SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
นำเสนอ
     อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
             สมำชิก
1.สลิล เสถียรมำศ ม.4/5 เลขที่28
2.สำริศำ อิศดิศัย ม.4/5 เลขที่14
คลื่นวิทยุคืออะไร?
คลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการ
     ตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ.
     1865 คลื่นวิทยุแบ่งออกเป็นหลายแถบความถี่ เช่น 30-300 Hz
                    ,300-3000 Hz ,3-30 kHz เป็นต้น
คลื่นวิทยุที่กระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทุกทิศทาง ในทุก
    ระนาบ การกระจายคลื่นนี้มีลักษณะเป็นการขยายตัวของพลังงานออกเป็น
      ทรงกลม เราสามารถเขียนแนวทิศทางเดินของหน้าคลื่นได้ด้วยเส้นตรง
       หรือเส้นรังสี เส้นรังสีที่ลากจากสายอากาศออกไปจะทามุมกับระนาบ
                 แนวนอน มุมนี้เรียกว่า มุมแผ่คลื่น อาจมีค่าเป็นบวก
(มุมเงย) หรือมีค่าเป็นลบ(มุมกดลง)ก็ได้ มุมของการแผ่คลื่นนี้อาจนามาใช้เป็น
                         ตัวกาหนดประเภทของคลื่นวิทยุได้
โดยทั่วไปคลื่นวิทยุอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.คลื่นดิน (GROUND WAVE)
พลังงานคลื่นวิทยุส่วนใหญ่จะเดินทางอยู่ใกล้ๆ ผิวโลกหรือเรียกว่าคลื่นดินซึ่งคลืนนีจะเดินไปตามส่วนโค้ง
                                                                             ่ ้
      ของโลก
2.คลื่นฟ้า (SKY WAVE)
คลื่นอีกส่วนที่ออกจากสายอากาศ ด้วยมุมแผ่คลื่นเป็นค่าบวก จะเดินทางจากพื้นโลกพุ่งไปยังบรรยากาศ
      จนถึงชั้นเพดานฟ้าและจะสะท้อนกลับลงมายังโลกนีเรียกว่า คลืนฟ้า
                                                   ้           ่
องค์ประกอบของคลื่นแบ่งออกเป็น4ประเภท คือ
1. คลื่นผิวดิน (Surface Wave) เป็นคลื่นที่แพร่กระจายออกจากสายอากาศโดยผิว
    พื้นดินหรือผิวน้า เป็นสื่อนาพิสัยของการกระจาย คลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่าความนาทาง
    ไฟฟ้าของผิวที่คลื่นนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความนาจะเป็นตัวกาหนดการถูก
    ดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิวโลก การถูกดูดกลืนของคลื่นนี้จะเพิ่มขึ้นตามความถี่ที่
    สูงขึ้น คลื่นผิวดินจะมีขึ้นได้ก็ต่อเมื่อสายอากาศของเครื่องส่งจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับ
    พื้นดิน คลื่นชนิดนี้สามารถแพร่กระจายได้ระยะทางไกลมาก
2. คลื่นตรง (Direct wave) คลื่นตรงมีลักษณะการแพร่กระจายคลื่นวิทยุเหมือนกับการ
    เดินทางของแสง คือ พุ่งเป็นเส้นตรง และการกระจายคลื่นชนิดนี้จะอยู่ในระดับสายตา
การกระจายคลื่นชนิดนี้จะมีชการแตกกระจายหรือสะท้อนได้ เมื่อพบกับสิ่งกีดขวาง
    เช่น ตึก ภูเขา โดยที่ระยะทางของการแพร่กระจายคลื่นจะมากหรือน้อยนั้นต้องขึ้นอยู่
    กับความสูงของสายอากาศเป็นสาคัญ
จากการแพร่กระจายคลื่นตรงนี้ ยังแบ่งการแพร่กระจายออกเป็น 2 แบบคือ การ
    แพร่กระจายเป็นแนวโค้ง เนื่องจากการเบี่ยงเบนในชั้นบรรยากาศ และการ
    แพร่กระจายคลื่นไปยังด้านที่มองไม่เห็นในระยะสายตา
3.คลื่นสะท้อนดิน (GROUND REFLECTED WAVE) หมายถึง คลื่นที่
   ออกมาจากสายอากาศ ไปกระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่
   สายอากาศรับ
4.คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่าของโลกที่
   เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจาก
   การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง
   แต่เป็นการหักเหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศ
   อย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของ
   บรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
1.ใครเป็นผู้ค้นพบคลื่นวิทยุ
                       เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์
2.เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์คนพบคลื่นวิทยุในปีใด
                           ้
                              ปี ค.ศ. 1865
3.มุมแผ่คลื่นคืออะไร
แนวทิศทางเดินของหน้าคลื่นที่ลากจากสายอากาศออกไปทามุมกับระนาบ
   แนวนอน
4.คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารแบ่งได้กี่ชนิด
                     2ชนิด คือ คลืนดินและคลื่นฟ้า
                                  ่
5. องค์ประกอบของคลื่นแบ่งได้กี่ประเภท
 4 คือ คลื่นผิวดิน คลืนตรง คลื่นสะท้อนดิน และคลืนหักเหโทรโปส
                      ่                         ่
                               เฟียร์
   http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%
    B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%
    B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B8
   http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/machanical/com
    mu/tepe.html

More Related Content

What's hot

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 
เครื่องเร่งอนุภาค Lep
เครื่องเร่งอนุภาค Lepเครื่องเร่งอนุภาค Lep
เครื่องเร่งอนุภาค LepKrissanachai Sararam
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นNeng Utcc
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402Petch Tongthummachat
 

What's hot (16)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
เครื่องเร่งอนุภาค Lep
เครื่องเร่งอนุภาค Lepเครื่องเร่งอนุภาค Lep
เครื่องเร่งอนุภาค Lep
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่น
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 

Similar to คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)

คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403Piyawan
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047Chania Asmodeus
 
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405Tanakrit Rujirapisit
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
พายุสุริยะ
พายุสุริยะพายุสุริยะ
พายุสุริยะCh Khankluay
 
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptxssuser4e6b5a1
 

Similar to คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล) (20)

คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403คลื่นวิทยุ  เนตรธารา+พิทยา 403
คลื่นวิทยุ เนตรธารา+พิทยา 403
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
 
Atmosphere1
Atmosphere1Atmosphere1
Atmosphere1
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
พายุสุริยะ
พายุสุริยะพายุสุริยะ
พายุสุริยะ
 
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
 
P11
P11P11
P11
 

คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)

  • 1. นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1.สลิล เสถียรมำศ ม.4/5 เลขที่28 2.สำริศำ อิศดิศัย ม.4/5 เลขที่14
  • 2. คลื่นวิทยุคืออะไร? คลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการ ตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 คลื่นวิทยุแบ่งออกเป็นหลายแถบความถี่ เช่น 30-300 Hz ,300-3000 Hz ,3-30 kHz เป็นต้น
  • 3. คลื่นวิทยุที่กระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทุกทิศทาง ในทุก ระนาบ การกระจายคลื่นนี้มีลักษณะเป็นการขยายตัวของพลังงานออกเป็น ทรงกลม เราสามารถเขียนแนวทิศทางเดินของหน้าคลื่นได้ด้วยเส้นตรง หรือเส้นรังสี เส้นรังสีที่ลากจากสายอากาศออกไปจะทามุมกับระนาบ แนวนอน มุมนี้เรียกว่า มุมแผ่คลื่น อาจมีค่าเป็นบวก (มุมเงย) หรือมีค่าเป็นลบ(มุมกดลง)ก็ได้ มุมของการแผ่คลื่นนี้อาจนามาใช้เป็น ตัวกาหนดประเภทของคลื่นวิทยุได้
  • 4. โดยทั่วไปคลื่นวิทยุอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1.คลื่นดิน (GROUND WAVE) พลังงานคลื่นวิทยุส่วนใหญ่จะเดินทางอยู่ใกล้ๆ ผิวโลกหรือเรียกว่าคลื่นดินซึ่งคลืนนีจะเดินไปตามส่วนโค้ง ่ ้ ของโลก 2.คลื่นฟ้า (SKY WAVE) คลื่นอีกส่วนที่ออกจากสายอากาศ ด้วยมุมแผ่คลื่นเป็นค่าบวก จะเดินทางจากพื้นโลกพุ่งไปยังบรรยากาศ จนถึงชั้นเพดานฟ้าและจะสะท้อนกลับลงมายังโลกนีเรียกว่า คลืนฟ้า ้ ่
  • 5. องค์ประกอบของคลื่นแบ่งออกเป็น4ประเภท คือ 1. คลื่นผิวดิน (Surface Wave) เป็นคลื่นที่แพร่กระจายออกจากสายอากาศโดยผิว พื้นดินหรือผิวน้า เป็นสื่อนาพิสัยของการกระจาย คลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่าความนาทาง ไฟฟ้าของผิวที่คลื่นนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความนาจะเป็นตัวกาหนดการถูก ดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิวโลก การถูกดูดกลืนของคลื่นนี้จะเพิ่มขึ้นตามความถี่ที่ สูงขึ้น คลื่นผิวดินจะมีขึ้นได้ก็ต่อเมื่อสายอากาศของเครื่องส่งจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับ พื้นดิน คลื่นชนิดนี้สามารถแพร่กระจายได้ระยะทางไกลมาก
  • 6. 2. คลื่นตรง (Direct wave) คลื่นตรงมีลักษณะการแพร่กระจายคลื่นวิทยุเหมือนกับการ เดินทางของแสง คือ พุ่งเป็นเส้นตรง และการกระจายคลื่นชนิดนี้จะอยู่ในระดับสายตา การกระจายคลื่นชนิดนี้จะมีชการแตกกระจายหรือสะท้อนได้ เมื่อพบกับสิ่งกีดขวาง เช่น ตึก ภูเขา โดยที่ระยะทางของการแพร่กระจายคลื่นจะมากหรือน้อยนั้นต้องขึ้นอยู่ กับความสูงของสายอากาศเป็นสาคัญ จากการแพร่กระจายคลื่นตรงนี้ ยังแบ่งการแพร่กระจายออกเป็น 2 แบบคือ การ แพร่กระจายเป็นแนวโค้ง เนื่องจากการเบี่ยงเบนในชั้นบรรยากาศ และการ แพร่กระจายคลื่นไปยังด้านที่มองไม่เห็นในระยะสายตา
  • 7. 3.คลื่นสะท้อนดิน (GROUND REFLECTED WAVE) หมายถึง คลื่นที่ ออกมาจากสายอากาศ ไปกระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่ สายอากาศรับ 4.คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่าของโลกที่ เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหักเหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศ อย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของ บรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
  • 8. 1.ใครเป็นผู้ค้นพบคลื่นวิทยุ เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ 2.เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์คนพบคลื่นวิทยุในปีใด ้ ปี ค.ศ. 1865 3.มุมแผ่คลื่นคืออะไร แนวทิศทางเดินของหน้าคลื่นที่ลากจากสายอากาศออกไปทามุมกับระนาบ แนวนอน
  • 9. 4.คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารแบ่งได้กี่ชนิด 2ชนิด คือ คลืนดินและคลื่นฟ้า ่ 5. องค์ประกอบของคลื่นแบ่งได้กี่ประเภท 4 คือ คลื่นผิวดิน คลืนตรง คลื่นสะท้อนดิน และคลืนหักเหโทรโปส ่ ่ เฟียร์
  • 10. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0% B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0% B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B8  http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/machanical/com mu/tepe.html