�เสนอผลงาน 
๓. การตรวจผลงาน 
๕. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 
๑. ใบงาน 
๒. ใบความรู้ 
๓. เพลง 
๔. นักเรียนอาสา 
๕. หุ่นโครงร่างมนุษย์ 
๖. รูปฟันจำ�ลอง 
๗. หนังสือเกี่ยวกับร่างกาย 
๘. แบบประเมินพฤติกรรมการทำ�งานและการเรียน 
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
318 
บรรณานุกรม 
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงพิมพ์องค์การ 
รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) ๒๕๔๕ 
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ผังมโนทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า 
และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) ๒๕๔๕

More Related Content

What's hot

5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้Ummara Kijruangsri
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานรูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานtassanee chaicharoen
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
คู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงาน
คู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงานคู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงาน
คู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงานtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
tassanee chaicharoen
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษากำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษาUmmara Kijruangsri
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
guest5660a9a
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
tassanee chaicharoen
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]bks_school
 
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
tassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
tassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงานรูปแบบการจัดทำโครงงาน
รูปแบบการจัดทำโครงงาน
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
คู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงาน
คู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงานคู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงาน
คู่มือสนับสนุนการเรียนรู้โครงงาน
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษากำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
 
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาลงสู่หน่วยการเรียนรู้
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 

Similar to 5

รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
Puhsadee Chaiburee
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
weskaew yodmongkol
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556
supphawan
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
Nithimar Or
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
Wichai Likitponrak
 
Information of arts 63
Information of arts 63Information of arts 63
Information of arts 63
peter dontoom
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับ
withawat na wanma
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
dentyomaraj
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
Gob Chantaramanee
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
Pranitee Ratanawijitr
 
Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53
Wee Boon
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
oraneehussem
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
Mickey Toon Luffy
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
คมสัน คงเอี่ยม
 
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงโรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
Wi Rut
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
niralai
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
Wichai Likitponrak
 

Similar to 5 (20)

รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
Ssr รร 2556
Ssr รร 2556Ssr รร 2556
Ssr รร 2556
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
Information of arts 63
Information of arts 63Information of arts 63
Information of arts 63
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับ
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53Aaสุขศึกษา 1.53
Aaสุขศึกษา 1.53
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงโรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 

5

  • 1. โรงเรียนวังไกลกังวล (ระดับประถมศึกษา) ถนนเพชรเกษม อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คู่มือการจัดการเรียนการสอน ทางไกลผ่านดาวเทียม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สงวนลิขสิทธิ์
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 300 ผั ง ม โ น ทั ศ น์ เทคนิคการจัดกิจกรรม ✍ กระบวนการกลุ่ม ลงมือปฏิบัติจริง ✍ จัดกิจกรรมทักษะกระบวนการคิด/การแก้ปัญหา ✍ จัดหน่วยการเรียนบูรณาการเชื่อมโยงกับต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ✍ ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ✍ กิจกรรมโครงงาน ความปลอดภัยในชีวิต นักเรียนมีความรู้ความคิด ทักษะกระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และบูรณาการได้ กระบวนการคุณธรรม จริยธรรม การเจริญเติบโต และ พัฒนาการของมนุษย์ ✍ นักเรียนมีเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ เช่น มีความซื่อสัตย์, กล้าแสดงออก, ตรงต่อเวลา ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น, ยินดีเมื่อผู้อื่นประสบผลสำ�เร็จ, มีความกระตือรือร้น ✍ นักเรียนมีคุณธรรม ค่านิยมที่ดีต่อการเรียนรู้ มีความพอใจในสิ่งที่ตนมี หรือตนเองทำ�ได้ ชีวิตและครอบครัว การเคลื่อนไหว การออกกำ�ลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้น ป.๔ - ๖ ✍ เข้าใจธรรมชาติ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ✍ เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำ�เนินชีวิต ✍ เข้าใจมีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรม ทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ✍ รักการออกกำ�ลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติประจำ�อย่างสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ✍ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำ�รงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริม สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ✍ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และ ความรุนแรง 301 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ✍ ระบบต่างๆ ในร่างกาย ✍ ทันตสุขภาพ ✍ พัฒนาการของตัวเรา ✍ คุณค่าของชีวิตและครอบครัว ✍ เพศ ✍ อาหารและโภชนาการ ✍ การป้องกันโรค ✍ อารมณ์และความเครียด ✍ กิจกรรมเสริมสุขภาพ ✍ สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ✍ พฤติกรรมเสี่ยง ✍ ยาและสารเสพติด ✍ สิทธิของเรา ✍ ปฐมพยาบาล
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 302 ผังมโนทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา ระดับชั้น ป.๑ - ๖ แสดงบทบาทสมมติ ✍ ครอบครัวอบอุ่น ✍ การเจ็บป่วย ปฏิบัติจริง ✍ ทันตสุขภาพ ✍ การดูแลรักษาส่วนต่างๆ ของร่างกาย ✍ บทบาทและมารยาท ✍ กินดีมีสุข ✍ การออกกำ�ลังกาย ✍ กิจกรรมนันทนาการ/เกม ✍ ทดสอบสมรรถภาพ แบ่งกลุ่มเขียนผังความคิด ✍ วิธีการดูแลตนเอง ✍ การเจริญเติบโต ✍ ระบบต่างๆ ของร่างกาย ✍ ความสุขในชีวิต ✍ ครอบครัวมีสุข ✍ สิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ ✍ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ✍ การป้องกันการมีเพศ สัมพันธ์ในวัยเรียน ✍ การดูแลรักษาบ้าน ✍ กิจกรรมนันทนาการ สำ�รวจสืบค้นข้อมูล ✍ การเจริญเติบโต ✍ การพัฒนาการด้านร่างกาย ✍ อาหารและโภชนาการ ✍ ประวัติกีฬาและนักกีฬา ฝึกทักษะและกระบวนการคิด ✍ สนทนา ซักถาม ✍ เขียนแผนผังความคิด ✍ ร่วมอภิปรายกลุ่ม ✍ สรุปความคิดเห็น ✍ แบบทดสอบ สุขนิสัยและสุขอนามัย ✍ การรับประทานอาหาร ✍ การขับถ่าย
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ระดับชั้น ป.๑ - ๖ 303 ผังมโนทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา ปฏิบัติจริง ✍ ปฏิบัติตามกฎ กติกาและระเบียบของท้องถิ่น ✍ กีฬา - เพลงพื้นบ้าน ✍ เคลื่อนไหวตามจังหวะประกอบเพลง การแสดงบทบาทสมมติ ✍ ครอบครัวของฉัน ✍ อุบัติเหตุในการเดินทาง ✍ ความปลอดภัยในการเล่นกีฬา สำ�รวจสืบค้นข้อมูล ✍ อาหารในท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ✍ ประวัตินักกีฬาที่สร้างชื่อเสียงในท้องถิ่น ✍ การละเล่นและกีฬาในท้องถิ่น ✍ อาหารพื้นบ้าน
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 304 ผังมโนทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้น ป.๑ - ๖ ✍ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในท้องถิ่น ✍ การละเล่นพื้นเมือง (เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ และภูมิปัญญาไทย) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง แสดงบทบาทสมมติ ✍ บทบาทหน้าที่ของตนเอง/ต่อครอบครัว ✍ ป้องกันอุบัติเหตุในการเดินทาง (ความปลอดภัย) ปฏิบัติจริง แบ่งกลุ่มเขียนผังความคิด ✍ การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลง (อุปกรณ์ที่หาได้ในท้องถิ่น) ✍ กิจกรรมนันทนาการ ✍ การทรงตัว ✍ กายบริหารประกอบจังหวะ สำ�รวจสืบค้นข้อมูล ✍ กีฬาพื้นบ้าน/ท้องถิ่น ✍ เกมพื้นบ้าน/ท้องถิ่น ✍ กีฬาไทย สุขนิสัยและสุขอนามัย ✍ สิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ (บ้าน, ห้องเรียน, โรงเรียน) ✍ เกมนำ�ไปสู่กีฬาและการออกกำ�ลังกาย ✍ สุขภาพดีมีสุข ฝึกทักษะและกระบวนการคิด ✍ สนทนา ซักถาม ✍ เขียนแผนผังความคิด ✍ ร่วมอภิปรายกลุ่ม ✍ สรุปความคิดเห็น ✍ แบบทดสอบ
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ จำ�นวนหน่วยการเรียนรู้ ๓ หน่วย เวลา ๑๙ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ สาระการเรียนรู้ เวลา/จำ�นวน 305 ๑ ตัวเรา (ระบบต่างๆ ของร่างกาย) ๔ – ระบบต่างๆ ของร่างกาย – วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย ๒ ชุมชนของเรา (ชีวิตในครอบครัวและเพศศึกษา) ๕ – การเปลี่ยนแปลงทางเพศ – ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย – การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว ๓ เศรษฐกิจพอเพียง (สุขภาพและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย) ๑๐ – การปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ – ข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริมสุขภาพ – โรคติดต่อ รวม ๑๙
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 306 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา (ระบบต่างๆ ของร่างกาย) ๑ ๒๒ พ.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ระบบย่อยอาหารและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ พ ๒.๑ ป. ๕/๒ – ภาพระบบ โครงสร้างร่างกาย ๒ ๒๙ พ.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ระบบย่อยอาหารและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ พ ๒.๑ ป. ๕/๒ – ภาพระบบ โครงสร้างร่างกาย ๓ ๕ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ระบบขับถ่ายและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ พ ๒.๑ ป. ๕/๒ – ใบความรู้ – ใบงาน ๔ ๑๒ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ระบบขับถ่ายและการดูแล พ ๑.๑ ป. ๕/๑ พ ๒.๑ ป. ๕/๒ – ภาพระบบ โครงสร้างร่างกาย หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา (ชีวิตในครอบครัวและเพศศึกษา) ๕ ๑๙ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ เพศของเรา พ ๒.๑ ป. ๕/๑ – ภาพเด็กชายและ เด็กหญิง ๖ ๒๖ มิ.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ เพศของเรา พ ๒.๑ ป. ๕/๑ – ใบความรู้ – ใบงาน ๗ ๓ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ครอบครัวและเพื่อน พ ๒.๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – ภาพครอบครัว ๘ ๑๐ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ครอบครัวและเพื่อน พ ๒.๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – ภาพกิจกรรมที่ทำ� ร่วมกับครอบครัว ๙ ๑๗ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ครอบครัวและเพื่อน พ ๒.๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ – ภาพกิจกรรมที่ทำ� ร่วมกับครอบครัว
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 307 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง (สุขภาพและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย) ๑๐ ๒๔ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ดูแลสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ – ใบความรู้ – ใบงาน ๑๑ ๓๑ ก.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ดูแลสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ – ใบความรู้ – ใบงาน ๑๒ ๗ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ ดูแลสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ – ใบความรู้ – ใบงาน ๑๓ ๑๔ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ สื่อกับสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ – ใบความรู้ – ใบงาน ๑๔ ๒๑ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ สื่อกับสุขภาพ พ ๔.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ – ใบความรู้ – ใบงาน ๑๕ ๒๘ ส.ค. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ ในชีวิตประจำ�วัน – ใบงาน ๑๖ ๔ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ ในชีวิตประจำ�วัน – ใบงาน ๑๗ ๑๑ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ ในชีวิตประจำ�วัน – ใบงาน ๑๘ ๑๘ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ ในชีวิตประจำ�วัน – ใบงาน ๑๙ ๒๕ ก.ย. ๕๗ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑/๖๐ โรคและการป้องกันโรค พ ๔.๑ ป. ๕/๔ – โรคติดต่อที่พบ ในชีวิตประจำ�วัน – ใบงาน
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ตัวอย่าง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา ระยะเวลาในการสอน ๖ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 308 มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ อธิบายความสำ�คัญของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการ ป. ๕/๒ อธิบายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทำ�งานตามปกติ ๒. สาระการเรียนรู้ ๑. การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ๒. ระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่าย ๓. วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกและอธิบายระบบการทำ�งานของอวัยวะต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ สมรรถภาพของร่างกาย การเจริญ และพัฒนาการของร่างกาย ๒. บอกและอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ ของวัยแรกรุ่นและ วัยรุ่นเป็นอย่างดี ๓. บอกและอธิบายหน้าที่การทำ�งานของอวัยวะต่างๆ ที่มีต่อสุขภาพ สมรรถภาพของร่างกาย การเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกาย ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑. นำ�เครื่องชั่งนํ้าหนักมาให้นักเรียนชั่งและบันทึก ๒. นักเรียนทุกคนชั่งนํ้าหนักและวัดส่วนสูงตามช่วงระยะเวลาที่ครูได้กำ�หนดขึ้นแล้วนำ�ไปเทียบเคียงกับ นํ้าหนักและอายุ ส่วนสูงตามใบงาน ๓. นักเรียนช่วยกันรวมนํ้าหนักและส่วนสูงของนักเรียนทุกคนในห้องเข้าด้วยกัน
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๔. เอานํ้าหนักและส่วนสูงของแต่ละประเภทที่รวมกันแล้วหารด้วยจำ�นวนนักเรียนทั้งหมดเพื่อทราบผลลัพธ์ และเขียนติดไว้ที่แผ่นป้ายเพื่อจัดนิทรรศการ ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใจความสำ�คัญให้ครบถ้วนตามสาระการเรียนรู้ (อวัยวะภายนอกและอวัยวะ ภายใน) ๖. ครูนำ�ภาพอวัยวะภายในมาให้นักเรียนดูแล้วร่วมกันสนทนา ๗. ให้นักเรียนวาดภาพอวัยวะภายในเช่น กระเพาะอาหาร ระบบขับถ่าย พร้อมทั้งเขียนคำ�อธิบาย ๘. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใจความสำ�คัญครบถ้วนตรงตามสื่อการเรียนรู้ 309 ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. เครื่องชั่งนํ้าหนัก ๒. เครื่องวัดส่วนสูง ๓. ภาพอวัยวะภายในของมนุษย์ ๖. การวัดผลและประเมินผล ๑. บันทึกนํ้าหนักและส่วนสูง ๒. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม ๓. ตรวจผลงาน/แฟ้มสะสมงาน ๔. ประเมินการปฏิบัติการของกลุ่ม หน่วยที่ ๑ การเจริญเติบโตของตัวเรา สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ หน่วยที่ ๒ ระบบต่างๆ ของร่างกาย การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายวัยรุ่น
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ตัวอย่าง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ชุมชนของเรา เรื่อง ชีวิตและครอบครัว ระยะเวลาในการสอน ๗ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 310 มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำ�เนินชีวิต ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ และปฏิบัติตนได้เหมาะสม ป. ๕/๒ อธิบายความสำ�คัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ป. ๕/๓ ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและ กลุ่มเพื่อน ๒. สาระการเรียนรู้ ๑. การเปลี่ยนแปลงทางเพศ ๒. ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ๓. การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. เห็นคุณค่าของชีวิตครอบครัว ๒. มีทักษะในการดำ�เนินชีวิตครอบครัว ๓. เห็นคุณค่าของเพศชาย - หญิง ๔. เห็นคุณค่าและดูแลสุขอนามัยทางเพศ ๕. บอกวิธีการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑. ทำ�แผนภูมิและภาพสมาชิกในครอบครัว ๒. อภิปรายสมาชิกในครอบครัว ๓. อภิปรายบทบาทหน้าที่สมาชิกครอบครัว ๔. อภิปรายบทบาทหน้าที่ของลูกต่อครอบครัว
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๕. แบ่งกลุ่มตามความสนใจ กลุ่มละประมาณ ๕ - ๗ คน ศึกษาจากใบความรู้ ๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกวิธีนำ�เสนอ เช่น การแสดงบทบาทสมมติ ละคร หุ่นเชิด โต้วาที ฯลฯ ๗. นักเรียนซักถามและเสนอข้อคิดเห็น ๘. ครูอธิบายเพิ่มเติม ๙. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปการนำ�เสนอผลงาน ๑๐. มอบหมายงานให้นักเรียนทำ� ๑๑. ครูให้นักเรียนชายหรือหญิงที่ตัวโตมีเสียงไพเราะออกมาร้องเพลงให้เต็มเสียง แล้วร่วมกันสนทนาว่าเสียง ไพเราะเป็นเพราะเหตุใด ๑๒. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มตามแถวในห้องเรียน ๑๓. ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มแบ่งกลุ่มกันเขียนสิ่งที่ทำ�ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางเพศของวัยรุ่น ๑๔. ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนบันทึกการเปลี่ยนแปลงทางเพศของตนเอง พร้อมกับสิ่งที่ตนเองคิดว่าผิดปกติที่เกิด 311 ขึ้นในตัวเองไปส่งครู ๑๕. เปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเจริญเติบโตหรือการเปลี่ยนแปลงทางเพศคนละ ๓ คำ�ถามและ ร่วมสนทนาหาข้อยุติ ๑๖. ครูนำ�ภาพเพศชายและเพศหญิงมาให้นักเรียนดูแล้วร่วมกันเปรียบเทียบถึงความแตกต่าง ๑๗. ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนวิธีควบคุมปัญหาทางเพศลงในเศษกระดาษแล้วนำ�ไปใส่กล่องที่ครูเตรียมไว้ ๑๘. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใจความสำ�คัญเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมและที่ไม่เหมาะสม ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพเด็กชายและเด็กหญิง ๒. ภาพข่าวหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. ประเมินแบบทดสอบและการปฏิบัติงาน ๒. ประเมินจากการสังเกตจากการร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๗. บันทึกผลหลังการสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 312 ความสำ�คัญของ เพศชาย - เพศหญิง พฤติกรรมทางเพศ หน่วยที่ ๑ สุขอนามัยทางเพศ สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว หน่วยที่ ๒ พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 313 ตัวอย่าง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลาในการสอน ๖ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ตัวชี้วัด ป. ๕/๑ รูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหว ๒. สาระการเรียนรู้ ๑. การจัดรูปแบบการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสาน ๒. การปฏิบัติกิจกรรมทางกายทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบตามแบบที่กำ�หนด ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับที่และแบบบังคับสิ่งของตามคำ�แนะนำ�ได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑. กิจกรรมในห้องเรียน ๑.๑ ดูภาพคนกำ�ลังเคลื่อนไหวลักษณะต่างๆ แล้วสนทนา อภิปราย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ร่างกาย ๑.๒ นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องการเคลื่อนไหว และใบงาน ๑.๓ นักเรียนสำ�รวจชื่อ เครื่องแต่งกาย ตรวจสุขภาพตนเองและเพื่อน แล้วออกไปรวมกันบริวณสถานที่ นัดหมาย ๒. กิจกรรมนอกห้องเรียน ๒.๑ นักเรียนเข้าแถวเตรียมพร้อมแล้วอบอุ่นร่างกาย ด้วยการทำ�กายบริหาร ๒.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันคิดเกมที่ใช้ท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ๒.๓ นักเรียนคัดเลือกตัวแทนออกมาแสดงการเคลื่อนไหวร่างกายท่าต่างๆ ๒.๔ นักเรียนร่วมกันเล่นเกม ๒.๕ นักเรียนร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการและประโยชน์ของการเคลื่อนไหวแบบต่างๆ
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๕. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 314 ๑. ภาพ ๒. เพลง ๓. แหล่งเรียนรู้/บุคคล ๔. สถานที่บริเวณ ๕. ใบงาน ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. วิธีการ ✍ สังเกต – การตั้งใจเรียนของแต่ละคน – การอภิปรายแสดงความคิดเห็น – การนำ�เสนอผลงาน – กระบวนการทำ�งานของกลุ่ม – คุณลักษณะนิสัยของแต่ละคน ✍ ตรวจสอบ – ตรวจเครื่องแต่งกาย – ตรวจใบงาน ๒. เครื่องมือวัดและประเมิน ✍ ใบงาน ✍ แบบบันทึกการเคลื่อนไหว ๓. เกณฑ์การวัดและประเมิน ถือเกณฑ์การผ่านร้อยละ ๘๐ ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ประสิทธิผลที่เกิดกับผู้เรียน ดี (A) เก่ง (K) มีสุข (P) ๑. นักเรียนส่วนใหญ่มีความประพฤติดี สนใจ การเรียน ๒. นักเรียนมีความสามัคคีและรับผิดชอบดี ๓. มีมารยาทในการอ่านและแสดงความคิด เห็นจากเรื่องที่อ่าน นักเรียนจำ�นวน........................คน ทำ�กิจกรรมผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ จำ�นวน........................คน คิดเป็นร้อยละ........................ ๑. ส่วนใหญ่มีความสุขจากกระบวนการ ทำ�งานสังเกตได้จากการทำ�กิจกรรม ร่วมกัน ๒. มีความเป็นกัลยาณมิตรแก่กันและกัน รวมทั้งกับครู
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ 315 ๒. ปัญหา/อุปสรรค ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ข้อควรปรับปรุงแก้ไข ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวเรา ระยะเวลาในการสอน ๒๒ ชั่วโมง ตัวอย่าง ป.๔-๖ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 316 มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ตัวชี้วัด ป. ๔/๑ อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตามวัย ป. ๔/๒ อธิบายความสำ�คัญของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ป. ๔/๓ อธิบายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ให้ทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ ป. ๕/๑ อธิบายความสำ�คัญของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่าย ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและ พัฒนาการ ป. ๕/๒ อธิบายวิธีดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทำ�งานตามปกติ ป. ๖/๑ อธิบายความสำ�คัญของระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ ที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ป. ๖/๒ อธิบายวิธีการดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทำ�งานตามปกติ ๒. สาระการเรียนรู้ ๑. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตามวัย ๒. ระบบต่างๆ ในร่างกาย ๓. กระบวนการเรียนรู้ ๑. ร่วมกันร้องเพลง “อวัยวะสำ�คัญของเรา” “ฟัน” “ยิ้ม” ๒. ขอนักเรียนอาสาสมัครคนหนึ่งออกมายืนหน้าชั้นเรียนให้เพื่อนดู (ผิวหน้า) แล้วช่วยกันจำ�แนกว่าผิวหน้า ของคนเราแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ผิวหนังชั้นนอก (หนังกำ�พร้า) และผิวหนังชั้นใน (หนังแท้) ผิวหน้า ทั้ง ๒ ประเภทมีลักษณะอย่างไร แตกต่างกันอย่างไร ๓. นำ�หุ่นโครงร่างมนุษย์ให้นักเรียนดูแล้วอภิปรายเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร โครงกระดูกและกล้ามเนื้อ และ ระบบขับถ่าย โดยครูคอยช่วยถามนำ� เพื่อให้นักเรียนเห็นแนวทางการถามกันเองและตอบคำ�ถามที่เพื่อนและ ครูถาม ๔. นักเรียนดูตัวอย่างฟันร่วมกับอภิปรายถึงความหมาย หน้าที่ ความสำ�คัญ และประโยชน์ของฟัน โดยครูคอย ร่วมถามนำ�
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๕. นักเรียนสำ�รวจ สังเกตตนเอง ครูซักถามนักเรียนว่า – ปีที่แล้วกับปัจจุบันร่างกายของนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงในด้านใดบ้างหรือไม่ – เปลี่ยนแปลงอย่างไร – ส่วนใดเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้อย่างชัดเจนบ้าง ๖. ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับผิวหน้าว่ามีหน้าที่อย่างไร โดยให้นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ๗. นำ�ภาพร่างกายของคนมาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันจำ�แนกว่าอวัยวะของคนเราแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน แล้วให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอวัยวะภายนอก/ภายใน คือ โครงร่าง ของกระดูก และกล้ามเนื้อ, ระบบย่อยอาหาร, ระบบขับถ่าย ว่ามีความสำ�คัญ ความจำ�เป็น และประโยชน์ต่อคนเราอย่างไร และเราควรปฏิบัติอย่างไรต่ออวัยวะดังกล่าว ๘. นักเรียนจับคู่แล้วตรวจสุขภาพฟันของเพื่อนว่าเป็นอย่างไร เป็นโรคฟันอะไรไหม มีฟันชนิดใดบ้าง และ เรียกว่าอะไร ๙. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ของตนเอง แล้วหาข้อสรุปเป็นองค์ความรู้ ๑๐. แบ่งกลุ่มรับใบความรู้ ใบงาน แล้วศึกษา เรียนรู้ ทำ�ความเข้าใจ “ระบบต่างๆ ในร่างกาย” “ฟันของฉัน” “การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม” แล้วปฏิบัติตามขั้นตอนในใบงาน ๑๑. ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอผลงาน ๑๒. ร่วมกันสรุป 317 ๔. การวัดผลประเมินผล ๑. การสังเกตพฤติกรรมการทำ�งานกลุ่ม ๒. การนำ�เสนอผลงาน ๓. การตรวจผลงาน ๕. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. ใบงาน ๒. ใบความรู้ ๓. เพลง ๔. นักเรียนอาสา ๕. หุ่นโครงร่างมนุษย์ ๖. รูปฟันจำ�ลอง ๗. หนังสือเกี่ยวกับร่างกาย ๘. แบบประเมินพฤติกรรมการทำ�งานและการเรียน w w w w w w w w
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 318 บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงพิมพ์องค์การ รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) ๒๕๔๕ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ผังมโนทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) ๒๕๔๕