SlideShare a Scribd company logo
 
 
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัย  เรื่องความพึงพอใจของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อหน่วยวิทยบริการคณะ
สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม นี้เพื่อศึกษาแผนการ
ใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ สภาพการใช้อาคารและสถานที่และ เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอาราม
หลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม จึงแบ่งหัวข้อในบทนี้ออกเป็น 4 หัวข้อ ได้แก่ ๑) ข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ๒) แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ๓)
สภาพการใช้อาคารและสถานที่ และ ๔) ความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิต
นักศึกษาหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
๔.๑. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของกลุ่มประชากร
ตารางที่ ๔.๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามในภาพรวม
ข้อมูลทั่วไป จํานวน เปอร์เซ็นต์
๑ สถานภาพ
บรรพชิต 192 76.8
คฤหัสถ์ 58 23.2
๒ เพศ
ชาย 201 80.4
หญิง 49 19.6
๓ ชั้นปี
ชั้นปีที่ ๑ 112 44.8
ชั้นปีที่ ๒ 65 26.0
ชั้นปีที่ ๓ 73 29.2
๔ สาขาวิชาที่สังกัด
การจัดการเชิงพุทธ 116 46.4
รัฐประศาสนศาสตร์ 104 41.6
หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) 30 12.0
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๕
 
 
จากตาราง ๔.๑ ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นบรรพชิต ๑๙๒ รูปคิดเป็นร้อยละ ๗๖.๘๐ เป็น
คฤหัสถ์ ๕๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๒ เป็นเพศชาย ๒๐๑ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๔ เป็น
เพศหญิง ๔๙ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 19.6 กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๑ มีจํานวน ๑๑๒ รายคิด
เป็นร้อยละ ๔๔.๘ กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๒ มีจํานวน ๖๕ รายคิดเป็นร้อยละ ๒๖.๐๐
กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๓ มีจํานวน ๗๓ รายคิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒ ผู้ตอบแบบสอบถาม
สังกัดสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ๑๑๖ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๖.๔ สังกัดสาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์ ๑๐๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๖ สังกัดสาขาวิชารัฐหลักสูตรประกาศนียบัตร
(ป.บส.) ๓๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๒
๔.๒. แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระ
อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
ตาราง ๔.๒ แผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ ในภาพรวมในหน่วยวิทยบริการ มจร.
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
อาคารสถานที่ N
แผนการใช้ประโยชน์
Mean S.D.
๑ ผังบริเวณสถานศึกษา 250 2.64 .559
๒ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา 250 2.70 .507
๓ อาคารเรียน 250 2.78 .450
๔ ห้องเรียน 250 2.77 .468
๕ สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน 250 2.55 .608
๖ ห้องประชุมและห้องสัมมนา 250 2.53 .602
๗ ห้องสมุด 250 2.55 .608
๘ ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ 250 2.45 .608
๙ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา 250 2.41 .702
๑๐ ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน 250 2.22 .721
๑๑ ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา 250 2.28 .666
๑๒ ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล 250 2.22 .698
๑๓ โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม 250 2.39 .619
๑๔ ห้องนํ้าห้องส้วม 250 2.58 .598
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๖
 
 
ตาราง ๔.๒ แผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ ในภาพรวมในหน่วยวิทยบริการ มจร.
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ)
อาคารสถานที่ N
แผนการใช้ประโยชน์
Mean S.D.
๑๕ สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว 250 2.52 .690
๑๖ ที่จอดรถ 250 2.57 .571
๑๗ อื่นๆ (ระบุ)…….. 250 2.56 .600
ค่าเฉลี่ย Mean 250 2.51 .603
หมายเหตุ : ๑.๐๐ – ๑.๖๖ = ระดับน้อย ๑. ๖๗ – ๒.๓๓ = ระดับปานกลาง ๒.๓๔ -๓.๐๐ = ระดับมาก
จากตาราง ๔.๒ พบว่าแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่อยู่ในระดับสูง (  =
๒.๕๑)
หากพิจารณาถึงรายละเอียดปัจจัยแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่สูงมากในด้าน
อาคารสถานที่ได้แก่ อาคารเรียน, ห้อง เรียน และ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา ( = ๒.๗๘ ,
 = ๒.๗๗, และ = ๒.๗๐ )ตามลําดับ ปัจจัยสูงมากรองลงมาได้แก่ ผังบริเวณสถานศึกษา,
ห้องนํ้าห้องส้วม, ที่จอดรถ, ปัจจัยอื่นๆ และ สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน
การเงิน ( = ๒.๖๔,  = ๒.๕๘,  = ๒.๕๗,  = ๒.๕๖, = ๒.๕๕) ตามลําดับ แผนการ
ใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ลดหลั่นลงมาได้แก่ ห้องสมุด, ห้องประชุมและห้องสัมมนา,
สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว, ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ, ห้องกิจกรรมหรือ
บริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา, และ โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม ( =
๒.๕๕,  = ๒.๕๓,  = ๒.๕๒,  = ๒.๔๕,  = ๒.๔๑,  = ๒.๓๙) ตามลําดับ แต่เป็นที่
น่าแปลกใจที่มี ๓ ปัจจัยแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ระดับน้อยได้แก่ห้องแนะแนว/
ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา, ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน และห้องพยาบาล/จุด
ให้บริการด้านการพยาบาล ( = ๒.๒๘,  = ๒.๒๒,  = ๒.๒๒)ตามลําดับ.
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๗
 
 
๔.๓. สภาพการใช้งานจริงด้านอาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระ
อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
ตาราง ๔.๓ สภาพการใช้อาคารสถานที่จริงในภาพรวมในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง
พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม 
อาคารสถานที่ N
สภาพการใช้งานจริง
Mean S.D.
๑ ผังบริเวณสถานศึกษา 250 2.42 .569
๒ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา 250 2.68 .507
๓ อาคารเรียน 250 2.70 .501
๔ ห้องเรียน 250 2.66 .498
๕ สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน 250 2.56 .536
๖ ห้องประชุมและห้องสัมมนา 250 2.54 .608
๗ ห้องสมุด 250 2.52 .603
๘ ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ 250 2.30 .703
๙ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา 250 2.40 .652
๑๐ ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน 250 2.27 .710
๑๑ ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา 250 2.28 .682
๑๒ ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล 250 2.19 .768
๑๓ โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม 250 2.30 .678
๑๔ ห้องนํ้าห้องส้วม 250 2.48 .666
๑๕ สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว 250 2.47 .718
๑๖ ที่จอดรถ 250 2.54 .634
๑๗ อื่นๆ (ระบุ)…….. 250 2.50 .654
ค่าเฉลี่ย Mean 250 2.46 .629
จากตาราง ๔.๓ พบว่าสภาพการใช้งานอาคารสถานที่จริงนั้นก็อยู่ในระดับสูง ( 
= ๒.๔๖)
เมื่อพิจารณาถึงรายละเอียดสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่ ในระดับสูงมาก
ได้แก่อาคารเรียน, สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา, ห้องเรียน และสํานักงานให้บริการนักศึกษา
เช่น สํานักทะเบียน การเงิน ( = ๒.๗๐,  = ๒.๖๘,  = ๒.๖๖ และ  = ๒.๕๖) ตามลําดับ
ตามด้วย ห้องประชุมและห้องสัมมนา, ที่จอดรถ, ห้องสมุด, ปัจจัยอื่นๆ, ห้องนํ้าห้องส้วม,
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๘
 
 
สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว, ผังบริเวณสถานศึกษา และ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณ
สําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา ( = ๒.๕๔,  = ๒.๕๔,  = ๒.๕๒,  = ๒.๕๐,
 = ๒.๔๘,  = ๒.๔๗,  = ๒.๔๒,  = ๒.๔๐) ตามลําดับ สภาพการใช้งานจริงกับอาคาร
สถานที่ ในระดับกลางได้แก่ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ, โรงอาหาร/จุดบริการอาหาร
เครื่องดื่ม, ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา, ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผล
งาน และ ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล ( = ๒.๓๐,  = ๒.๓๐,  = ๒.๒๘,
 = ๒.๒๗, และ = ๒.๑๙) ตามลําดับ
๔.๔ ความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ มจร. วัด
ไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย
บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม 
ลําดับ รายละเอียด N
ระดับความพึง
พอใจ
Mean S.D.
ก. อาคารเรียน
๑ การจัดทําแผนผังอาคาร 250 3.80 .826
๒ การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร 250 3.94 .829
๓ การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคารเรียน 250 3.84 .806
๔ ความสะดวกในการใช้ประโยชน์ 250 3.78 .838
๕ ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา 250 3.72 .918
ค่าเฉลี่ย Mean อาคารเรียน 3.82 .843
ข. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ
ต่างๆ
๖ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.98 .789
๗ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง 250 3.88 .817
๘ ห้องเรียนมีจํานวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา 250 3.92 .870
๙ โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่างเป็นระเบียบ 250 3.96 .808
๑๐ ห้องเรียนมีตารางการใช้อย่างชัดเจน 250 3.80 .845
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๙
 
 
ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย
บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม (ต่อ) 
ลําดับ รายละเอียด N
ระดับความพึง
พอใจ
Mean S.D.
๑๑ บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 250 3.72 .832
๑๒ สื่ออุปกรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอน 250 3.82 .860
๑๓ การจัดโต๊ะหมู่บูชาเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม 250 3.98 .909
ค่าเฉลี่ย Meanห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และ
ห้องบริการต่างๆ 3.88 .841
ค. บริเวณสถานศึกษา
๑๔ การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา 250 3.80 .887
๑๕ สถานที่พักผ่อน 250 3.65 .871
๑๖ พื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ 250 3.62 .992
๑๗ เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา 250 3.50 .983
๑๘ การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามให้ร่มรื่น 250 3.70 1.039
๑๙ การปรับปรุงภูมิทัศน์ 250 3.93 .884
ค่าเฉลี่ย Mean บริเวณสถานศึกษา 3.70 .943
ง. ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ
๒๐ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.90 .868
๒๑ ความสะดวกในการค้นหาหนังสือและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด 250 3.66 .818
๒๒ ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด 250 3.79 .779
๒๓ ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด 250 3.68 .919
๒๔ จํานวนหนังสือและเอกสารในห้องสมุด 250 3.58 .942
๒๕ การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ภายในสํานักหอสมุด 250 3.58 .833
๒๖ ห้องสมุดมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย 250 3.71 .925
๒๗ มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา 250 3.72 .911
๒๘ ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร์ 250 3.44 .965
๒๙ ความรวดเร็วของระบบอินเทอร์เน็ต 250 3.53 1.026
๓๐ ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ 250 3.58 1.023
ค่าเฉลี่ย Meanห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ 3.65 .911
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๐
 
 
ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย
บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม (ต่อ) 
ลําดับ รายละเอียด N
ระดับความพึง
พอใจ
Mean S.D.
จ. โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร
๓๑ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.60 .965
๓๒ การจัดวัสดุ อุปกรณ์ และการรักษาความสะอาด 250 3.55 .998
๓๓ การจัดโต๊ะ เก้าอี้ภายในโรงอาหาร 250 3.55 .978
ค่าเฉลี่ย Meanโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร 3.57 .980
ฉ. ห้องประชุมและห้องสัมมนา
๓๔ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.81 .869
๓๕ ห้องประชุมและห้องสัมมนามีจํานวนเพียงพอต่อการใช้งาน และ
สามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 250 3.65 .951
๓๖ ความพร้อมของห้องประชุมและห้องสัมมนา 250 3.73 .858
๓๗ ห้องประชุมและห้องสัมมนามีความสะอาดเป็นระเบียบ 250 3.68 .869
๓๘ ๓๘. สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความทันสมัย และ
มีจํานวน เพียงพอต่อการใช้งาน 250 3.61 .886
๓๙ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ 250 3.58 .911
๔๐ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้องประชุม 250 3.60 .887
ค่าเฉลี่ย Meanห้องประชุมและห้องสัมมนา 3.67 .890
ช. ห้องกิจกรรม
๔๑ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.67 .968
๔๒ การจัดวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และสิ่งอํานวยความสะดวก 250 3.61 .973
๔๓ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และการใช้บริการ 250 3.61 .926
๔๔ การจัดบรรยากาศภายในห้องที่เอื้อต่อการใช้บริการ 250 3.64 .951
๔๕ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง 250 3.78 .967
ค่าเฉลี่ย Meanห้องกิจกรรม 3.66 .957
ซ. การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วย
วิทยบริการ
๔๖ การดูแลรักษาห้องนํ้า ห้องส้วมให้สะอาด 250 3.87 .907
๔๗ การจัดที่นั่งให้นักศึกษาพักผ่อนในเวลาว่าง 250 3.63 1.030
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๑
 
 
ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย
บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม (ต่อ) 
ลําดับ รายละเอียด N
ระดับความพึง
พอใจ
Mean S.D.
๔๘ การมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ 250 3.48 1.023
๔๙ ระบบระบายนํ้าตามแนวถนน 250 3.50 .979
๕๐ การจัดการไฟฟ้าภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม 250 3.84 .863
๕๑ การจัดนํ้าเพื่อบริโภคในสถานศึกษา 250 3.80 .962
๕๒ การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบ
โทรศัพท์บอร์ดประชาสัมพันธ์ 250 3.76 1.013
ค่าเฉลี่ย Meanการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภค
ของหน่วยวิทยบริการ 3.70 .968
ฐ. การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ
๕๓
มีระบบป้ องกันเพลิงไหม้และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ อย่าง
เพียงพอ 250 3.57 .976
๕๔ การให้บริการของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 250 3.35 1.066
๕๕ ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในหน่วยวิทยบริการสร้าง
ความมั่นใจ ในความปลอดภัยให้แก่นักศึกษา 250 3.42 1.081
ค่าเฉลี่ย Meanการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ 3.45 1.041
ค่าเฉลี่ย ๔.๕๑ – ๕.๐๐  = ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐  = ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
จากตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วย
วิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ใน
ภาพรวมทุกปัจจัยอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่มีอันดับสูงสุดไปหาอันดับท้ายสุด อันได้แก่
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ ( = ๓.๘๘, S.D. = .
๘๔๑), ตามด้วย อาคารเรียน ( = ๓.๘๒, S.D. = .๘๔๓ ), บริเวณสถานศึกษา ( =
๓.๗๐, S.D. = .๙๔๓), การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ
( = ๓.๗๐, S.D. = .๙๖๘), ห้องประชุมและห้องสัมมนา ( = ๓.๖๗, S.D. = .
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๒
 
 
๘๙๐), ห้องกิจกรรม ( = ๓.๖๖, S.D. = .๙๕๗), ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์
คอมพิวเตอร์บริการ ( = ๓.๖๕, S.D. = .๙๑๑),โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร
( = ๓.๕๗, S.D. = .๙๘๐), และ ฐ). การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ
( = ๓.๔๕, S.D. = ๑.๐๔๑). เห็นได้ว่านักศึกษาพอใจมากอันดับหนึ่งกับห้องปฏิบัติการ
ห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ ส่วนที่นักศึกษาพอใจมากอันดับท้ายสุดคือการรักษา
ความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ (ดูภาพ ๑)
3.2
3.3
3.4
3.5
3.6
3.7
3.8
3.9 A/a1‐a5: 
B/b6‐b13: 
C/c14‐c19: 
D/d20‐d30: 
E/e31‐e33: 
F/f34‐f40: 
G/g41‐g45: 
H/h46‐h52: 
I/i53‐i55: 
 
ภาพที่ ๔.๑ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาในแต่ละด้าน
A/a1-a5: ค่าเฉลี่ย Mean ด้านอาคารเรียนพร้อม ๕ ปัจจัย ก.๑ –ก.๕
B/b6-b13: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆพร้อม ๘ ปัจจัย ข.๖ –ข.๑๓
C/c14-c19: ค่าเฉลี่ย Mean ด้านบริเวณสถานศึกษาพร้อม ๖ ปัจจัย ค.๑๔ – ค.๑๙
D/d20-d30: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการพร้อม ๑๑ ปัจจัย ง.๒๐ – ง.๓๐
E/e31-e33: ค่าเฉลี่ย Meanด้านโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหารพร้อม ๓ ปัจจัย จ.๓๑ – จ.๓๓
F/f34-f40: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องประชุมและห้องสัมมนาพร้อม ๗ ปัจจัย ฉ.๓๔ – ฉ.๔๐
G/g41-g45: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องกิจกรรมพร้อม ๕ปัจจัย ช.๔๑ – ช.๔๕
H/h46-h52: ค่าเฉลี่ย Meanด้านการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการพร้อม ๗ ปัจจัย ซ.๔๖ – ซ.
๕๒
I/i53-56: ค่าเฉลี่ย Meanด้านการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการพร้อม ๓ ปัจจัย ฐ.๕๓ – ฐ.๕๕
ก. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ อาคารเรียน
เมื่อพิจารณาด้านอาคารเรียน โดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก ( =
๓.๘๒, S.D. = .๘๔๓), หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านอาคารเรียนที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับ
ปานกลางได้แก่การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร และ การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคาร
เรียน ( = ๓.๙๔, S.D.=.๘๒๙ ;  = ๓.๘๔, S.D.= .๘๐๖) นักศึกษามีความพึงพอใจมาก
ระดับต้นได้แก่การจัดทําแผนผังอาคาร, ความสะดวกในการใช้ประโยชน์ และอันดับท้ายสุด
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๓
 
 
ได้แก่ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา  = ๓.๘๐, S.D.= ๘๒๖ ; = ๓.๗๘, S.D.= ๘๓๘
และ  = ๓.๗๒, S.D.=๙๑๘) ตามลําดับ 
 
ข. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์
และห้องบริการต่างๆ 
เมื่อพิจารณาด้าน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ
ต่างๆ โดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๘๘, S.D. =. ๘๔๑ ) หากพิจารณาแต่
ละปัจจัยด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆที่นักศึกษาพึง
พอใจมากในระดับปานกลางได้แก่มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี, มีการจัดโต๊ะหมู่
บูชาเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม, โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่างเป็นระเบียบ, ห้องเรียน
มีจํานวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา, และ มีการรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษา
ห้อง( = ๓.๙๘, S.D. =. ๗๘๙ ;  = ๓.๙๘, S.D. =. ๙๐๙;  = ๓.๙๖, S.D. =. ๘๐๘ ;  =
๓.๙๒, S.D. =. ๘๗๐ และ  = ๓.๘๘, S.D. =. ๘๑๗) ตามลําดับ ส่วนปัจจัยด้านห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆที่นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับต้น
ได้แก่มีสื่ออุปกรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอน, ห้องเรียนมีตารางการใช้อย่างชัดเจน, และ มี
บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ (  =๓.๘๒, S.D. =. ๘๖๐;  =๓.๘๐, S.D. =.
๘๔๕ และ = ๓.๗๒, S.D. =.๘๓๒) ตามลําดับ 
 
ค. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ บริเวณสถานศึกษา 
เมื่อพิจารณาด้าน บริเวณสถานศึกษาโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก
( = ๓.๗๐, S.D. =. ๙๔๓ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านบริเวณสถานศึกษาที่นักศึกษา
พึงพอใจมากในระดับปานกลางได้แก่ปรับปรุงภูมิทัศน์การ( = ๓.๙๓, S.D. = .๘๘๔)
นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับต้นได้แก่การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา, การบํารุงรักษา
พื้นที่และบริเวณสวนและสนามให้ร่มรื่น, สถานที่พักผ่อน, พื้นที่จอดรถยนต์และ
รถจักรยานยนต์ และ เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา ( = 3.80, S.D.
=.887; = 3.70, S.D. = 1.039; = 3.65, S.D. =.871; = 3.62, S.D. =.992; และ  = 3.50,
S.D. =.983) 
 
 
 
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๔
 
 
ง. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์
บริการ 
เมื่อพิจารณาด้าน ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการโดยรวม
นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๖๕, S.D. = . ๙๑๑ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้าน
ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับปานกลาง
ได้แก่ การจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี ( = ๓.๙๐, S.D. =.๘๖๘) ปัจจัยด้าน
ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับต้น มีถึง ๙
ปัจจัยได้แก่ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด, มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิต
นักศึกษา, ห้องสมุดมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย, ความทันสมัยของหนังสือและ
เอกสารในห้องสมุด, ความสะดวกในการค้นหาหนังสือและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด, จํานวน
หนังสือและเอกสารในห้องสมุด, การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ภายใน
สํานักหอสมุด, ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ และ ความรวดเร็วของระบบอินเทอร์เน็ต
( = ๓.๗๙, S.D. =.๗๗๙; = ๓.๗๒, S.D. =.๙๑๑; = ๓.๗๑, S.D. =.๙๒๕; = ๓.๖๘,
S.D. =.๙๑๙; = ๓.๖๖, S.D. =.๘๑๘; = ๓.๕๘, S.D. =.๙๔๒; = ๓.๕๘, S.D. =.
๘๓๓; = ๓.๕๘, S.D. = ๑.๐๒๓ และ  = ๓.๕๓, S.D. = ๑.๐๒๖ ) ตามลําดับ และปัจจัย
ด้านห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการที่นักศึกษาพึงพอใจปานกลางมี ๑ ปัจจัย
ได้แก่ ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร์ ( = ๓.๔๔, S.D. =.๙๖๕)
จ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร 
เมื่อพิจารณาด้าน โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหารโดยรวม นักศึกษา
มีความพึงพอใจมาก( = ๓.๕๗, S.D. = . ๙๘๐ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านโรงอาหาร
หรือสถานที่รับประทานอาหารที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นทั้ง ๓ ปัจจัยได้แก่ มีแสงสว่าง
เพียงพอและระบายอากาศที่ดี, การจัดวัสดุ อุปกรณ์ และการรักษาความสะอาด และ การจัดโต๊ะ
เก้าอี้ภายในโรงอาหาร ( = ๓.๖๐, S.D. = .๙๖๕;  = ๓.๕๕, S.D. = .๙๙๘; และ  = ๓.๕๕,
S.D. =.๙๗๘) 
 
 
 
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๕
 
 
ฉ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องประชุมและห้องสัมมนา 
เมื่อพิจารณาด้าน ห้องประชุมและห้องสัมมนาโดยรวม นักศึกษามีความพึง
พอใจมาก( = ๓.๖๗, S.D. = . ๘๙๐ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านห้องประชุมและ
ห้องสัมมนาที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นทั้ง ๗ ปัจจัยได้แก่ มีแสงสว่างเพียงพอและ
ระบายอากาศที่ดี, ความพร้อมของห้องประชุมและห้องสัมมนา, ห้องประชุมและห้องสัมมนามี
ความสะอาดเป็นระเบียบ, ห้องประชุมและห้องสัมมนามีจํานวนเพียงพอต่อการใช้งาน และ
สามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม, สิ่งอํานวยความสะดวกมี
ประสิทธิภาพมีความทันสมัย และมีจํานวน เพียงพอต่อการใช้งาน, การรักษาความสะอาดและ
การบํารุงรักษาห้องประชุม และ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ( = ๓.๘๑, S.D. = .
๘๖๙;  = ๓.๗๓, S.D. = .๘๕๘;  = ๓.๖๘, S.D. = .๘๖๙;  = ๓.๖๕, S.D. = .๙๕๑;  =
๓.๖๑, S.D. = .๘๘๖;  = ๓.๖๐, S.D. = .๘๘๗ และ  = ๓.๕๘, S.D. = .๙๑๑) 
 
ช. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องกิจกรรม 
เมื่อพิจารณาด้าน ห้องกิจกรรมโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก(
= ๓.๖๖, S.D. = . ๙๕๗ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านห้องกิจกรรมที่นักศึกษาพึงพอใจมาก
ระดับต้นทั้ง ๕ ปัจจัยได้แก่ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง, มีแสงสว่าง
เพียงพอและระบายอากาศที่ดี, การจัดบรรยากาศภายในห้องที่เอื้อต่อการใช้บริการ, การจัดวัสดุ
อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสิ่งอํานวยความสะดวก และ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และการ
ใช้บริการ ( = ๓.๗๘, S.D. =.๙๖๗;  = ๓.๖๗, S.D. =.๙๖๘;  = ๓.๖๔, S.D. =.๙๕๑;
 = ๓.๖๑, S.D. =.๙๗๓ และ  = ๓.๖๑, S.D. =.๙๒๖) 
ซ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ การจัดสภาพแวดล้อมและระบบ
สาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ 
เมื่อพิจารณาด้าน การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วย
วิทยบริการโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๗๐, S.D. = . ๙๖๘ ) หาก
พิจารณาแต่ละปัจจัยด้านการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ
ที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับปานกลาง ๒ ปัจจัยได้แก่ การดูแลรักษาห้องนํ้า ห้องส้วมให้
สะอาด และ การจัดการไฟฟ้าภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม ( = ๓.๘๗, S.D. =
.๙๐๗; และ  = ๓.๘๔, S.D. = .๘๖๓)ตามลําดับ ปัจจัยด้านการจัดสภาพแวดล้อมและระบบ
สาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นมี ๔ ปัจจัยได้แก่ การจัด
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๖
 
 
นํ้าเพื่อบริโภคในสถานศึกษา, การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบ
โทรศัพท์บอร์ดประชาสัมพันธ์, การจัดที่นั่งให้นักศึกษาพักผ่อนในเวลาว่าง, และ ระบบระบาย
นํ้าตามแนวถนน ( = ๓.๘๐, S.D. = .๙๖๒;  = ๓.๗๖, S.D. = ๑.๐๑๓;  = ๓.๖๓, S.D. =
๑.๐๓๐ และ  = ๓.๕๐, S.D. = .๙๗๙)ตามลําดับ แต่ปัจจัยด้านการจัดสภาพแวดล้อมและ
ระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจปานกลางมี ๑ ปัจจัยได้แก่การมี
ถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ ( = ๓.๔๘, S.D. = ๑.๐๒๓)เท่านั้น 
 
ฐ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทย
บริการ
เมื่อพิจารณาด้าน การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการโดยรวม
นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๔๕, S.D. = ๑. ๐๘๑ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้าน
การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นมี ๑ ปัจจัย
ได้แก่มีระบบป้ องกันเพลิงไหม้และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ อย่างเพียงพอ ( = ๓.๕๗, S.D. =
.๙๗๖) แต่มีปัจจัยด้านการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจมาก
ระดับ ปานกลาง อยู่ ๒ ปัจจัยได้แก่ การให้บริการของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย และ
ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในหน่วยวิทยบริการสร้างความมั่นใจ ในความปลอดภัย
ให้แก่นักศึกษา ( = ๓.๓๕, S.D. = ๑.๐๖๖ และ  = ๓.๔๒, S.D. = ๑.๐๘๑)
๔.๕. การทดสอบสมมติฐาน
๔.๕.๑. แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่
ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต
และ คฤหัสถ์) กับ แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง
พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ด้านปัจจัย ผังบริเวณสถานศึกษา (Sig.๐๐๐),
อาคารเรียน (Sig.๐๐๑), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล (Sig.๐๐๓) และห้องแนะ
แนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig.๐๓๓) ส่วนอีก ๑๓ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมี
นัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต และ คฤหัสถ์) กับ แผนการใช้ประโยชน์อาคารและ
สถานที่ (ดูเอกสารแนบท้าย)
จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ กับ แผนการใช้ประโยชน์
อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๗
 
 
นครปฐม ด้านปัจจัยอาคารเรียน (Sig.๐๐๐), ห้องนํ้าห้องส้วม (Sig.๐๐๐), อื่นๆ (ระบุ)…
(Sig.๐๐๐), สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา (Sig.๐๐๒), ห้องเรียน (Sig.๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุด
ให้บริการด้านการพยาบาล (Sig.๐๑๔), และห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig.๐๒๓)
ส่วนอีก ๑๐ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ กับ แผนการใช้ประโยชน์
อาคารและสถานที่ (ดูเอกสารแนบท้าย)
ตาราง ๔.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปีกับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ใน
หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p1Ex ระหว่างกลุ่ม 4.908 2 2.454 8.307 .000
ภายในกลุ่ม 72.968 247 .295
รวม 77.876 249
p2Ex ระหว่างกลุ่ม .515 2 .257 1.000 .369
ภายในกลุ่ม 63.581 247 .257
รวม 64.096 249
p3Ex ระหว่างกลุ่ม .700 2 .350 1.742 .177
ภายในกลุ่ม 49.636 247 .201
รวม 50.336 249
p4Ex ระหว่างกลุ่ม .614 2 .307 1.407 .247
ภายในกลุ่ม 53.930 247 .218
รวม 54.544 249
p5Ex ระหว่างกลุ่ม 1.346 2 .673 1.835 .162
ภายในกลุ่ม 90.578 247 .367
รวม 91.924 249
p6Ex ระหว่างกลุ่ม .855 2 .427 1.180 .309
ภายในกลุ่ม 89.449 247 .362
รวม 90.304 249
p7Ex ระหว่างกลุ่ม 1.274 2 .637 1.735 .179
ภายในกลุ่ม 90.650 247 .367
รวม 91.924 249
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๘
 
 
ตาราง ๔.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปีกับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ใน
หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
(ต่อ)
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p8Ex ระหว่างกลุ่ม .713 2 .356 .965 .382
ภายในกลุ่ม 91.211 247 .369
รวม 91.924 249
p9Ex ระหว่างกลุ่ม 3.396 2 1.698 3.519 .031
ภายในกลุ่ม 119.168 247 .482
รวม 122.564 249
p10Ex ระหว่างกลุ่ม .145 2 .073 .139 .870
ภายในกลุ่ม 129.311 247 .524
รวม 129.456 249
p11Ex ระหว่างกลุ่ม 8.374 2 4.187 10.137 .000
ภายในกลุ่ม 102.026 247 .413
รวม 110.400 249
p12Ex ระหว่างกลุ่ม 6.769 2 3.384 7.289 .001
ภายในกลุ่ม 114.687 247 .464
รวม 121.456 249
p13Ex ระหว่างกลุ่ม .174 2 .087 .226 .798
ภายในกลุ่ม 95.190 247 .385
รวม 95.364 249
p14Ex ระหว่างกลุ่ม 3.878 2 1.939 5.633 .004
ภายในกลุ่ม 85.022 247 .344
รวม 88.900 249
p15Ex ระหว่างกลุ่ม 4.378 2 2.189 4.742 .010
ภายในกลุ่ม 114.022 247 .462
รวม 118.400 249
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๙
 
 
ตาราง ๔.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปีกับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ใน
หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
(ต่อ)
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p16Ex ระหว่างกลุ่ม 3.066 2 1.533 4.847 .009
ภายในกลุ่ม 78.138 247 .316
รวม 81.204 249
p17Ex ระหว่างกลุ่ม 2.622 2 1.311 3.718 .026
ภายในกลุ่ม 87.094 247 .353
รวม 89.716 249
จาก ตาราง ๔. ๕ พบว่า มี ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างชั้นปี แผนการใช้
ประโยชน์อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สาม
พราน จ. นครปฐมถึง๘ ปัจจัย ได้แก่ ผังบริเวณสถานศึกษา (Sig =  .๐๐๐) ,ห้องแนะแนว/ศูนย์
ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig = .๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล (Sig = .๐๐๑),
ห้องนํ้าห้องส้วม (Sig = .๐๐๔), ที่จอดรถ (Sig = .๐๐๙), สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว
(Sig =  .๐๑๐), อื่นๆ (Sig =  .๐๑๖) และ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิต
นักศึกษา (Sig = .๐๓๑).ส่วนอีก ๙ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างชั้นปี กับ
แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่
ตาราง ๔.๖ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและ
สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df Mean Square F Sig.
p1Ex ระหว่างกลุ่ม 7.590 2 3.795 13.337 .000
ภายในกลุ่ม 70.286 247 .285
รวม 77.876 249
p3Ex ระหว่างกลุ่ม 1.596 2 .798 4.043 .019
ภายในกลุ่ม 48.740 247 .197
รวม 50.336 249
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๐
 
 
ตาราง ๔.๖ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและ
สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม (ต่อ)
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df Mean Square F Sig.
p4Ex ระหว่างกลุ่ม 1.841 2 .921 4.314 .014
ภายในกลุ่ม 52.703 247 .213
รวม 54.544 249
p5Ex ระหว่างกลุ่ม 7.199 2 3.599 10.493 .000
ภายในกลุ่ม 84.725 247 .343
รวม 91.924 249
p6Ex ระหว่างกลุ่ม 8.299 2 4.150 12.498 .000
ภายในกลุ่ม 82.005 247 .332
รวม 90.304 249
p7Ex ระหว่างกลุ่ม 5.391 2 2.696 7.694 .001
ภายในกลุ่ม 86.533 247 .350
รวม 91.924 249
p8Ex ระหว่างกลุ่ม 7.650 2 3.825 11.210 .000
ภายในกลุ่ม 84.274 247 .341
รวม 91.924 249
p9Ex ระหว่างกลุ่ม 10.296 2 5.148 11.326 .000
ภายในกลุ่ม 112.268 247 .455
รวม 122.564 249
p10Ex ระหว่างกลุ่ม 15.632 2 7.816 16.961 .000
ภายในกลุ่ม 113.824 247 .461
รวม 129.456 249
p11Ex ระหว่างกลุ่ม 13.203 2 6.602 16.776 .000
ภายในกลุ่ม 97.197 247 .394
รวม 110.400 249
p12Ex ระหว่างกลุ่ม 15.498 2 7.749 18.064 .000
ภายในกลุ่ม 105.958 247 .429
รวม 121.456 249
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๑
 
 
ตาราง ๔.๖ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและ
สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม (ต่อ)
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df Mean Square F Sig.
p13Ex ระหว่างกลุ่ม 7.047 2 3.524 9.855 .000
ภายในกลุ่ม 88.317 247 .358
รวม 95.364 249
p14Ex ระหว่างกลุ่ม 5.969 2 2.984 8.888 .000
ภายในกลุ่ม 82.931 247 .336
รวม 88.900 249
p15Ex ระหว่างกลุ่ม 10.601 2 5.301 12.145 .000
ภายในกลุ่ม 107.799 247 .436
รวม 118.400 249
p16Ex ระหว่างกลุ่ม 2.339 2 1.170 3.663 .027
ภายในกลุ่ม 78.865 247 .319
รวม 81.204 249
p17Ex ระหว่างกลุ่ม 2.930 2 1.465 4.169 .017
ภายในกลุ่ม 86.786 247 .351
รวม 89.716 249
จากตาราง ๔.๖ พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ
แผนการใช้ประโยชน์ อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง
อ.สามพราน จ. นครปฐมทั้ง ๑๗ ปัจจัยได้แก่ ผังบริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๐๐),สํานักงาน
ให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน(Sig = .๐๐๐), ห้องประชุมและห้องสัมมนา(Sig
= .๐๐๐), ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ(Sig = .๐๐๐), ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับ
การทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา(Sig = .๐๐๐),ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน(Sig
= .๐๐๐), ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา(Sig = .๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้าน
การพยาบาล(Sig = .๐๐๐), โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม(Sig = .๐๐๐), ห้องนํ้าห้องส้วม
(Sig = .๐๐๐), สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว(Sig = .๐๐๐),ห้องสมุด(Sig = .๐๐๑),
สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๐๒), ห้องเรียน(Sig = .๐๑๔),อื่นๆ (ระบุ)…….. (Sig = .
๐๑๗), อาคารเรียน(Sig = .๐๑๙)
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๒
 
 
๔.๕.๒. สภาพการใช้งานจริงด้านอาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัด
ไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต
และ คฤหัสถ์) กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง
พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ในด้านปัจจัยสวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว
(Sig.๐๐๐), ที่จอดรถ(Sig.๐๐๐),ห้องสมุด(Sig.๐๐๑), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการ
พยาบาล(Sig.๐๐๔), สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน(Sig.๐๐๙),
ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน(Sig.๐๑๖), และ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณ
สําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา(Sig.๐๔๓) ส่วนอีก ๑๐ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่าง
มีนัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต และ คฤหัสถ์) กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและ
สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. (ดูเอกสารภาคผนวกแนบท้าย)
จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศกับ สภาพการใช้งานจริง
อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม ในด้านปัจจัยสํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน(Sig.๐๐๐),
ห้องสมุด(Sig.๐๐๐),สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว(Sig.๐๐๐), ที่จอดรถ(Sig.๐๐๐) และ
ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล(Sig.๐๐๖) ส่วนอีก ๑๒ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์
อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ
มจร. (ดูเอกสารภาคผนวกแนบท้าย)
ตาราง ๔.๗ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ใน
หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p1Ac ระหว่างกลุ่ม 1.774 2 .887 2.774 .064
ภายในกลุ่ม 78.962 247 .320
รวม 80.736 249
p2Ac ระหว่างกลุ่ม .835 2 .418 1.632 .198
ภายในกลุ่ม 63.201 247 .256
รวม 64.036 249
p3Ac ระหว่างกลุ่ม .450 2 .225 .895 .410
ภายในกลุ่ม 62.050 247 .251
รวม 62.500 249
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๓
 
 
ตาราง ๔.๗ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ใน
หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
(ต่อ)
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p4Ac ระหว่างกลุ่ม 1.168 2 .584 2.381 .095
ภายในกลุ่ม 60.608 247 .245
รวม 61.776 249
p5Ac ระหว่างกลุ่ม 1.830 2 .915 3.246 .041
ภายในกลุ่ม 69.646 247 .282
รวม 71.476 249
p6Ac ระหว่างกลุ่ม 3.362 2 1.681 4.679 .010
ภายในกลุ่ม 88.738 247 .359
รวม 92.100 249
p7Ac ระหว่างกลุ่ม 1.682 2 .841 2.341 .098
ภายในกลุ่ม 88.718 247 .359
รวม 90.400 249
p8Ac ระหว่างกลุ่ม .846 2 .423 .856 .426
ภายในกลุ่ม 122.050 247 .494
รวม 122.896 249
p9Ac ระหว่างกลุ่ม 3.206 2 1.603 3.852 .023
ภายในกลุ่ม 102.794 247 .416
รวม 106.000 249
p10Ac ระหว่างกลุ่ม .292 2 .146 .288 .750
ภายในกลุ่ม 125.212 247 .507
รวม 125.504 249
p11Ac ระหว่างกลุ่ม 4.341 2 2.171 4.803 .009
ภายในกลุ่ม 111.615 247 .452
รวม 115.956 249
p12Ac ระหว่างกลุ่ม 2.339 2 1.170 2.000 .138
ภายในกลุ่ม 144.445 247 .585
รวม 146.784 249
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๔
 
 
ตาราง ๔.๗ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ใน
หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
(ต่อ)
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p13Ac ระหว่างกลุ่ม .098 2 .049 .106 .899
ภายในกลุ่ม 114.402 247 .463
รวม 114.500 249
p14Ac ระหว่างกลุ่ม .599 2 .299 .673 .511
ภายในกลุ่ม 109.837 247 .445
รวม 110.436 249
p15Ac ระหว่างกลุ่ม .456 2 .228 .440 .644
ภายในกลุ่ม 127.788 247 .517
รวม 128.244 249
p16Ac ระหว่างกลุ่ม 1.371 2 .686 1.715 .182
ภายในกลุ่ม 98.729 247 .400
รวม 100.100 249
p17Ac ระหว่างกลุ่ม .361 2 .181 .420 .657
ภายในกลุ่ม 106.135 247 .430
รวม 106.496 249
จากตาราง ๔.๗ พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้
งานจริงอาคารและสถานทีในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน
จ. นครปฐมในถึง ๕ ปัจจัย ได้แก่ ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig =  .๐๐๙), ห้อง
ประชุมและห้องสัมมนา (Sig =  .๐๑๐), ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิต
นักศึกษา (Sig =  .๐๒๓), สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน (Sig =  .
๐๔๑), และ ผังบริเวณสถานศึกษา (Sig =  .๐๖๔) ส่วนอีก ๑๑ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมี
นัยสําคัญระหว่างชั้นปี กับสภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๕
 
 
ตาราง ๔.๘ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและ
สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p1Ac ระหว่างกลุ่ม 3.890 2 1.945 6.252 .002
ภายในกลุ่ม 76.846 247 .311
รวม 80.736 249
p2Ac ระหว่างกลุ่ม 1.612 2 .806 3.188 .043
ภายในกลุ่ม 62.424 247 .253
รวม 64.036 249
p3Ac ระหว่างกลุ่ม 3.107 2 1.553 6.460 .002
ภายในกลุ่ม 59.393 247 .240
รวม 62.500 249
p4Ac ระหว่างกลุ่ม .036 2 .018 .073 .930
ภายในกลุ่ม 61.740 247 .250
รวม 61.776 249
p5Ac ระหว่างกลุ่ม 5.911 2 2.955 11.133 .000
ภายในกลุ่ม 65.565 247 .265
รวม 71.476 249
p6Ac ระหว่างกลุ่ม 6.617 2 3.309 9.560 .000
ภายในกลุ่ม 85.483 247 .346
รวม 92.100 249
p7Ac ระหว่างกลุ่ม 10.048 2 5.024 15.443 .000
ภายในกลุ่ม 80.352 247 .325
รวม 90.400 249
p8Ac ระหว่างกลุ่ม 10.429 2 5.214 11.452 .000
ภายในกลุ่ม 112.467 247 .455
รวม 122.896 249
p9Ac ระหว่างกลุ่ม 7.713 2 3.857 9.692 .000
ภายในกลุ่ม 98.287 247 .398
รวม 106.000 249
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๖
 
 
ตาราง ๔.๘ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและ
สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
นครปฐม (ต่อ)
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
p10Ac ระหว่างกลุ่ม 13.826 2 6.913 15.290 .000
ภายในกลุ่ม 111.678 247 .452
รวม 125.504 249
p11Ac ระหว่างกลุ่ม 14.584 2 7.292 17.767 .000
ภายในกลุ่ม 101.372 247 .410
รวม 115.956 249
p12Ac ระหว่างกลุ่ม 16.516 2 8.258 15.658 .000
ภายในกลุ่ม 130.268 247 .527
รวม 146.784 249
p13Ac ระหว่างกลุ่ม 14.171 2 7.085 17.444 .000
ภายในกลุ่ม 100.329 247 .406
รวม 114.500 249
p14Ac ระหว่างกลุ่ม 7.767 2 3.884 9.343 .000
ภายในกลุ่ม 102.669 247 .416
รวม 110.436 249
p15Ac ระหว่างกลุ่ม 10.498 2 5.249 11.011 .000
ภายในกลุ่ม 117.746 247 .477
รวม 128.244 249
p16Ac ระหว่างกลุ่ม 1.828 2 .914 2.298 .103
ภายในกลุ่ม 98.272 247 .398
รวม 100.100 249
p17Ac ระหว่างกลุ่ม 2.449 2 1.225 2.907 .056
ภายในกลุ่ม 104.047 247 .421
รวม 106.496 249
จากตาราง ๔.๘ พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ
สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง
อ.สามพราน จ. นครปฐม ถึง ๑๔ ปัจจัยได้แก่สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน
การเงิน(Sig = .๐๐๐), ห้องประชุมและห้องสัมมนา(Sig = .๐๐๐), ห้องสมุด(Sig = .๐๐๐), ห้อง
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๗
 
 
ผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ(Sig = .๐๐๐), ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรม
นิสิตนักศึกษา(Sig = .๐๐๐),ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน(Sig = .๐๐๐), ห้อง
แนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา(Sig =  .๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล
(Sig =  .๐๐๐), โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม(Sig =  .๐๐๐), ห้องนํ้าห้องส้วม(Sig =  .
๐๐๐), สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว(Sig = .๐๐๐), ผังบริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๐๒),
อาคารเรียน(Sig = .๐๐๒), และ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๔๓)ส่วนอีก ๓ ปัจจัย
ไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับสภาพการใช้งานจริงอาคาร
และสถานที่ 
๔.๕.๓. ความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย
บริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
 
  T-test กับ สถานภาพ และ เพศ
เมื่อทดสอบ t-test เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สถานภาพ ของผู้ตอบ
แบบสอบถาม กับ ความความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วย
วิทยบริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
พบว่า สถานภาพ ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญกับ ๑๒ ปัจจัยจาก
ทั้งหมด ๕๕ ปัจจัย ซึ่งได้แก่ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้องตามห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ(Sig.๐๐๐), การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์
วัสดุ อุปกรณ์ ภายในสํานักหอสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (Sig.๐๐๐), มีแสง
สว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีตามห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้อง
บริการต่างๆ (Sig.๐๐๒), ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุดและห้องผลิต
สื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ(Sig.๐๑๓), ระบบระบายนํ้าตามแนวถนนในการจัดสภาพแวดล้อม
และระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ(Sig.๐๑๙), มีแสงสว่างเพียงพอและระบาย
อากาศที่ดีในโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร(Sig.๐๒๐), โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่าง
เป็นระเบียบในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ(Sig.๐๒๑),
ความสะดวกในการใช้ประโยชน์อาคารเรียน (Sig.๐๒๒), การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายใน
สถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ในการจัดสภาพแวดล้อมและระบบ
สาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ(Sig.๐๒๔),สถานที่พักผ่อนในบริเวณสถานศึกษา
(Sig.๐๓๕), พื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ในบริเวณสถานศึกษา(Sig.๐๓๙), และ
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๘
 
 
บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และ
ห้องบริการต่างๆ(Sig.๐๔๕). ส่วนอีก ๔๓ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่าง
สถานภาพ กับ ความความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย
บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
เมื่อทดสอบ t-test เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง เพศ ของผู้ตอบแบบสอบถาม กับ ความ
ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคม
ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม พบว่า เพศ ของผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญกับ ๑๐ ปัจจัยจากทั้งหมด ๕๕ ปัจจัย ซึ่งได้แก่
การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ในการ
จัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ(Sig. ๐๐๐), การรักษาความ
สะอาดและการบํารุงรักษาห้องในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ
ต่างๆ (Sig. ๐๐๑), ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์
คอมพิวเตอร์บริการ(Sig. ๐๐๖), มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีในห้องสมุดและห้อง
ผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (Sig. ๐๐๗), จํานวนหนังสือและเอกสารในห้องสมุดและห้อง
ผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (Sig. ๐๑๐), มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีในโรง
อาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร (Sig. ๐๑๓), ระบบระบายนํ้าตามแนวถนนในการจัด
สภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ (Sig. ๐๑๙), ห้องเรียนมีจํานวน
โต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษาในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้อง
บริการต่างๆ (Sig. ๐๒๓), มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีในห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ (Sig. ๐๓๔), สถานที่พักผ่อนในบริเวณ
สถานศึกษา (Sig. ๐๔๖) ส่วนอีก ๔๕ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ
กับ ความความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะ
สังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
เป็นที่น่าสังเกตว่า มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญตรงกันถึง ๗ ปัจจัยระหว่างสถาน
ภาพ และเพศของผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีใน
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ (ข้อ ๖), การรักษาความ
สะอาดและการบํารุงรักษาห้องในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ
ต่างๆ(ข้อ ๗), สถานที่พักผ่อนในบริเวณสถานศึกษา (ข้อ ๑๕), ความหลากหลายของหนังสือ
และเอกสารในห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (ข้อ ๒๒), มีแสงสว่าง
เพียงพอและระบายอากาศที่ดีในโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร (ข้อ ๓๑), ระบบ
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๙
 
 
ระบายนํ้าตามแนวถนนในการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทย
บริการ (ข้อ ๔๙), และ การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์
บอร์ดประชาสัมพันธ์ในการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ
(ข้อ ๕๒)
ชั้นปีของนักศึกษา
เมื่อใช้ F-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างชั้นปี กับ ความพึงพอใจต่อการใช้
อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระ
อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม สรุปได้ดังต่อไปนี้
ก. ความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับ อาคารเรียน
 
ตาราง ๔.๙ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับการใช้อาคาร
และสถานที่ในหน่วยวิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอาราม
หลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
a1 ระหว่างกลุ่ม 4.914 2 2.457 3.676 .027
ภายในกลุ่ม 165.086 247 .668
รวม 170.000 249
a2 ระหว่างกลุ่ม 7.851 2 3.926 5.944 .003
ภายในกลุ่ม 163.125 247 .660
รวม 170.976 249
a3 ระหว่างกลุ่ม 7.363 2 3.682 5.896 .003
ภายในกลุ่ม 154.237 247 .624
รวม 161.600 249
a4 ระหว่างกลุ่ม .460 2 .230 .326 .722
ภายในกลุ่ม 174.440 247 .706
รวม 174.900 249
a5 ระหว่างกลุ่ม 3.730 2 1.865 2.234 .109
ภายในกลุ่ม 206.226 247 .835
รวม 209.956 249
 
พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๗๐
 
 
จากตาราง ๔.๙ พบว่าความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างความพึงพอใจของ
นักศึกษาแต่ละชั้นปี กับการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ คณะ
สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม มีอยู่ ๓ปัจจัยได้แก่
การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร(Sig = .๐๐๓), การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคารเรียน (Sig
=  .๐๐๓) และการจัดทําแผนผังอาคาร (Sig =  .๐๒๗)  ยังพบอีกว่าไม่มีความสัมพันธ์อย่างมี
นัยสําคัญระหว่างความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับการใช้อาคารและสถานที่ในปัจจัย
ความสะดวกในการใช้ประโยชน์ หรือ ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา
 
ข. ความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้อง
คอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ 
 
ตาราง ๔.๑๐ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆในหน่วยวิทยบริการ
คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม  
รายการ
(items)
Sum of
Squares
df
Mean
Square
F Sig.
b6 ระหว่างกลุ่ม 2.199 2 1.100 1.779 .171
ภายในกลุ่ม 152.701 247 .618
รวม 154.900 249
b7 ระหว่างกลุ่ม 2.413 2 1.206 1.817 .165
ภายในกลุ่ม 163.987 247 .664
รวม 166.400 249
b8 ระหว่างกลุ่ม 10.890 2 5.445 7.577 .001
ภายในกลุ่ม 177.510 247 .719
รวม 188.400 249
b9 ระหว่างกลุ่ม 1.958 2 .979 1.506 .224
ภายในกลุ่ม 160.558 247 .650
รวม 162.516 249
b10 ระหว่างกลุ่ม 2.868 2 1.434 2.023 .135
ภายในกลุ่ม 175.132 247 .709
รวม 178.000 249
 
 
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่
4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่

More Related Content

Viewers also liked

Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Yota Bhikkhu
 
Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Yota Bhikkhu
 
8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)
8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)
8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)
Yota Bhikkhu
 
รหัสวิชา 407 313 ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์
รหัสวิชา 407 313  ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์รหัสวิชา 407 313  ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์
รหัสวิชา 407 313 ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์Yota Bhikkhu
 
ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา
ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนาประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา
ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000
พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000
พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000Yota Bhikkhu
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5Yota Bhikkhu
 
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯYota Bhikkhu
 
7. t test ตัวแปร status and gender
7. t test ตัวแปร status and gender7. t test ตัวแปร status and gender
7. t test ตัวแปร status and genderYota Bhikkhu
 
Course syllabus english for management
Course syllabus english for managementCourse syllabus english for management
Course syllabus english for managementYota Bhikkhu
 
การฟังอย่างตั้งใจ 4
การฟังอย่างตั้งใจ 4การฟังอย่างตั้งใจ 4
การฟังอย่างตั้งใจ 4Yota Bhikkhu
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
การฟัง 4
การฟัง 4การฟัง 4
การฟัง 4Yota Bhikkhu
 

Viewers also liked (15)

Advance english 2[1]
Advance english 2[1]Advance english 2[1]
Advance english 2[1]
 
Advance english 1[1]
Advance english 1[1]Advance english 1[1]
Advance english 1[1]
 
8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)
8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)
8. โครงงานวิจัยความพึงพอใจ มจร.ไร่ขิง (ตัวที่ขออนุมัติ)
 
รหัสวิชา 407 313 ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์
รหัสวิชา 407 313  ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์รหัสวิชา 407 313  ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์
รหัสวิชา 407 313 ภาษาอังกฤษสำหรับนักรัฐศาสตร์
 
ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา
ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนาประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา
ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา
 
พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000
พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000
พระวินัย แนวคิดเกี่ยวกับวินัย000
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
 
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
 
Globalisation 8
Globalisation 8Globalisation 8
Globalisation 8
 
7. t test ตัวแปร status and gender
7. t test ตัวแปร status and gender7. t test ตัวแปร status and gender
7. t test ตัวแปร status and gender
 
Course syllabus english for management
Course syllabus english for managementCourse syllabus english for management
Course syllabus english for management
 
Introduction 6
Introduction 6Introduction 6
Introduction 6
 
การฟังอย่างตั้งใจ 4
การฟังอย่างตั้งใจ 4การฟังอย่างตั้งใจ 4
การฟังอย่างตั้งใจ 4
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
การฟัง 4
การฟัง 4การฟัง 4
การฟัง 4
 

Similar to 4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่

5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะ
5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะ5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะ
5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะYota Bhikkhu
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
chaiwat vichianchai
 
โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์
โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์
โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์
WarongWonglangka
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Finalmeawznoy
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
ssuserd40879
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Praphaphun Kaewmuan
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำ1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำYota Bhikkhu
 
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดรายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดphattanakron
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Praphaphun Kaewmuan
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
ใบงานที่15
ใบงานที่15ใบงานที่15
ใบงานที่15Bai'mon Chankaew
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
koyrattanasri
 
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013Mnr Prn
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 

Similar to 4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่ (20)

5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะ
5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะ5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะ
5.บทที่.5 สรุปผล-อภิปรายผล-ข้อเสนอแนะ
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์
โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์
โรงเรียนอนุบาลสถาปัตย์
 
15
1515
15
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
20090827 Present Propasal Redesigning#5 Final
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
K15 (1)
K15 (1)K15 (1)
K15 (1)
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
15
1515
15
 
1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำ1.บทที่.1 บทนำ
1.บทที่.1 บทนำ
 
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุดรายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
รายงานประจำปี2554(เนื้อหา)ใหม่ล่าสุด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
ใบงานที่15
ใบงานที่15ใบงานที่15
ใบงานที่15
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 

4.บทที่ 4 ผลวิจัย-ตารางแผนการใช้ประโยชน์และสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่

  • 1.     บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัย  เรื่องความพึงพอใจของนิสิตนักศึกษาที่มีต่อหน่วยวิทยบริการคณะ สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม นี้เพื่อศึกษาแผนการ ใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ สภาพการใช้อาคารและสถานที่และ เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอาราม หลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม จึงแบ่งหัวข้อในบทนี้ออกเป็น 4 หัวข้อ ได้แก่ ๑) ข้อมูลทั่วไป เกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ๒) แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ๓) สภาพการใช้อาคารและสถานที่ และ ๔) ความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิต นักศึกษาหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ๔.๑. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของกลุ่มประชากร ตารางที่ ๔.๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามในภาพรวม ข้อมูลทั่วไป จํานวน เปอร์เซ็นต์ ๑ สถานภาพ บรรพชิต 192 76.8 คฤหัสถ์ 58 23.2 ๒ เพศ ชาย 201 80.4 หญิง 49 19.6 ๓ ชั้นปี ชั้นปีที่ ๑ 112 44.8 ชั้นปีที่ ๒ 65 26.0 ชั้นปีที่ ๓ 73 29.2 ๔ สาขาวิชาที่สังกัด การจัดการเชิงพุทธ 116 46.4 รัฐประศาสนศาสตร์ 104 41.6 หลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) 30 12.0
  • 2. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๕     จากตาราง ๔.๑ ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นบรรพชิต ๑๙๒ รูปคิดเป็นร้อยละ ๗๖.๘๐ เป็น คฤหัสถ์ ๕๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๒ เป็นเพศชาย ๒๐๑ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๔ เป็น เพศหญิง ๔๙ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ 19.6 กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๑ มีจํานวน ๑๑๒ รายคิด เป็นร้อยละ ๔๔.๘ กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๒ มีจํานวน ๖๕ รายคิดเป็นร้อยละ ๒๖.๐๐ กําลังศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ ๓ มีจํานวน ๗๓ รายคิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒ ผู้ตอบแบบสอบถาม สังกัดสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ๑๑๖ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๖.๔ สังกัดสาขาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ ๑๐๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๖ สังกัดสาขาวิชารัฐหลักสูตรประกาศนียบัตร (ป.บส.) ๓๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๒ ๔.๒. แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระ อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ตาราง ๔.๒ แผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ ในภาพรวมในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม อาคารสถานที่ N แผนการใช้ประโยชน์ Mean S.D. ๑ ผังบริเวณสถานศึกษา 250 2.64 .559 ๒ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา 250 2.70 .507 ๓ อาคารเรียน 250 2.78 .450 ๔ ห้องเรียน 250 2.77 .468 ๕ สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน 250 2.55 .608 ๖ ห้องประชุมและห้องสัมมนา 250 2.53 .602 ๗ ห้องสมุด 250 2.55 .608 ๘ ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ 250 2.45 .608 ๙ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา 250 2.41 .702 ๑๐ ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน 250 2.22 .721 ๑๑ ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา 250 2.28 .666 ๑๒ ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล 250 2.22 .698 ๑๓ โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม 250 2.39 .619 ๑๔ ห้องนํ้าห้องส้วม 250 2.58 .598
  • 3. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๖     ตาราง ๔.๒ แผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ ในภาพรวมในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) อาคารสถานที่ N แผนการใช้ประโยชน์ Mean S.D. ๑๕ สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว 250 2.52 .690 ๑๖ ที่จอดรถ 250 2.57 .571 ๑๗ อื่นๆ (ระบุ)…….. 250 2.56 .600 ค่าเฉลี่ย Mean 250 2.51 .603 หมายเหตุ : ๑.๐๐ – ๑.๖๖ = ระดับน้อย ๑. ๖๗ – ๒.๓๓ = ระดับปานกลาง ๒.๓๔ -๓.๐๐ = ระดับมาก จากตาราง ๔.๒ พบว่าแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่อยู่ในระดับสูง (  = ๒.๕๑) หากพิจารณาถึงรายละเอียดปัจจัยแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่สูงมากในด้าน อาคารสถานที่ได้แก่ อาคารเรียน, ห้อง เรียน และ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา ( = ๒.๗๘ ,  = ๒.๗๗, และ = ๒.๗๐ )ตามลําดับ ปัจจัยสูงมากรองลงมาได้แก่ ผังบริเวณสถานศึกษา, ห้องนํ้าห้องส้วม, ที่จอดรถ, ปัจจัยอื่นๆ และ สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน ( = ๒.๖๔,  = ๒.๕๘,  = ๒.๕๗,  = ๒.๕๖, = ๒.๕๕) ตามลําดับ แผนการ ใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ลดหลั่นลงมาได้แก่ ห้องสมุด, ห้องประชุมและห้องสัมมนา, สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว, ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ, ห้องกิจกรรมหรือ บริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา, และ โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม ( = ๒.๕๕,  = ๒.๕๓,  = ๒.๕๒,  = ๒.๔๕,  = ๒.๔๑,  = ๒.๓๙) ตามลําดับ แต่เป็นที่ น่าแปลกใจที่มี ๓ ปัจจัยแผนการใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ระดับน้อยได้แก่ห้องแนะแนว/ ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา, ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน และห้องพยาบาล/จุด ให้บริการด้านการพยาบาล ( = ๒.๒๘,  = ๒.๒๒,  = ๒.๒๒)ตามลําดับ.
  • 4. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๗     ๔.๓. สภาพการใช้งานจริงด้านอาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระ อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ตาราง ๔.๓ สภาพการใช้อาคารสถานที่จริงในภาพรวมในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม  อาคารสถานที่ N สภาพการใช้งานจริง Mean S.D. ๑ ผังบริเวณสถานศึกษา 250 2.42 .569 ๒ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา 250 2.68 .507 ๓ อาคารเรียน 250 2.70 .501 ๔ ห้องเรียน 250 2.66 .498 ๕ สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน 250 2.56 .536 ๖ ห้องประชุมและห้องสัมมนา 250 2.54 .608 ๗ ห้องสมุด 250 2.52 .603 ๘ ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ 250 2.30 .703 ๙ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา 250 2.40 .652 ๑๐ ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน 250 2.27 .710 ๑๑ ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา 250 2.28 .682 ๑๒ ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล 250 2.19 .768 ๑๓ โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม 250 2.30 .678 ๑๔ ห้องนํ้าห้องส้วม 250 2.48 .666 ๑๕ สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว 250 2.47 .718 ๑๖ ที่จอดรถ 250 2.54 .634 ๑๗ อื่นๆ (ระบุ)…….. 250 2.50 .654 ค่าเฉลี่ย Mean 250 2.46 .629 จากตาราง ๔.๓ พบว่าสภาพการใช้งานอาคารสถานที่จริงนั้นก็อยู่ในระดับสูง (  = ๒.๔๖) เมื่อพิจารณาถึงรายละเอียดสภาพการใช้งานจริงกับอาคารสถานที่ ในระดับสูงมาก ได้แก่อาคารเรียน, สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา, ห้องเรียน และสํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน ( = ๒.๗๐,  = ๒.๖๘,  = ๒.๖๖ และ  = ๒.๕๖) ตามลําดับ ตามด้วย ห้องประชุมและห้องสัมมนา, ที่จอดรถ, ห้องสมุด, ปัจจัยอื่นๆ, ห้องนํ้าห้องส้วม,
  • 5. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๘     สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว, ผังบริเวณสถานศึกษา และ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณ สําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา ( = ๒.๕๔,  = ๒.๕๔,  = ๒.๕๒,  = ๒.๕๐,  = ๒.๔๘,  = ๒.๔๗,  = ๒.๔๒,  = ๒.๔๐) ตามลําดับ สภาพการใช้งานจริงกับอาคาร สถานที่ ในระดับกลางได้แก่ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ, โรงอาหาร/จุดบริการอาหาร เครื่องดื่ม, ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา, ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผล งาน และ ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล ( = ๒.๓๐,  = ๒.๓๐,  = ๒.๒๘,  = ๒.๒๗, และ = ๒.๑๙) ตามลําดับ ๔.๔ ความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ มจร. วัด ไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม  ลําดับ รายละเอียด N ระดับความพึง พอใจ Mean S.D. ก. อาคารเรียน ๑ การจัดทําแผนผังอาคาร 250 3.80 .826 ๒ การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร 250 3.94 .829 ๓ การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคารเรียน 250 3.84 .806 ๔ ความสะดวกในการใช้ประโยชน์ 250 3.78 .838 ๕ ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา 250 3.72 .918 ค่าเฉลี่ย Mean อาคารเรียน 3.82 .843 ข. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ ต่างๆ ๖ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.98 .789 ๗ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง 250 3.88 .817 ๘ ห้องเรียนมีจํานวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา 250 3.92 .870 ๙ โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่างเป็นระเบียบ 250 3.96 .808 ๑๐ ห้องเรียนมีตารางการใช้อย่างชัดเจน 250 3.80 .845
  • 6. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๔๙     ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ)  ลําดับ รายละเอียด N ระดับความพึง พอใจ Mean S.D. ๑๑ บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 250 3.72 .832 ๑๒ สื่ออุปกรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอน 250 3.82 .860 ๑๓ การจัดโต๊ะหมู่บูชาเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม 250 3.98 .909 ค่าเฉลี่ย Meanห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และ ห้องบริการต่างๆ 3.88 .841 ค. บริเวณสถานศึกษา ๑๔ การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา 250 3.80 .887 ๑๕ สถานที่พักผ่อน 250 3.65 .871 ๑๖ พื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ 250 3.62 .992 ๑๗ เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา 250 3.50 .983 ๑๘ การบํารุงรักษาพื้นที่และบริเวณสวนและสนามให้ร่มรื่น 250 3.70 1.039 ๑๙ การปรับปรุงภูมิทัศน์ 250 3.93 .884 ค่าเฉลี่ย Mean บริเวณสถานศึกษา 3.70 .943 ง. ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ ๒๐ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.90 .868 ๒๑ ความสะดวกในการค้นหาหนังสือและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด 250 3.66 .818 ๒๒ ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด 250 3.79 .779 ๒๓ ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด 250 3.68 .919 ๒๔ จํานวนหนังสือและเอกสารในห้องสมุด 250 3.58 .942 ๒๕ การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ภายในสํานักหอสมุด 250 3.58 .833 ๒๖ ห้องสมุดมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย 250 3.71 .925 ๒๗ มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา 250 3.72 .911 ๒๘ ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร์ 250 3.44 .965 ๒๙ ความรวดเร็วของระบบอินเทอร์เน็ต 250 3.53 1.026 ๓๐ ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ 250 3.58 1.023 ค่าเฉลี่ย Meanห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ 3.65 .911
  • 7. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๐     ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ)  ลําดับ รายละเอียด N ระดับความพึง พอใจ Mean S.D. จ. โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร ๓๑ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.60 .965 ๓๒ การจัดวัสดุ อุปกรณ์ และการรักษาความสะอาด 250 3.55 .998 ๓๓ การจัดโต๊ะ เก้าอี้ภายในโรงอาหาร 250 3.55 .978 ค่าเฉลี่ย Meanโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร 3.57 .980 ฉ. ห้องประชุมและห้องสัมมนา ๓๔ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.81 .869 ๓๕ ห้องประชุมและห้องสัมมนามีจํานวนเพียงพอต่อการใช้งาน และ สามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 250 3.65 .951 ๓๖ ความพร้อมของห้องประชุมและห้องสัมมนา 250 3.73 .858 ๓๗ ห้องประชุมและห้องสัมมนามีความสะอาดเป็นระเบียบ 250 3.68 .869 ๓๘ ๓๘. สิ่งอํานวยความสะดวกมีประสิทธิภาพมีความทันสมัย และ มีจํานวน เพียงพอต่อการใช้งาน 250 3.61 .886 ๓๙ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ 250 3.58 .911 ๔๐ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้องประชุม 250 3.60 .887 ค่าเฉลี่ย Meanห้องประชุมและห้องสัมมนา 3.67 .890 ช. ห้องกิจกรรม ๔๑ มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี 250 3.67 .968 ๔๒ การจัดวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และสิ่งอํานวยความสะดวก 250 3.61 .973 ๔๓ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และการใช้บริการ 250 3.61 .926 ๔๔ การจัดบรรยากาศภายในห้องที่เอื้อต่อการใช้บริการ 250 3.64 .951 ๔๕ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง 250 3.78 .967 ค่าเฉลี่ย Meanห้องกิจกรรม 3.66 .957 ซ. การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วย วิทยบริการ ๔๖ การดูแลรักษาห้องนํ้า ห้องส้วมให้สะอาด 250 3.87 .907 ๔๗ การจัดที่นั่งให้นักศึกษาพักผ่อนในเวลาว่าง 250 3.63 1.030
  • 8. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๑     ตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ)  ลําดับ รายละเอียด N ระดับความพึง พอใจ Mean S.D. ๔๘ การมีถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ 250 3.48 1.023 ๔๙ ระบบระบายนํ้าตามแนวถนน 250 3.50 .979 ๕๐ การจัดการไฟฟ้าภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม 250 3.84 .863 ๕๑ การจัดนํ้าเพื่อบริโภคในสถานศึกษา 250 3.80 .962 ๕๒ การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบ โทรศัพท์บอร์ดประชาสัมพันธ์ 250 3.76 1.013 ค่าเฉลี่ย Meanการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภค ของหน่วยวิทยบริการ 3.70 .968 ฐ. การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ ๕๓ มีระบบป้ องกันเพลิงไหม้และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ อย่าง เพียงพอ 250 3.57 .976 ๕๔ การให้บริการของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย 250 3.35 1.066 ๕๕ ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในหน่วยวิทยบริการสร้าง ความมั่นใจ ในความปลอดภัยให้แก่นักศึกษา 250 3.42 1.081 ค่าเฉลี่ย Meanการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ 3.45 1.041 ค่าเฉลี่ย ๔.๕๑ – ๕.๐๐  = ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐  = ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ = ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด จากตาราง ๔.๔ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วย วิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ใน ภาพรวมทุกปัจจัยอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่มีอันดับสูงสุดไปหาอันดับท้ายสุด อันได้แก่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ ( = ๓.๘๘, S.D. = . ๘๔๑), ตามด้วย อาคารเรียน ( = ๓.๘๒, S.D. = .๘๔๓ ), บริเวณสถานศึกษา ( = ๓.๗๐, S.D. = .๙๔๓), การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ ( = ๓.๗๐, S.D. = .๙๖๘), ห้องประชุมและห้องสัมมนา ( = ๓.๖๗, S.D. = .
  • 9. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๒     ๘๙๐), ห้องกิจกรรม ( = ๓.๖๖, S.D. = .๙๕๗), ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์ คอมพิวเตอร์บริการ ( = ๓.๖๕, S.D. = .๙๑๑),โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร ( = ๓.๕๗, S.D. = .๙๘๐), และ ฐ). การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ ( = ๓.๔๕, S.D. = ๑.๐๔๑). เห็นได้ว่านักศึกษาพอใจมากอันดับหนึ่งกับห้องปฏิบัติการ ห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ ส่วนที่นักศึกษาพอใจมากอันดับท้ายสุดคือการรักษา ความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการ (ดูภาพ ๑) 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 A/a1‐a5:  B/b6‐b13:  C/c14‐c19:  D/d20‐d30:  E/e31‐e33:  F/f34‐f40:  G/g41‐g45:  H/h46‐h52:  I/i53‐i55:    ภาพที่ ๔.๑ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาในแต่ละด้าน A/a1-a5: ค่าเฉลี่ย Mean ด้านอาคารเรียนพร้อม ๕ ปัจจัย ก.๑ –ก.๕ B/b6-b13: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆพร้อม ๘ ปัจจัย ข.๖ –ข.๑๓ C/c14-c19: ค่าเฉลี่ย Mean ด้านบริเวณสถานศึกษาพร้อม ๖ ปัจจัย ค.๑๔ – ค.๑๙ D/d20-d30: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการพร้อม ๑๑ ปัจจัย ง.๒๐ – ง.๓๐ E/e31-e33: ค่าเฉลี่ย Meanด้านโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหารพร้อม ๓ ปัจจัย จ.๓๑ – จ.๓๓ F/f34-f40: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องประชุมและห้องสัมมนาพร้อม ๗ ปัจจัย ฉ.๓๔ – ฉ.๔๐ G/g41-g45: ค่าเฉลี่ย Meanด้านห้องกิจกรรมพร้อม ๕ปัจจัย ช.๔๑ – ช.๔๕ H/h46-h52: ค่าเฉลี่ย Meanด้านการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการพร้อม ๗ ปัจจัย ซ.๔๖ – ซ. ๕๒ I/i53-56: ค่าเฉลี่ย Meanด้านการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการพร้อม ๓ ปัจจัย ฐ.๕๓ – ฐ.๕๕ ก. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ อาคารเรียน เมื่อพิจารณาด้านอาคารเรียน โดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก ( = ๓.๘๒, S.D. = .๘๔๓), หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านอาคารเรียนที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับ ปานกลางได้แก่การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร และ การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคาร เรียน ( = ๓.๙๔, S.D.=.๘๒๙ ;  = ๓.๘๔, S.D.= .๘๐๖) นักศึกษามีความพึงพอใจมาก ระดับต้นได้แก่การจัดทําแผนผังอาคาร, ความสะดวกในการใช้ประโยชน์ และอันดับท้ายสุด
  • 10. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๓     ได้แก่ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา  = ๓.๘๐, S.D.= ๘๒๖ ; = ๓.๗๘, S.D.= ๘๓๘ และ  = ๓.๗๒, S.D.=๙๑๘) ตามลําดับ    ข. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ  เมื่อพิจารณาด้าน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ ต่างๆ โดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๘๘, S.D. =. ๘๔๑ ) หากพิจารณาแต่ ละปัจจัยด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆที่นักศึกษาพึง พอใจมากในระดับปานกลางได้แก่มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี, มีการจัดโต๊ะหมู่ บูชาเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม, โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่างเป็นระเบียบ, ห้องเรียน มีจํานวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษา, และ มีการรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษา ห้อง( = ๓.๙๘, S.D. =. ๗๘๙ ;  = ๓.๙๘, S.D. =. ๙๐๙;  = ๓.๙๖, S.D. =. ๘๐๘ ;  = ๓.๙๒, S.D. =. ๘๗๐ และ  = ๓.๘๘, S.D. =. ๘๑๗) ตามลําดับ ส่วนปัจจัยด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆที่นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับต้น ได้แก่มีสื่ออุปกรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอน, ห้องเรียนมีตารางการใช้อย่างชัดเจน, และ มี บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ (  =๓.๘๒, S.D. =. ๘๖๐;  =๓.๘๐, S.D. =. ๘๔๕ และ = ๓.๗๒, S.D. =.๘๓๒) ตามลําดับ    ค. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ บริเวณสถานศึกษา  เมื่อพิจารณาด้าน บริเวณสถานศึกษาโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก ( = ๓.๗๐, S.D. =. ๙๔๓ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านบริเวณสถานศึกษาที่นักศึกษา พึงพอใจมากในระดับปานกลางได้แก่ปรับปรุงภูมิทัศน์การ( = ๓.๙๓, S.D. = .๘๘๔) นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับต้นได้แก่การจัดทําแผนที่ตั้งบริเวณสถานศึกษา, การบํารุงรักษา พื้นที่และบริเวณสวนและสนามให้ร่มรื่น, สถานที่พักผ่อน, พื้นที่จอดรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ และ เครื่องหมายแสดงการจราจรภายในสถานศึกษา ( = 3.80, S.D. =.887; = 3.70, S.D. = 1.039; = 3.65, S.D. =.871; = 3.62, S.D. =.992; และ  = 3.50, S.D. =.983)       
  • 11. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๔     ง. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์ บริการ  เมื่อพิจารณาด้าน ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๖๕, S.D. = . ๙๑๑ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้าน ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับปานกลาง ได้แก่ การจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดี ( = ๓.๙๐, S.D. =.๘๖๘) ปัจจัยด้าน ห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากในระดับต้น มีถึง ๙ ปัจจัยได้แก่ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุด, มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิต นักศึกษา, ห้องสมุดมีความสะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย, ความทันสมัยของหนังสือและ เอกสารในห้องสมุด, ความสะดวกในการค้นหาหนังสือและสิ่งพิมพ์ในห้องสมุด, จํานวน หนังสือและเอกสารในห้องสมุด, การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ภายใน สํานักหอสมุด, ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ และ ความรวดเร็วของระบบอินเทอร์เน็ต ( = ๓.๗๙, S.D. =.๗๗๙; = ๓.๗๒, S.D. =.๙๑๑; = ๓.๗๑, S.D. =.๙๒๕; = ๓.๖๘, S.D. =.๙๑๙; = ๓.๖๖, S.D. =.๘๑๘; = ๓.๕๘, S.D. =.๙๔๒; = ๓.๕๘, S.D. =. ๘๓๓; = ๓.๕๘, S.D. = ๑.๐๒๓ และ  = ๓.๕๓, S.D. = ๑.๐๒๖ ) ตามลําดับ และปัจจัย ด้านห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการที่นักศึกษาพึงพอใจปานกลางมี ๑ ปัจจัย ได้แก่ ความเพียงพอของจํานวนคอมพิวเตอร์ ( = ๓.๔๔, S.D. =.๙๖๕) จ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร  เมื่อพิจารณาด้าน โรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหารโดยรวม นักศึกษา มีความพึงพอใจมาก( = ๓.๕๗, S.D. = . ๙๘๐ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านโรงอาหาร หรือสถานที่รับประทานอาหารที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นทั้ง ๓ ปัจจัยได้แก่ มีแสงสว่าง เพียงพอและระบายอากาศที่ดี, การจัดวัสดุ อุปกรณ์ และการรักษาความสะอาด และ การจัดโต๊ะ เก้าอี้ภายในโรงอาหาร ( = ๓.๖๐, S.D. = .๙๖๕;  = ๓.๕๕, S.D. = .๙๙๘; และ  = ๓.๕๕, S.D. =.๙๗๘)       
  • 12. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๕     ฉ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องประชุมและห้องสัมมนา  เมื่อพิจารณาด้าน ห้องประชุมและห้องสัมมนาโดยรวม นักศึกษามีความพึง พอใจมาก( = ๓.๖๗, S.D. = . ๘๙๐ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านห้องประชุมและ ห้องสัมมนาที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นทั้ง ๗ ปัจจัยได้แก่ มีแสงสว่างเพียงพอและ ระบายอากาศที่ดี, ความพร้อมของห้องประชุมและห้องสัมมนา, ห้องประชุมและห้องสัมมนามี ความสะอาดเป็นระเบียบ, ห้องประชุมและห้องสัมมนามีจํานวนเพียงพอต่อการใช้งาน และ สามารถรองรับการจัดกิจกรรมประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม, สิ่งอํานวยความสะดวกมี ประสิทธิภาพมีความทันสมัย และมีจํานวน เพียงพอต่อการใช้งาน, การรักษาความสะอาดและ การบํารุงรักษาห้องประชุม และ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ( = ๓.๘๑, S.D. = . ๘๖๙;  = ๓.๗๓, S.D. = .๘๕๘;  = ๓.๖๘, S.D. = .๘๖๙;  = ๓.๖๕, S.D. = .๙๕๑;  = ๓.๖๑, S.D. = .๘๘๖;  = ๓.๖๐, S.D. = .๘๘๗ และ  = ๓.๕๘, S.D. = .๙๑๑)    ช. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ ห้องกิจกรรม  เมื่อพิจารณาด้าน ห้องกิจกรรมโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๖๖, S.D. = . ๙๕๗ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้านห้องกิจกรรมที่นักศึกษาพึงพอใจมาก ระดับต้นทั้ง ๕ ปัจจัยได้แก่ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้อง, มีแสงสว่าง เพียงพอและระบายอากาศที่ดี, การจัดบรรยากาศภายในห้องที่เอื้อต่อการใช้บริการ, การจัดวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสิ่งอํานวยความสะดวก และ ความสะดวกในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และการ ใช้บริการ ( = ๓.๗๘, S.D. =.๙๖๗;  = ๓.๖๗, S.D. =.๙๖๘;  = ๓.๖๔, S.D. =.๙๕๑;  = ๓.๖๑, S.D. =.๙๗๓ และ  = ๓.๖๑, S.D. =.๙๒๖)  ซ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ การจัดสภาพแวดล้อมและระบบ สาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ  เมื่อพิจารณาด้าน การจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วย วิทยบริการโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๗๐, S.D. = . ๙๖๘ ) หาก พิจารณาแต่ละปัจจัยด้านการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ ที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับปานกลาง ๒ ปัจจัยได้แก่ การดูแลรักษาห้องนํ้า ห้องส้วมให้ สะอาด และ การจัดการไฟฟ้าภายในอาคาร เครื่องปรับอากาศ หรือพัดลม ( = ๓.๘๗, S.D. = .๙๐๗; และ  = ๓.๘๔, S.D. = .๘๖๓)ตามลําดับ ปัจจัยด้านการจัดสภาพแวดล้อมและระบบ สาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นมี ๔ ปัจจัยได้แก่ การจัด
  • 13. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๖     นํ้าเพื่อบริโภคในสถานศึกษา, การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบ โทรศัพท์บอร์ดประชาสัมพันธ์, การจัดที่นั่งให้นักศึกษาพักผ่อนในเวลาว่าง, และ ระบบระบาย นํ้าตามแนวถนน ( = ๓.๘๐, S.D. = .๙๖๒;  = ๓.๗๖, S.D. = ๑.๐๑๓;  = ๓.๖๓, S.D. = ๑.๐๓๐ และ  = ๓.๕๐, S.D. = .๙๗๙)ตามลําดับ แต่ปัจจัยด้านการจัดสภาพแวดล้อมและ ระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจปานกลางมี ๑ ปัจจัยได้แก่การมี ถังขยะที่แยกตามประเภทขยะ ( = ๓.๔๘, S.D. = ๑.๐๒๓)เท่านั้น    ฐ. ความพึงพอใจของนักศึกษา กับ การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทย บริการ เมื่อพิจารณาด้าน การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการโดยรวม นักศึกษามีความพึงพอใจมาก( = ๓.๔๕, S.D. = ๑. ๐๘๑ ) หากพิจารณาแต่ละปัจจัยด้าน การรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจมากระดับต้นมี ๑ ปัจจัย ได้แก่มีระบบป้ องกันเพลิงไหม้และสัญญาณเตือนภัยต่างๆ อย่างเพียงพอ ( = ๓.๕๗, S.D. = .๙๗๖) แต่มีปัจจัยด้านการรักษาความปลอดภัยภายในหน่วยวิทยบริการที่นักศึกษาพึงพอใจมาก ระดับ ปานกลาง อยู่ ๒ ปัจจัยได้แก่ การให้บริการของเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย และ ระบบการดูแลรักษาความปลอดภัยในหน่วยวิทยบริการสร้างความมั่นใจ ในความปลอดภัย ให้แก่นักศึกษา ( = ๓.๓๕, S.D. = ๑.๐๖๖ และ  = ๓.๔๒, S.D. = ๑.๐๘๑) ๔.๕. การทดสอบสมมติฐาน ๔.๕.๑. แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัดไร่ ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต และ คฤหัสถ์) กับ แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ด้านปัจจัย ผังบริเวณสถานศึกษา (Sig.๐๐๐), อาคารเรียน (Sig.๐๐๑), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล (Sig.๐๐๓) และห้องแนะ แนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig.๐๓๓) ส่วนอีก ๑๓ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมี นัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต และ คฤหัสถ์) กับ แผนการใช้ประโยชน์อาคารและ สถานที่ (ดูเอกสารแนบท้าย) จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ กับ แผนการใช้ประโยชน์ อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ.
  • 14. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๗     นครปฐม ด้านปัจจัยอาคารเรียน (Sig.๐๐๐), ห้องนํ้าห้องส้วม (Sig.๐๐๐), อื่นๆ (ระบุ)… (Sig.๐๐๐), สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา (Sig.๐๐๒), ห้องเรียน (Sig.๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุด ให้บริการด้านการพยาบาล (Sig.๐๑๔), และห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig.๐๒๓) ส่วนอีก ๑๐ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ กับ แผนการใช้ประโยชน์ อาคารและสถานที่ (ดูเอกสารแนบท้าย) ตาราง ๔.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปีกับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ใน หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p1Ex ระหว่างกลุ่ม 4.908 2 2.454 8.307 .000 ภายในกลุ่ม 72.968 247 .295 รวม 77.876 249 p2Ex ระหว่างกลุ่ม .515 2 .257 1.000 .369 ภายในกลุ่ม 63.581 247 .257 รวม 64.096 249 p3Ex ระหว่างกลุ่ม .700 2 .350 1.742 .177 ภายในกลุ่ม 49.636 247 .201 รวม 50.336 249 p4Ex ระหว่างกลุ่ม .614 2 .307 1.407 .247 ภายในกลุ่ม 53.930 247 .218 รวม 54.544 249 p5Ex ระหว่างกลุ่ม 1.346 2 .673 1.835 .162 ภายในกลุ่ม 90.578 247 .367 รวม 91.924 249 p6Ex ระหว่างกลุ่ม .855 2 .427 1.180 .309 ภายในกลุ่ม 89.449 247 .362 รวม 90.304 249 p7Ex ระหว่างกลุ่ม 1.274 2 .637 1.735 .179 ภายในกลุ่ม 90.650 247 .367 รวม 91.924 249
  • 15. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๘     ตาราง ๔.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปีกับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ใน หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p8Ex ระหว่างกลุ่ม .713 2 .356 .965 .382 ภายในกลุ่ม 91.211 247 .369 รวม 91.924 249 p9Ex ระหว่างกลุ่ม 3.396 2 1.698 3.519 .031 ภายในกลุ่ม 119.168 247 .482 รวม 122.564 249 p10Ex ระหว่างกลุ่ม .145 2 .073 .139 .870 ภายในกลุ่ม 129.311 247 .524 รวม 129.456 249 p11Ex ระหว่างกลุ่ม 8.374 2 4.187 10.137 .000 ภายในกลุ่ม 102.026 247 .413 รวม 110.400 249 p12Ex ระหว่างกลุ่ม 6.769 2 3.384 7.289 .001 ภายในกลุ่ม 114.687 247 .464 รวม 121.456 249 p13Ex ระหว่างกลุ่ม .174 2 .087 .226 .798 ภายในกลุ่ม 95.190 247 .385 รวม 95.364 249 p14Ex ระหว่างกลุ่ม 3.878 2 1.939 5.633 .004 ภายในกลุ่ม 85.022 247 .344 รวม 88.900 249 p15Ex ระหว่างกลุ่ม 4.378 2 2.189 4.742 .010 ภายในกลุ่ม 114.022 247 .462 รวม 118.400 249
  • 16. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๕๙     ตาราง ๔.๕ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปีกับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ใน หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p16Ex ระหว่างกลุ่ม 3.066 2 1.533 4.847 .009 ภายในกลุ่ม 78.138 247 .316 รวม 81.204 249 p17Ex ระหว่างกลุ่ม 2.622 2 1.311 3.718 .026 ภายในกลุ่ม 87.094 247 .353 รวม 89.716 249 จาก ตาราง ๔. ๕ พบว่า มี ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างชั้นปี แผนการใช้ ประโยชน์อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สาม พราน จ. นครปฐมถึง๘ ปัจจัย ได้แก่ ผังบริเวณสถานศึกษา (Sig =  .๐๐๐) ,ห้องแนะแนว/ศูนย์ ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig = .๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล (Sig = .๐๐๑), ห้องนํ้าห้องส้วม (Sig = .๐๐๔), ที่จอดรถ (Sig = .๐๐๙), สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว (Sig =  .๐๑๐), อื่นๆ (Sig =  .๐๑๖) และ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิต นักศึกษา (Sig = .๐๓๑).ส่วนอีก ๙ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างชั้นปี กับ แผนการใช้ประโยชน์อาคารและสถานที่ ตาราง ๔.๖ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและ สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p1Ex ระหว่างกลุ่ม 7.590 2 3.795 13.337 .000 ภายในกลุ่ม 70.286 247 .285 รวม 77.876 249 p3Ex ระหว่างกลุ่ม 1.596 2 .798 4.043 .019 ภายในกลุ่ม 48.740 247 .197 รวม 50.336 249
  • 17. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๐     ตาราง ๔.๖ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและ สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p4Ex ระหว่างกลุ่ม 1.841 2 .921 4.314 .014 ภายในกลุ่ม 52.703 247 .213 รวม 54.544 249 p5Ex ระหว่างกลุ่ม 7.199 2 3.599 10.493 .000 ภายในกลุ่ม 84.725 247 .343 รวม 91.924 249 p6Ex ระหว่างกลุ่ม 8.299 2 4.150 12.498 .000 ภายในกลุ่ม 82.005 247 .332 รวม 90.304 249 p7Ex ระหว่างกลุ่ม 5.391 2 2.696 7.694 .001 ภายในกลุ่ม 86.533 247 .350 รวม 91.924 249 p8Ex ระหว่างกลุ่ม 7.650 2 3.825 11.210 .000 ภายในกลุ่ม 84.274 247 .341 รวม 91.924 249 p9Ex ระหว่างกลุ่ม 10.296 2 5.148 11.326 .000 ภายในกลุ่ม 112.268 247 .455 รวม 122.564 249 p10Ex ระหว่างกลุ่ม 15.632 2 7.816 16.961 .000 ภายในกลุ่ม 113.824 247 .461 รวม 129.456 249 p11Ex ระหว่างกลุ่ม 13.203 2 6.602 16.776 .000 ภายในกลุ่ม 97.197 247 .394 รวม 110.400 249 p12Ex ระหว่างกลุ่ม 15.498 2 7.749 18.064 .000 ภายในกลุ่ม 105.958 247 .429 รวม 121.456 249
  • 18. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๑     ตาราง ๔.๖ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับแผนการใช้ประโยชน์อาคารและ สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p13Ex ระหว่างกลุ่ม 7.047 2 3.524 9.855 .000 ภายในกลุ่ม 88.317 247 .358 รวม 95.364 249 p14Ex ระหว่างกลุ่ม 5.969 2 2.984 8.888 .000 ภายในกลุ่ม 82.931 247 .336 รวม 88.900 249 p15Ex ระหว่างกลุ่ม 10.601 2 5.301 12.145 .000 ภายในกลุ่ม 107.799 247 .436 รวม 118.400 249 p16Ex ระหว่างกลุ่ม 2.339 2 1.170 3.663 .027 ภายในกลุ่ม 78.865 247 .319 รวม 81.204 249 p17Ex ระหว่างกลุ่ม 2.930 2 1.465 4.169 .017 ภายในกลุ่ม 86.786 247 .351 รวม 89.716 249 จากตาราง ๔.๖ พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ แผนการใช้ประโยชน์ อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐมทั้ง ๑๗ ปัจจัยได้แก่ ผังบริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๐๐),สํานักงาน ให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน(Sig = .๐๐๐), ห้องประชุมและห้องสัมมนา(Sig = .๐๐๐), ห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ(Sig = .๐๐๐), ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับ การทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา(Sig = .๐๐๐),ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน(Sig = .๐๐๐), ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา(Sig = .๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้าน การพยาบาล(Sig = .๐๐๐), โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม(Sig = .๐๐๐), ห้องนํ้าห้องส้วม (Sig = .๐๐๐), สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว(Sig = .๐๐๐),ห้องสมุด(Sig = .๐๐๑), สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๐๒), ห้องเรียน(Sig = .๐๑๔),อื่นๆ (ระบุ)…….. (Sig = . ๐๑๗), อาคารเรียน(Sig = .๐๑๙)
  • 19. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๒     ๔.๕.๒. สภาพการใช้งานจริงด้านอาคารและสถานที่ ในหน่วยวิทยบริการ มจร. วัด ไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต และ คฤหัสถ์) กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ในด้านปัจจัยสวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว (Sig.๐๐๐), ที่จอดรถ(Sig.๐๐๐),ห้องสมุด(Sig.๐๐๑), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการ พยาบาล(Sig.๐๐๔), สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน(Sig.๐๐๙), ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน(Sig.๐๑๖), และ ห้องกิจกรรมหรือบริเวณ สําหรับการทํากิจกรรมนิสิตนักศึกษา(Sig.๐๔๓) ส่วนอีก ๑๐ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่าง มีนัยสําคัญระหว่างสถานภาพ (บรรพชิต และ คฤหัสถ์) กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและ สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. (ดูเอกสารภาคผนวกแนบท้าย) จาก t-test พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศกับ สภาพการใช้งานจริง อาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ในด้านปัจจัยสํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน(Sig.๐๐๐), ห้องสมุด(Sig.๐๐๐),สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว(Sig.๐๐๐), ที่จอดรถ(Sig.๐๐๐) และ ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล(Sig.๐๐๖) ส่วนอีก ๑๒ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. (ดูเอกสารภาคผนวกแนบท้าย) ตาราง ๔.๗ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ใน หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p1Ac ระหว่างกลุ่ม 1.774 2 .887 2.774 .064 ภายในกลุ่ม 78.962 247 .320 รวม 80.736 249 p2Ac ระหว่างกลุ่ม .835 2 .418 1.632 .198 ภายในกลุ่ม 63.201 247 .256 รวม 64.036 249 p3Ac ระหว่างกลุ่ม .450 2 .225 .895 .410 ภายในกลุ่ม 62.050 247 .251 รวม 62.500 249
  • 20. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๓     ตาราง ๔.๗ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ใน หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p4Ac ระหว่างกลุ่ม 1.168 2 .584 2.381 .095 ภายในกลุ่ม 60.608 247 .245 รวม 61.776 249 p5Ac ระหว่างกลุ่ม 1.830 2 .915 3.246 .041 ภายในกลุ่ม 69.646 247 .282 รวม 71.476 249 p6Ac ระหว่างกลุ่ม 3.362 2 1.681 4.679 .010 ภายในกลุ่ม 88.738 247 .359 รวม 92.100 249 p7Ac ระหว่างกลุ่ม 1.682 2 .841 2.341 .098 ภายในกลุ่ม 88.718 247 .359 รวม 90.400 249 p8Ac ระหว่างกลุ่ม .846 2 .423 .856 .426 ภายในกลุ่ม 122.050 247 .494 รวม 122.896 249 p9Ac ระหว่างกลุ่ม 3.206 2 1.603 3.852 .023 ภายในกลุ่ม 102.794 247 .416 รวม 106.000 249 p10Ac ระหว่างกลุ่ม .292 2 .146 .288 .750 ภายในกลุ่ม 125.212 247 .507 รวม 125.504 249 p11Ac ระหว่างกลุ่ม 4.341 2 2.171 4.803 .009 ภายในกลุ่ม 111.615 247 .452 รวม 115.956 249 p12Ac ระหว่างกลุ่ม 2.339 2 1.170 2.000 .138 ภายในกลุ่ม 144.445 247 .585 รวม 146.784 249
  • 21. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๔     ตาราง ๔.๗ ความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ใน หน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p13Ac ระหว่างกลุ่ม .098 2 .049 .106 .899 ภายในกลุ่ม 114.402 247 .463 รวม 114.500 249 p14Ac ระหว่างกลุ่ม .599 2 .299 .673 .511 ภายในกลุ่ม 109.837 247 .445 รวม 110.436 249 p15Ac ระหว่างกลุ่ม .456 2 .228 .440 .644 ภายในกลุ่ม 127.788 247 .517 รวม 128.244 249 p16Ac ระหว่างกลุ่ม 1.371 2 .686 1.715 .182 ภายในกลุ่ม 98.729 247 .400 รวม 100.100 249 p17Ac ระหว่างกลุ่ม .361 2 .181 .420 .657 ภายในกลุ่ม 106.135 247 .430 รวม 106.496 249 จากตาราง ๔.๗ พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างชั้นปี กับ สภาพการใช้ งานจริงอาคารและสถานทีในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐมในถึง ๕ ปัจจัย ได้แก่ ห้องแนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา (Sig =  .๐๐๙), ห้อง ประชุมและห้องสัมมนา (Sig =  .๐๑๐), ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรมนิสิต นักศึกษา (Sig =  .๐๒๓), สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน (Sig =  . ๐๔๑), และ ผังบริเวณสถานศึกษา (Sig =  .๐๖๔) ส่วนอีก ๑๑ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมี นัยสําคัญระหว่างชั้นปี กับสภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่
  • 22. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๕     ตาราง ๔.๘ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและ สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p1Ac ระหว่างกลุ่ม 3.890 2 1.945 6.252 .002 ภายในกลุ่ม 76.846 247 .311 รวม 80.736 249 p2Ac ระหว่างกลุ่ม 1.612 2 .806 3.188 .043 ภายในกลุ่ม 62.424 247 .253 รวม 64.036 249 p3Ac ระหว่างกลุ่ม 3.107 2 1.553 6.460 .002 ภายในกลุ่ม 59.393 247 .240 รวม 62.500 249 p4Ac ระหว่างกลุ่ม .036 2 .018 .073 .930 ภายในกลุ่ม 61.740 247 .250 รวม 61.776 249 p5Ac ระหว่างกลุ่ม 5.911 2 2.955 11.133 .000 ภายในกลุ่ม 65.565 247 .265 รวม 71.476 249 p6Ac ระหว่างกลุ่ม 6.617 2 3.309 9.560 .000 ภายในกลุ่ม 85.483 247 .346 รวม 92.100 249 p7Ac ระหว่างกลุ่ม 10.048 2 5.024 15.443 .000 ภายในกลุ่ม 80.352 247 .325 รวม 90.400 249 p8Ac ระหว่างกลุ่ม 10.429 2 5.214 11.452 .000 ภายในกลุ่ม 112.467 247 .455 รวม 122.896 249 p9Ac ระหว่างกลุ่ม 7.713 2 3.857 9.692 .000 ภายในกลุ่ม 98.287 247 .398 รวม 106.000 249
  • 23. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๖     ตาราง ๔.๘ ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและ สถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม (ต่อ) รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. p10Ac ระหว่างกลุ่ม 13.826 2 6.913 15.290 .000 ภายในกลุ่ม 111.678 247 .452 รวม 125.504 249 p11Ac ระหว่างกลุ่ม 14.584 2 7.292 17.767 .000 ภายในกลุ่ม 101.372 247 .410 รวม 115.956 249 p12Ac ระหว่างกลุ่ม 16.516 2 8.258 15.658 .000 ภายในกลุ่ม 130.268 247 .527 รวม 146.784 249 p13Ac ระหว่างกลุ่ม 14.171 2 7.085 17.444 .000 ภายในกลุ่ม 100.329 247 .406 รวม 114.500 249 p14Ac ระหว่างกลุ่ม 7.767 2 3.884 9.343 .000 ภายในกลุ่ม 102.669 247 .416 รวม 110.436 249 p15Ac ระหว่างกลุ่ม 10.498 2 5.249 11.011 .000 ภายในกลุ่ม 117.746 247 .477 รวม 128.244 249 p16Ac ระหว่างกลุ่ม 1.828 2 .914 2.298 .103 ภายในกลุ่ม 98.272 247 .398 รวม 100.100 249 p17Ac ระหว่างกลุ่ม 2.449 2 1.225 2.907 .056 ภายในกลุ่ม 104.047 247 .421 รวม 106.496 249 จากตาราง ๔.๘ พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับ สภาพการใช้งานจริงอาคารและสถานที่ในหน่วย วิทยบริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม ถึง ๑๔ ปัจจัยได้แก่สํานักงานให้บริการนักศึกษา เช่น สํานักทะเบียน การเงิน(Sig = .๐๐๐), ห้องประชุมและห้องสัมมนา(Sig = .๐๐๐), ห้องสมุด(Sig = .๐๐๐), ห้อง
  • 24. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๗     ผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ(Sig = .๐๐๐), ห้องกิจกรรมหรือบริเวณสําหรับการทํากิจกรรม นิสิตนักศึกษา(Sig = .๐๐๐),ห้องปฏิบัติการ / โรงฝึกงาน/พื้นที่แสดงผลงาน(Sig = .๐๐๐), ห้อง แนะแนว/ศูนย์ให้คําปรึกษาแนะนํา(Sig =  .๐๐๐), ห้องพยาบาล/จุดให้บริการด้านการพยาบาล (Sig =  .๐๐๐), โรงอาหาร/จุดบริการอาหารเครื่องดื่ม(Sig =  .๐๐๐), ห้องนํ้าห้องส้วม(Sig =  . ๐๐๐), สวนหย่อมสถานพักผ่อน/พื้นที่สีเขียว(Sig = .๐๐๐), ผังบริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๐๒), อาคารเรียน(Sig = .๐๐๒), และ สภาพพื้นที่บริเวณสถานศึกษา(Sig = .๐๔๓)ส่วนอีก ๓ ปัจจัย ไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างสาขาวิชาที่สังกัด กับสภาพการใช้งานจริงอาคาร และสถานที่  ๔.๕.๓. ความพึงพอใจในการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย บริการ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม     T-test กับ สถานภาพ และ เพศ เมื่อทดสอบ t-test เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สถานภาพ ของผู้ตอบ แบบสอบถาม กับ ความความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วย วิทยบริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม พบว่า สถานภาพ ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญกับ ๑๒ ปัจจัยจาก ทั้งหมด ๕๕ ปัจจัย ซึ่งได้แก่ การรักษาความสะอาดและการบํารุงรักษาห้องตามห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ(Sig.๐๐๐), การจัดหนังสือ สื่อโสตทัศน์ วัสดุ อุปกรณ์ ภายในสํานักหอสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (Sig.๐๐๐), มีแสง สว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีตามห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้อง บริการต่างๆ (Sig.๐๐๒), ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุดและห้องผลิต สื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ(Sig.๐๑๓), ระบบระบายนํ้าตามแนวถนนในการจัดสภาพแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ(Sig.๐๑๙), มีแสงสว่างเพียงพอและระบาย อากาศที่ดีในโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร(Sig.๐๒๐), โต๊ะเก้าอี้มีการจัดวางอย่าง เป็นระเบียบในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ(Sig.๐๒๑), ความสะดวกในการใช้ประโยชน์อาคารเรียน (Sig.๐๒๒), การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายใน สถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ในการจัดสภาพแวดล้อมและระบบ สาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ(Sig.๐๒๔),สถานที่พักผ่อนในบริเวณสถานศึกษา (Sig.๐๓๕), พื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ในบริเวณสถานศึกษา(Sig.๐๓๙), และ
  • 25. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๘     บรรยากาศทางวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และ ห้องบริการต่างๆ(Sig.๐๔๕). ส่วนอีก ๔๓ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่าง สถานภาพ กับ ความความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทย บริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม เมื่อทดสอบ t-test เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง เพศ ของผู้ตอบแบบสอบถาม กับ ความ ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม พบว่า เพศ ของผู้ตอบ แบบสอบถามมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญกับ ๑๐ ปัจจัยจากทั้งหมด ๕๕ ปัจจัย ซึ่งได้แก่ การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ในการ จัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ(Sig. ๐๐๐), การรักษาความ สะอาดและการบํารุงรักษาห้องในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ ต่างๆ (Sig. ๐๐๑), ความหลากหลายของหนังสือและเอกสารในห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์ คอมพิวเตอร์บริการ(Sig. ๐๐๖), มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีในห้องสมุดและห้อง ผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (Sig. ๐๐๗), จํานวนหนังสือและเอกสารในห้องสมุดและห้อง ผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (Sig. ๐๑๐), มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีในโรง อาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร (Sig. ๐๑๓), ระบบระบายนํ้าตามแนวถนนในการจัด สภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ (Sig. ๐๑๙), ห้องเรียนมีจํานวน โต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับนิสิตนักศึกษาในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้อง บริการต่างๆ (Sig. ๐๒๓), มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ (Sig. ๐๓๔), สถานที่พักผ่อนในบริเวณ สถานศึกษา (Sig. ๐๔๖) ส่วนอีก ๔๕ ปัจจัยไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างเพศ กับ ความความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะ สังคม ศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม เป็นที่น่าสังเกตว่า มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญตรงกันถึง ๗ ปัจจัยระหว่างสถาน ภาพ และเพศของผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่มีแสงสว่างเพียงพอและระบายอากาศที่ดีใน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ (ข้อ ๖), การรักษาความ สะอาดและการบํารุงรักษาห้องในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการ ต่างๆ(ข้อ ๗), สถานที่พักผ่อนในบริเวณสถานศึกษา (ข้อ ๑๕), ความหลากหลายของหนังสือ และเอกสารในห้องสมุดและห้องผลิตสื่อศูนย์คอมพิวเตอร์บริการ (ข้อ ๒๒), มีแสงสว่าง เพียงพอและระบายอากาศที่ดีในโรงอาหารหรือสถานที่รับประทานอาหาร (ข้อ ๓๑), ระบบ
  • 26. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๖๙     ระบายนํ้าตามแนวถนนในการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทย บริการ (ข้อ ๔๙), และ การจัดระบบติดต่อสื่อสารภายในสถานศึกษา เช่น ระบบโทรศัพท์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ในการจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคของหน่วยวิทยบริการ (ข้อ ๕๒) ชั้นปีของนักศึกษา เมื่อใช้ F-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างชั้นปี กับ ความพึงพอใจต่อการใช้ อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระ อารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม สรุปได้ดังต่อไปนี้ ก. ความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับ อาคารเรียน   ตาราง ๔.๙ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับการใช้อาคาร และสถานที่ในหน่วยวิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอาราม หลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. a1 ระหว่างกลุ่ม 4.914 2 2.457 3.676 .027 ภายในกลุ่ม 165.086 247 .668 รวม 170.000 249 a2 ระหว่างกลุ่ม 7.851 2 3.926 5.944 .003 ภายในกลุ่ม 163.125 247 .660 รวม 170.976 249 a3 ระหว่างกลุ่ม 7.363 2 3.682 5.896 .003 ภายในกลุ่ม 154.237 247 .624 รวม 161.600 249 a4 ระหว่างกลุ่ม .460 2 .230 .326 .722 ภายในกลุ่ม 174.440 247 .706 รวม 174.900 249 a5 ระหว่างกลุ่ม 3.730 2 1.865 2.234 .109 ภายในกลุ่ม 206.226 247 .835 รวม 209.956 249  
  • 27. พระมหาโยตะ ปยุตฺโต (ชัยวรมันกุล) บทที่ ๔ ผลการวิจัย / ๗๐     จากตาราง ๔.๙ พบว่าความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญระหว่างความพึงพอใจของ นักศึกษาแต่ละชั้นปี กับการใช้อาคารและสถานที่ของนิสิตนักศึกษาหน่วยวิทยบริการ คณะ สังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม มีอยู่ ๓ปัจจัยได้แก่ การจัดระบบแสงสว่างภายในอาคาร(Sig = .๐๐๓), การจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ในอาคารเรียน (Sig =  .๐๐๓) และการจัดทําแผนผังอาคาร (Sig =  .๐๒๗)  ยังพบอีกว่าไม่มีความสัมพันธ์อย่างมี นัยสําคัญระหว่างความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับการใช้อาคารและสถานที่ในปัจจัย ความสะดวกในการใช้ประโยชน์ หรือ ห้องนํ้าห้องส้วมสําหรับนักศึกษา   ข. ความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้อง คอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆ    ตาราง ๔.๑๐ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจของนักศึกษาแต่ละชั้นปี กับห้องเรียน ห้องปฏิบัติการห้องคอมพิวเตอร์ และห้องบริการต่างๆในหน่วยวิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มจร. วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อ.สามพราน จ. นครปฐม   รายการ (items) Sum of Squares df Mean Square F Sig. b6 ระหว่างกลุ่ม 2.199 2 1.100 1.779 .171 ภายในกลุ่ม 152.701 247 .618 รวม 154.900 249 b7 ระหว่างกลุ่ม 2.413 2 1.206 1.817 .165 ภายในกลุ่ม 163.987 247 .664 รวม 166.400 249 b8 ระหว่างกลุ่ม 10.890 2 5.445 7.577 .001 ภายในกลุ่ม 177.510 247 .719 รวม 188.400 249 b9 ระหว่างกลุ่ม 1.958 2 .979 1.506 .224 ภายในกลุ่ม 160.558 247 .650 รวม 162.516 249 b10 ระหว่างกลุ่ม 2.868 2 1.434 2.023 .135 ภายในกลุ่ม 175.132 247 .709 รวม 178.000 249