SlideShare a Scribd company logo
หนวยที่ 3 การสรางตารางฐานขอมูล
หัวขอเรื่องและงาน
       การสรางตารางฐานขอมูล จากคําสั่งตาราง (Tables)             ชุดคําสั่งแมแบบตาราง (Table
Templates) และการออกแบบตาราง (Table Design)

สาระสําคัญ
          การสรางตารางฐานขอมูล จากคําสั่งตาราง (Tables) เปนการสรางตารางฐานขอมูลเปลา
ผู สรางต องจัด การเองทั้ ง หมด แต ถาสร า งตารางฐานขอมู ล จากชุ ด คํ าสั่งแมแ บบตาราง (Table
Templates) จะมีรายการยอยใหเลือก คือ ที่ติดตอ งาน ประเด็น เหตุการณ และสินทรัพย ซึ่งจะได
ตารางใหมที่มีฟลดและกําหนดชนิดและรูปแบบขอมูลมาใหเรียบรอยแลว สวนการสรางตาราง
ฐานขอมูล จากการออกแบบตาราง (Table Design) จะไดตารางใหมในมุมมองออกแบบที่มีหัว
ตารางเปนชื่อเขตขอมูล (ฟลด) ชนิดขอมูล และคําอธิบาย สวนดานลางเปนคุณสมบัติของขอมูลมี 2
แท็บ คือ ทั่วไปและคนหา ซึ่งมุมมองออกแบบนี้ เราตองตั้งชื่อเขตขอมูลหรือฟลดเปนแถวลงมา
และตองกําหนดคุณสมบัติของขอมูลทางดานลางไปดวยเลย

จุดประสงคการสอน
   จุดประสงคทั่วไป
           1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูล
           2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและมีทักษะในการสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ
           3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและมีทักษะในการนําเขาฐานขอมูลจากโปรแกรม Excel
2007

   จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
           1. สามารถอธิบายการกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูลได
           2. สามารถสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ ได
           3. สามารถนําเขาฐานขอมูลจากโปรแกรม Excel 2007 ได
3-2

เนื้อหา

1. กรณีศึกษา: การออกแบบฐานขอมูลที่จะนํามาใชในงาน Access 2007
          สรุปตารางที่ไดออกแบบในการเก็บขอมูลนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาหลักสูตรระยะสั้น
ของวิทยาลัยสารพัดชางพิษณุโลกเสร็จแลว ดังนี้
              1. ตารางขอมูลนักศึกษา มีฟลด ไดแก รหัสนักศึกษา (StudentID) ชื่อ นามสกุล ที่อยู
เมือง จังหวัด รหัสไปรษณีย วุฒิการศึกษา อาชีพ หมายเลขโทรศัพท เปนตน
              2. ตารางบั ต รลงทะเบี ย น มี ฟ ล ด ได แ ก รหั ส บั ต รลงทะเบี ย น (registerID) รหั ส
นักศึกษา (StudentID) วันที่ลงทะเบียน (dateRegister) เปนตน
              3. ตารางรายการลงทะเบียน มีฟลด ไดแก รหัสบัตรลงทะเบียน (registerID) รหัสวิชา
(subjectID) รหัสระยะเวลาที่เรียน (periodID) เปนตน
              4. ตารางวิ ช า มี ฟ ล ด ได แ ก รหั ส วิ ช า (subjectID) รหั ส วิ ช า (divisionID) ชื่ อ วิ ช า
(subjectName) คาลงทะเบียน (price) เปนตน
              5. ตารางแผนกวิ ช า มี ฟ ล ด ได แ ก รหั ส แผนกวิ ช า (divisionID) ชื่ อ แผนกวิ ช า
(divisionName) เปนตน
              6. ตารางครูผูสอน มีฟลด ไดแก รหัสระยะเวลาที่เรียน (periodID) ชื่อรอบระยะเวลา
ที่เรียน (periodName) ชื่อครูผูสอน (teacherfirstName) นามสกุลครูผูสอน (teacherlastName) เปน
ตน

2. สรางตารางฐานขอมูล (Table)
         รายละเอียดของแท็บคําสั่งสราง (Create) ในแถบเครื่องมือ Ribbon มีสวนประกอบของ
คําสั่งหลัก 4 กลุมคําสั่ง ดังนี้
              1. กลุมคําสั่งตาราง (Tables) ใชในการสรางฐานขอมูลในรูปแบบตาราง
              2. กลุมคําสั่งฟอรม (Forms) ใชในการสรางฐานขอมูลในรูปแบบฟอรม
              3. กลุมคําสั่งรายงาน (Reports) ใชในการสรางรายงาน
              4. กลุมคําสั่งอื่น ๆ (Other) ใชในการคิวรีขอมูล และการสรางแมโคร (Macros)




                                รูปที่ 3-1 กลุมคําสั่ง 4 กลุมของแท็บสราง
3-3

         กลุมคําสั่งตาราง (Tables) มีคําสั่งอยู 4 คําสั่ง ดังนี้
              1. ตาราง (Table) ใชในการสรางตารางใหม
              2. ชุดคําสั่งแมแบบตาราง (Table Templates) ใชในการสรางตารางใหมจากแมแบบ
              3. ชุดคําสั่งรายการ SharePoint (SharePoint Lists) เมื่อตองการใชขอมูลรวมกับผูใช
คนอื่น
             4. ออกแบบตาราง (Table Design) ใชในการสรางตารางจากมุมมองการออกแบบ




                  รูปที่ 3-2 กลุมคําสั่งสรางตารางฐานขอมูล 4 คําสั่งในแท็บสราง

       2.1 การสรางตาราง (Table)
                2.1.1 เริ่มสรางตารางใหม
                      ที่แท็บสรางกลุมคําสั่งตาราง คลิกปุมตาราง จะไดตารางชื่อ Table1 ที่มา
พรอมกับฟลด ID




                              รูปที่ 3-3 หนาตางของตารางขอมูลใหม

                  2.1.2 การเปลี่ยนชื่อฟลดหรือชื่อเขตขอมูลหรือคอลัมน
                         คลิกขวาที่ชื่อคอลัมน จะเปดเมนูลัด ใหเลือกรายการเปลี่ยนชื่อคอลัมน โดย
มีหลักการตั้งชื่อ ดังนี้
                         1. สามารถใชชื่อยาวไดถึง 64 ตัวอักษร
                         2. ชื่อตองไมขึ้นตนดวยชองวาง และไมควรมีชองวางระหวางชื่อ
                         3. ควรใชชื่อที่เขาใจไดงาย ชัดเจน และบงบอกถึงวัตถุประสงคของเขตขอมูล
                         4. อาจเปนตัวเลขและอักขระพิเศษประกอบดวยก็ได ยกเวนมหัพภาค (,)
อัศเจรีย (!) อัญประกาศคู (“ ”) และวงเล็บ [ ]
                         5. ชื่อเขตขอมูลตองไมซ้ํากันในตารางเดียวกัน
3-4

                       6. ตองไมซ้ํากับชื่อของคุณสมบัติหรือองคประกอบอื่น ๆ (คําสงวน) ที่ใช
ในโปรแกรม




            รูปที่ 3-4 สวนประกอบของฐานขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007

                2.1.3 การพิมพขอมูล เพิ่มเขตขอมูลใหม และการกําหนดชนิดขอมูล
                      ใหดับเบิลคลิกที่ฟลดเพื่อเพิ่มเขตขอมูลใหม แลวตั้งชื่อฟลด และใหคลิกที่
เซลลแลวพิมพขอมูลลงไปในเซลล แตตองกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูลเสียกอน โดยใช
แท็บคําสั่งตามบริบท คือ แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผนขอมูล (สีเหลือง)




                     รูปที่ 3-5 แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผนขอมูล (สีเหลือง)




                       รูปที่ 3-6 การกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูล
3-5

   ตารางที่ 3-1 รายละเอียดของชนิดขอมูล (Data Type)
     ชนิดขอมูล            Data Type                      ใชสําหรับ                               ขนาด
ขอความ                  Text              ขอความหรือตัวเลขที่ไมใชในการคํานวณ         สูงสุด 255 ไบต
                                                                                         (ตัวอักษร)
บันทึก                 Memo                 บันทึกขอความ                                สูงสุด 65,535 ไบต
                                                                                         (ตัวอักษร)
ตัวเลข                 Number               ตัวเลขที่ใชในการคํานวณ                      1,2,4 หรือ 8 ไบต
                                                                                         (ขึ้นอยูกับชนิดของ
                                                                                                 
                                                                                         ตัวเลข)
วันที่ / เวลา          Date / Time          วันเดือนป และเวลา                           8 ไบต
สกุลเงิน               Currency             สกุลเงินและตัวเลขจํานวนเงิน                  8 ไบต
หมายเลขอัตโนมัติ       AutoNumber           เลขลําดับอัตโนมัติ (เพิ่มทีละ 1)             4 ไบต
ใช / ไมใช           Yes / No             คาใดคาหนึ่งของ Yes / No, True/False        1 บิต
                                            หรือ On / Off
วัตถุ OLE              OLE Object           วัตถุอื่น เชน แผนงาน Excel, เอกสาร         สูงสุด 1 กิกะไบต
                                            Word, รูปภาพ, ไฟลเสียง และอื่นๆ
การเชื่อมโยงหลายมิติ Hyperlink              ที่อยูการเชื่อมโยงหลายมิติ เชน เว็บเพจ     2,048 ตัวอักษร
สรางเขตขอมูลการ    Lookup Wizard          เขตขอมูลการคนหา                            เทากับเขตขอมูลที่เปน
คนหา                                                                                    คียหลัก

               2.1.4 การบันทึกและปดตาราง
                     เมื่อตองการบันทึกตารางใหมใหคลิกปุมบันทึกที่แถบเครื่องมือดวน จะมี
  กรอบสนทนาชื่อบันทึกเปนถูกเปดขึ้นมา ใหตั้งชื่อตารางขอมูล แลวคลิกปุมตกลง




               รูปที่ 3-7 ขอมูลเมื่อไดปอนเสร็จสิ้นแลว ตองบันทึกเก็บไวในตารางวิชา
3-6

                         หรือถาบังเอิญไปคลิกที่ปุมปดตาราง โดยไมไดบันทึกกอน จะปรากฏแผน
เตือนวาตองการจะบันทึกตารางขอมูลนี้หรือไม ใหคลิกปุมใช จะมีกรอบสนทนาชื่อบันทึกเปนถูก
เปดขึ้นมา ใหตั้งชื่อตารางขอมูล แลวคลิกปุมตกลง




                รูปที่ 3-8 แผนคําเตือนเมื่อปดตารางโดยไมไดบันทึกตารางกอน

       2.2 การสรางตารางจากแมแบบตาราง (Table Templates)
              2.2.1 เริ่มสรางตารางจากแมแบบตาราง
                    เมื่อคลิกปุมแมแบบตารางแลว จะมีรายการยอยใหเลือก คือ ที่ติดตอ งาน
ประเด็น เหตุการณ และสินทรัพย ใหเลือกรายการที่ติดตอ จะไดตารางใหมที่มีฟลดและกําหนด
ชนิดและรูปแบบขอมูลมาใหเรียบรอยแลว




                       รูปที่ 3-9 การสรางตารางขอมูลจากแมแบบตาราง
3-7

                 2.2.2 การแกไขฟลดหรือคอลัมน
                         ในกรณีที่แมแบบตารางมีคอลัมนที่เราไมตองการ สามารถลบคอลัมนนั้นทิ้ง
  ได หรือสามารถที่จะเพิ่มเติมคอลัมนใหมได และสามารถแกไข แทรก เปลี่ยนชื่อ ตั้งความกวาง ยาย
  ซอน ตรึงคอลัมนได




                       รูปที่ 3-10 การแกไขคอลัมน ในที่นี้จะลบคอลัมนบริษัท

           2.3 การสรางตารางจากคําสังออกแบบตาราง (Table Design)
                                    ่
                  2.3.1 การสรางตารางจากมุมมองออกแบบ ตั้ งชื่อเขตขอมูล และกํา หนดชนิด
  ขอมูล
                         เมื่อคลิกปุมออกแบบตารางแลว จะไดตารางใหมในมุมมองออกแบบที่มีหัว
  ตารางเปนชื่อเขตขอมูล (ฟลด)ชนิดขอมูล และคําอธิบาย สวนดานลางเปนคุณสมบัติของขอมูลมี 2
  แท็บ คือ ทั่วไปและคนหา ซึ่งมุมมองออกแบบนี้ เราตองตั้งชื่อเขตขอมูลหรือฟลดเปนแถวลงมา
  และตองกําหนดคุณสมบัติของขอมูลทางดานลางไปดวยเลย
                         ขนาดเขตขอมูล (Field Size) ถาชนิดขอมูลเปนขอความ (Text) ขนาดที่ตั้ง
  ไวจะเปน 50 แตถาชนิดขอมูลเปนตัวเลข (Number) ขนาดที่ตั้งไวจะเปน Long Integer
   ตารางที่ 3-2 ขนาดและคาของขอมูลแบบตัวเลขขึ้นอยูกับแบบตัวเลขตาง ๆ
        แบบตัวเลข                       คาต่ําสุด                  คาสูงสุด              ขนาด (ไบต)
Byte                      0                               255                                  1
Integer                    -32,768                        32,767                                2
Long Integer               -2,147,483,648                 2,147,483,648                        4
Single                     -3.4 x 10 38                   3.4 x 10 38                           4
Double                     -1.797 x 10 308                1.797 x 10 308                        8
Replication ID            ทุกคาของทุกแบบ                 ทุกคาของทุกแบบ                      16
3-8

                     นอกจากนี้ยังมีแบบ Decimal ซึ่งเก็บคาทศนิยมไดถูกตองสูงสุด 18 ตําแหนง
(รวมตัวเลขทั้งหนาและหลังจุด)




     รูปที่ 3-11 การสรางตารางดวยคําสั่งออกแบบตารางและการตั้งชื่อและกําหนดชนิดขอมูล




                    รูปที่ 3-12 โปรแกรมไมอนุญาตใหใชชื่อคําสงวน Date
3-9




 รูปที่ 3-13 รูปแบบการปอนขอมูลวันที่/เวลา




รูปที่ 3-14 คําเตือนในการลบแถวหรือเขตขอมูล




รูปที่ 3-15 การกําหนดคียหลักใหกับเขตขอมูล
3-10




     รูปที่ 3-16 ถาไมไดกําหนดคียหลักใหกับเขตขอมูล Access จะดําเนินการใหเมื่อคลิกใช




                            รูปที่ 3-17 การบันทึกและตั้งชื่อตาราง

              2.3.2 การปอนขอมูล
                    เมื่อไดดําเนินการตั้งชื่อเขตขอมูลหรือฟลด กําหนดคุณสมบัติของขอมูล
และบันทึกตารางเสร็จแลว จะเขามาสูหนาตางการปอนขอมูล




                        รูปที่ 3-18 การปอนขอมูลลงในเซลลและตาราง
3-11




                    รูปที่ 3-19 ผลที่เกิดจากขอมูลมีมากกวาความกวางของคอลัมน




                   รูปที่ 3-20 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางบัตรลงทะเบียน

3. การนําขอมูลภายนอกเขามาในตารางฐานขอมูล Access 2007
           จากแท็บเครื่องมือขอมูลภายนอก สามารถนําเขาและสงออกฐานขอมูลไดอยางงาย ๆ ซึ่งใน
ที่นี้ไดมีตารางขอมูลนักศึกษาในโปรแกรม Excel 2007 ที่จะนําเขามาใชในฐานขอมูลของ Access
2007 โดยมีขั้นตอน ดังตอไปนี้
           3.1 แท็บขอมูลภายนอกนําเขาขอมูล Excel
                 ที่กลุมคําสั่งนําเขา ใหคลิกปุม Excel จะปรากฏแผนงานรับขอมูลจากภายนอก-
กระดาษคํ า นวณ Excel ในที่ นี้ ไ ด ค ลิ ก เลื อ กตั ว เลื อ กนํ า เข า ข อ มู ล ต น ฉบั บ ลงในตารางใหม ใ น
ฐานขอมูลปจจุบัน แลวเรียกดูไปที่แหลงของขอมูลที่ตองการ




รูปที่ 3-21 แท็บขอมูลภายนอกกับกลุมคําสั่งนําเขา สงออก รวบรวมขอมูล และรายการ SharePoint
                                    ในที่นี้คลิกปุม Excel
3-12




รูปที่ 3-22 ที่แผนงานรับขอมูลจากภายนอก-กระดาษคํานวณ Excel




    รูปที่ 3-23 เรียกดูไปทีแฟมขอมูลกระดาษคํานวณ Excel
                           ่
3-13




รูปที่ 3-24 เลือกตัวเลือกนําเขาขอมูลตนฉบับลงในตารางใหมในฐานขอมูลปจจุบัน




                        รูปที่ 3-25 คลิกปุมสลับไปยัง...




           รูปที่ 3-26 ผลลัพธจะสลับไปยังแผนงานของ Excel 2007
3-14

         3.2 การจัดการกับขอมูลภายนอกดวยตัวชวยนําเขากระดาษคํานวณ
               ที่แผนงานตัวชวยนําเขากระดาษคํานวณ ที่หัวตารางกระดาษคํานวณ Excel สามารถ
ที่จะนํามาเปนชื่อเขตขอมูลได แตถามีบางรายการที่ไมสามารถนํามาใชเปนชื่อเขตขอมูลได Access
2007 จะมีแผนเตือนและทําการปรับแตงขอมูลใหอัตโนมัติ และจะกําหนดคียหลักเองก็ได




                         รูปที่ 3-27 คลิกเลือกแถวแรกมีหัวของคอลัมน




                         รูปที่ 3-28 จัดการตั้งคาตัวเลือกของเขตขอมูล
3-15




  รูปที่ 3-29 จัดการเลือกคียหลักดวยตนเอง




รูปที่ 3-30 คําเตือนคียหลักไมสามารถมีคา Null
3-16




                 รูปที่ 3-31 นําขอมูลเขามาในตาราง




รูปที่ 3-32 ขั้นตอนการนําเขาสามารถที่จะบันทึก เพื่อนํามาจัดทําใหมได
3-17




     รูปที่ 3-33 ขอมูลใน Excel ไดถูกนําเขามาในฐานขอมูลของ Access 2007 เรียบรอยแลว

        3.3 การจัดการกับขอมูลที่นําเขามาในฐานขอมูล Access 2007
               ในตารางฐานขอมูลที่ไดนําเขากระดาษคํานวณมาแลว อาจตองมีการปรับปรุงแกไข
ขอมูลใหถูกตองตามคุณสมบัติของ Access 2007




                   รูปที่ 3-34 คลิกขวาเรียกเมนูลัดขึ้นมา เพื่อลบระเบียนวาง
3-18




รูปที่ 3-35 คลิกขวาเรียกเมนูลัดขึ้นมา เพื่อเปลี่ยนชื่อคอลัมน




         รูปที่ 3-36 ปอนขอมูลใหถูกตองครบถวน
3-19




                รูปที่ 3-37 การเปลี่ยนชื่อตารางฐานขอมูล




รูปที่ 3-38 การลบตารางฐานขอมูลนักศึกษาที่ไมตองการออกจากกลุมทั้งหมด
3-20

4. ผลลัพธจากการสรางตารางฐานขอมูล Access 2007




             รูปที่ 3-39 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางรายการลงทะเบียน




                 รูปที่ 3-40 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางแผนกวิชา
3-21




                    รูปที่ 3-41 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางครูผูสอน


กิจกรรม
          1. ใหนักศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับการกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูล
          2. ครูผูสอนสาธิตการสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ เปนตัวอยาง
          3. ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติการสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ และนําเขา
ฐานขอมูลจากโปรแกรม Excel 2007
          4. ครูและนักศึกษารวมกันอภิปรายผลและปญหาที่เกิดขึ้นจากกรณีศึกษาของแตละคน

แบบฝกหัด
            คําสั่ง ใหเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
             1. เมื่อเปดโปรแกรม Access 2007 แลวคลิกปุมตารางที่แท็บสรางกลุมคําสั่งตาราง จะ
ไดตารางชื่อวาอะไร
                ก. Doc1
                ข. Table1
                ค. Book1
                ง. Sheet1
             2. ปุมไอคอนใดที่เปนปุมเปดโปรแกรม Access 2007

              ก.
              ข.
              ค.
              ง.
3-22

3. จากรูปกรอบดานซายเรียกวาอะไร




   ก. ตาราง
   ข. มุมมอง
   ค. เขตขอมูล
   ง. บานหนาตางนําทาง
4. ขอใดเปนชนิดแฟมของ Access 2007
   ก. doc
   ข. xls
   ค. mdb
   ง. accdb
5. จากรูปเปนการสรางตารางที่มุมมองอะไร



   ก. มุมมองปกติ
   ข. มุมมองเคาโครง
   ค. มุมมองตาราง
   ง. มุมมองออกแบบ
6. รายการใดทีไมอยูในแมแบบตารางของแท็บสราง
                ่
   ก. โครงการ
   ข. งาน
   ค. ประเด็น
   ง. สินทรัพย
7. ถาจะนํากระดาษคํานวณ Excel เขามาในโปรแกรม Access 2007 ตองไปที่แท็บใด
   ก. หนาแรก
   ข. สราง
   ค. ขอมูลภายนอก
   ง. เครื่องมือฐานขอมูล
3-23

            8. ขอมูลแบบ Decimal จะสามารถเก็บคาทศนิยมไดถูกตองสูงสุดกี่ตําแหนง (รวม
ตัวเลขทั้งหนาและหลังจุด)
               ก. 2
               ข. 8
               ค. 18
               ง. 32
            9. หลักการตั้งชื่อคอลัมน ตั้งไดไมเกินกี่ตัวอักษร
               ก. 8
               ข. 16
               ค. 32
               ง. 64
            10. ชนิดขอมูลขอความ จะมีขนาดสูงสุดกี่ ไบต (ตัวอักษร)
               ก. 255
               ข. 256
               ค. 512
               ง. 1024

More Related Content

What's hot

Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 

What's hot (13)

Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
53011213099
5301121309953011213099
53011213099
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
Word1
Word1Word1
Word1
 
Word2
Word2Word2
Word2
 

Viewers also liked

X factor ppt with info at end
X factor ppt with info at endX factor ppt with info at end
X factor ppt with info at endeophiladelphia
 
Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0
Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0
Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0
Washington, DC Economic Partnership
 
St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...
St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...
St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...
Washington, DC Economic Partnership
 
Video1
Video1Video1
Video1
mairabeltran
 
Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.
Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.
Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.
Washington, DC Economic Partnership
 
Pdhpe rationale
Pdhpe rationalePdhpe rationale
Pdhpe rationaleOHARA295
 
DoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government Contracting
DoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government ContractingDoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government Contracting
DoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government Contracting
Washington, DC Economic Partnership
 
Innovation Spaces - Spanish
Innovation Spaces - SpanishInnovation Spaces - Spanish
Innovation Spaces - Spanish
Technology & Social Change Group
 
Fe fluid mechanics
Fe fluid mechanicsFe fluid mechanics
Fe fluid mechanics
Aneel Ahmad
 
A benzene mapping_presentation
A benzene mapping_presentationA benzene mapping_presentation
A benzene mapping_presentationkhrystallramos
 
WDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship Kit
WDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship KitWDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship Kit
WDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship Kit
Washington, DC Economic Partnership
 
Emotional Intelligence
Emotional IntelligenceEmotional Intelligence
Emotional Intelligence
Sowunmi Gbemisola
 
CE Partners meeting Nrb enos_Swahili version
CE Partners meeting Nrb enos_Swahili versionCE Partners meeting Nrb enos_Swahili version
CE Partners meeting Nrb enos_Swahili version
Enos Omondi
 
The Optimizers Activities
The Optimizers ActivitiesThe Optimizers Activities
The Optimizers Activities
fareehahabib
 
Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...
Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...
Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...
Washington, DC Economic Partnership
 
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
Washington, DC Economic Partnership
 
HCFO | Registration & Licensing
HCFO | Registration & LicensingHCFO | Registration & Licensing
HCFO | Registration & Licensing
Washington, DC Economic Partnership
 

Viewers also liked (20)

X factor ppt with info at end
X factor ppt with info at endX factor ppt with info at end
X factor ppt with info at end
 
Siraporn boonyarit
Siraporn boonyaritSiraporn boonyarit
Siraporn boonyarit
 
Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0
Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0
Business Incentives | Great Streets | Doing Business 2.0
 
The role of libraries in the new age: A view from abroad
The role of libraries in the new age: A view from abroadThe role of libraries in the new age: A view from abroad
The role of libraries in the new age: A view from abroad
 
St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...
St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...
St Elizabeths East Request for Expressions of Interest for an Academic & Rese...
 
Video1
Video1Video1
Video1
 
Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.
Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.
Marketing & Branding Essentials I Washington Concepts, Inc.
 
Pdhpe rationale
Pdhpe rationalePdhpe rationale
Pdhpe rationale
 
DoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government Contracting
DoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government ContractingDoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government Contracting
DoingBusiness2.0 Presentation: Bell Architects on Government Contracting
 
Siraporn boonyarit
Siraporn boonyaritSiraporn boonyarit
Siraporn boonyarit
 
Innovation Spaces - Spanish
Innovation Spaces - SpanishInnovation Spaces - Spanish
Innovation Spaces - Spanish
 
Fe fluid mechanics
Fe fluid mechanicsFe fluid mechanics
Fe fluid mechanics
 
A benzene mapping_presentation
A benzene mapping_presentationA benzene mapping_presentation
A benzene mapping_presentation
 
WDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship Kit
WDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship KitWDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship Kit
WDCEP's 2014 Annual Meeting & Development Showcase Sponsorship Kit
 
Emotional Intelligence
Emotional IntelligenceEmotional Intelligence
Emotional Intelligence
 
CE Partners meeting Nrb enos_Swahili version
CE Partners meeting Nrb enos_Swahili versionCE Partners meeting Nrb enos_Swahili version
CE Partners meeting Nrb enos_Swahili version
 
The Optimizers Activities
The Optimizers ActivitiesThe Optimizers Activities
The Optimizers Activities
 
Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...
Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...
Doing Business in DC | Starting and Growing a Franchise | Strategies for Mana...
 
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
 
HCFO | Registration & Licensing
HCFO | Registration & LicensingHCFO | Registration & Licensing
HCFO | Registration & Licensing
 

Similar to บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล

นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4ครูเพชร
 
Database
DatabaseDatabase
Database
kruninkppk
 
Database analysis & pivot table
Database analysis & pivot tableDatabase analysis & pivot table
Database analysis & pivot table
smittichai chaiyawong
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsAiice Pimsupuk
 
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางMeaw Sukee
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 

Similar to บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล (20)

4
44
4
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Database analysis & pivot table
Database analysis & pivot tableDatabase analysis & pivot table
Database analysis & pivot table
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตารางใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
ใบความรู้ที่ 3 การตกแต่งข้อมูลและตาราง
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
52011011220
5201101122052011011220
52011011220
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 

บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล

  • 1. หนวยที่ 3 การสรางตารางฐานขอมูล หัวขอเรื่องและงาน การสรางตารางฐานขอมูล จากคําสั่งตาราง (Tables) ชุดคําสั่งแมแบบตาราง (Table Templates) และการออกแบบตาราง (Table Design) สาระสําคัญ การสรางตารางฐานขอมูล จากคําสั่งตาราง (Tables) เปนการสรางตารางฐานขอมูลเปลา ผู สรางต องจัด การเองทั้ ง หมด แต ถาสร า งตารางฐานขอมู ล จากชุ ด คํ าสั่งแมแ บบตาราง (Table Templates) จะมีรายการยอยใหเลือก คือ ที่ติดตอ งาน ประเด็น เหตุการณ และสินทรัพย ซึ่งจะได ตารางใหมที่มีฟลดและกําหนดชนิดและรูปแบบขอมูลมาใหเรียบรอยแลว สวนการสรางตาราง ฐานขอมูล จากการออกแบบตาราง (Table Design) จะไดตารางใหมในมุมมองออกแบบที่มีหัว ตารางเปนชื่อเขตขอมูล (ฟลด) ชนิดขอมูล และคําอธิบาย สวนดานลางเปนคุณสมบัติของขอมูลมี 2 แท็บ คือ ทั่วไปและคนหา ซึ่งมุมมองออกแบบนี้ เราตองตั้งชื่อเขตขอมูลหรือฟลดเปนแถวลงมา และตองกําหนดคุณสมบัติของขอมูลทางดานลางไปดวยเลย จุดประสงคการสอน จุดประสงคทั่วไป 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูล 2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและมีทักษะในการสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ 3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจและมีทักษะในการนําเขาฐานขอมูลจากโปรแกรม Excel 2007 จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. สามารถอธิบายการกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูลได 2. สามารถสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ ได 3. สามารถนําเขาฐานขอมูลจากโปรแกรม Excel 2007 ได
  • 2. 3-2 เนื้อหา 1. กรณีศึกษา: การออกแบบฐานขอมูลที่จะนํามาใชในงาน Access 2007 สรุปตารางที่ไดออกแบบในการเก็บขอมูลนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาหลักสูตรระยะสั้น ของวิทยาลัยสารพัดชางพิษณุโลกเสร็จแลว ดังนี้ 1. ตารางขอมูลนักศึกษา มีฟลด ไดแก รหัสนักศึกษา (StudentID) ชื่อ นามสกุล ที่อยู เมือง จังหวัด รหัสไปรษณีย วุฒิการศึกษา อาชีพ หมายเลขโทรศัพท เปนตน 2. ตารางบั ต รลงทะเบี ย น มี ฟ ล ด ได แ ก รหั ส บั ต รลงทะเบี ย น (registerID) รหั ส นักศึกษา (StudentID) วันที่ลงทะเบียน (dateRegister) เปนตน 3. ตารางรายการลงทะเบียน มีฟลด ไดแก รหัสบัตรลงทะเบียน (registerID) รหัสวิชา (subjectID) รหัสระยะเวลาที่เรียน (periodID) เปนตน 4. ตารางวิ ช า มี ฟ ล ด ได แ ก รหั ส วิ ช า (subjectID) รหั ส วิ ช า (divisionID) ชื่ อ วิ ช า (subjectName) คาลงทะเบียน (price) เปนตน 5. ตารางแผนกวิ ช า มี ฟ ล ด ได แ ก รหั ส แผนกวิ ช า (divisionID) ชื่ อ แผนกวิ ช า (divisionName) เปนตน 6. ตารางครูผูสอน มีฟลด ไดแก รหัสระยะเวลาที่เรียน (periodID) ชื่อรอบระยะเวลา ที่เรียน (periodName) ชื่อครูผูสอน (teacherfirstName) นามสกุลครูผูสอน (teacherlastName) เปน ตน 2. สรางตารางฐานขอมูล (Table) รายละเอียดของแท็บคําสั่งสราง (Create) ในแถบเครื่องมือ Ribbon มีสวนประกอบของ คําสั่งหลัก 4 กลุมคําสั่ง ดังนี้ 1. กลุมคําสั่งตาราง (Tables) ใชในการสรางฐานขอมูลในรูปแบบตาราง 2. กลุมคําสั่งฟอรม (Forms) ใชในการสรางฐานขอมูลในรูปแบบฟอรม 3. กลุมคําสั่งรายงาน (Reports) ใชในการสรางรายงาน 4. กลุมคําสั่งอื่น ๆ (Other) ใชในการคิวรีขอมูล และการสรางแมโคร (Macros) รูปที่ 3-1 กลุมคําสั่ง 4 กลุมของแท็บสราง
  • 3. 3-3 กลุมคําสั่งตาราง (Tables) มีคําสั่งอยู 4 คําสั่ง ดังนี้ 1. ตาราง (Table) ใชในการสรางตารางใหม 2. ชุดคําสั่งแมแบบตาราง (Table Templates) ใชในการสรางตารางใหมจากแมแบบ 3. ชุดคําสั่งรายการ SharePoint (SharePoint Lists) เมื่อตองการใชขอมูลรวมกับผูใช คนอื่น 4. ออกแบบตาราง (Table Design) ใชในการสรางตารางจากมุมมองการออกแบบ รูปที่ 3-2 กลุมคําสั่งสรางตารางฐานขอมูล 4 คําสั่งในแท็บสราง 2.1 การสรางตาราง (Table) 2.1.1 เริ่มสรางตารางใหม ที่แท็บสรางกลุมคําสั่งตาราง คลิกปุมตาราง จะไดตารางชื่อ Table1 ที่มา พรอมกับฟลด ID รูปที่ 3-3 หนาตางของตารางขอมูลใหม 2.1.2 การเปลี่ยนชื่อฟลดหรือชื่อเขตขอมูลหรือคอลัมน คลิกขวาที่ชื่อคอลัมน จะเปดเมนูลัด ใหเลือกรายการเปลี่ยนชื่อคอลัมน โดย มีหลักการตั้งชื่อ ดังนี้ 1. สามารถใชชื่อยาวไดถึง 64 ตัวอักษร 2. ชื่อตองไมขึ้นตนดวยชองวาง และไมควรมีชองวางระหวางชื่อ 3. ควรใชชื่อที่เขาใจไดงาย ชัดเจน และบงบอกถึงวัตถุประสงคของเขตขอมูล 4. อาจเปนตัวเลขและอักขระพิเศษประกอบดวยก็ได ยกเวนมหัพภาค (,) อัศเจรีย (!) อัญประกาศคู (“ ”) และวงเล็บ [ ] 5. ชื่อเขตขอมูลตองไมซ้ํากันในตารางเดียวกัน
  • 4. 3-4 6. ตองไมซ้ํากับชื่อของคุณสมบัติหรือองคประกอบอื่น ๆ (คําสงวน) ที่ใช ในโปรแกรม รูปที่ 3-4 สวนประกอบของฐานขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007 2.1.3 การพิมพขอมูล เพิ่มเขตขอมูลใหม และการกําหนดชนิดขอมูล ใหดับเบิลคลิกที่ฟลดเพื่อเพิ่มเขตขอมูลใหม แลวตั้งชื่อฟลด และใหคลิกที่ เซลลแลวพิมพขอมูลลงไปในเซลล แตตองกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูลเสียกอน โดยใช แท็บคําสั่งตามบริบท คือ แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผนขอมูล (สีเหลือง) รูปที่ 3-5 แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผนขอมูล (สีเหลือง) รูปที่ 3-6 การกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูล
  • 5. 3-5 ตารางที่ 3-1 รายละเอียดของชนิดขอมูล (Data Type) ชนิดขอมูล Data Type ใชสําหรับ ขนาด ขอความ Text ขอความหรือตัวเลขที่ไมใชในการคํานวณ สูงสุด 255 ไบต (ตัวอักษร) บันทึก Memo บันทึกขอความ สูงสุด 65,535 ไบต (ตัวอักษร) ตัวเลข Number ตัวเลขที่ใชในการคํานวณ 1,2,4 หรือ 8 ไบต (ขึ้นอยูกับชนิดของ  ตัวเลข) วันที่ / เวลา Date / Time วันเดือนป และเวลา 8 ไบต สกุลเงิน Currency สกุลเงินและตัวเลขจํานวนเงิน 8 ไบต หมายเลขอัตโนมัติ AutoNumber เลขลําดับอัตโนมัติ (เพิ่มทีละ 1) 4 ไบต ใช / ไมใช Yes / No คาใดคาหนึ่งของ Yes / No, True/False 1 บิต หรือ On / Off วัตถุ OLE OLE Object วัตถุอื่น เชน แผนงาน Excel, เอกสาร สูงสุด 1 กิกะไบต Word, รูปภาพ, ไฟลเสียง และอื่นๆ การเชื่อมโยงหลายมิติ Hyperlink ที่อยูการเชื่อมโยงหลายมิติ เชน เว็บเพจ 2,048 ตัวอักษร สรางเขตขอมูลการ Lookup Wizard เขตขอมูลการคนหา เทากับเขตขอมูลที่เปน คนหา คียหลัก 2.1.4 การบันทึกและปดตาราง เมื่อตองการบันทึกตารางใหมใหคลิกปุมบันทึกที่แถบเครื่องมือดวน จะมี กรอบสนทนาชื่อบันทึกเปนถูกเปดขึ้นมา ใหตั้งชื่อตารางขอมูล แลวคลิกปุมตกลง รูปที่ 3-7 ขอมูลเมื่อไดปอนเสร็จสิ้นแลว ตองบันทึกเก็บไวในตารางวิชา
  • 6. 3-6 หรือถาบังเอิญไปคลิกที่ปุมปดตาราง โดยไมไดบันทึกกอน จะปรากฏแผน เตือนวาตองการจะบันทึกตารางขอมูลนี้หรือไม ใหคลิกปุมใช จะมีกรอบสนทนาชื่อบันทึกเปนถูก เปดขึ้นมา ใหตั้งชื่อตารางขอมูล แลวคลิกปุมตกลง รูปที่ 3-8 แผนคําเตือนเมื่อปดตารางโดยไมไดบันทึกตารางกอน 2.2 การสรางตารางจากแมแบบตาราง (Table Templates) 2.2.1 เริ่มสรางตารางจากแมแบบตาราง เมื่อคลิกปุมแมแบบตารางแลว จะมีรายการยอยใหเลือก คือ ที่ติดตอ งาน ประเด็น เหตุการณ และสินทรัพย ใหเลือกรายการที่ติดตอ จะไดตารางใหมที่มีฟลดและกําหนด ชนิดและรูปแบบขอมูลมาใหเรียบรอยแลว รูปที่ 3-9 การสรางตารางขอมูลจากแมแบบตาราง
  • 7. 3-7 2.2.2 การแกไขฟลดหรือคอลัมน ในกรณีที่แมแบบตารางมีคอลัมนที่เราไมตองการ สามารถลบคอลัมนนั้นทิ้ง ได หรือสามารถที่จะเพิ่มเติมคอลัมนใหมได และสามารถแกไข แทรก เปลี่ยนชื่อ ตั้งความกวาง ยาย ซอน ตรึงคอลัมนได รูปที่ 3-10 การแกไขคอลัมน ในที่นี้จะลบคอลัมนบริษัท 2.3 การสรางตารางจากคําสังออกแบบตาราง (Table Design) ่ 2.3.1 การสรางตารางจากมุมมองออกแบบ ตั้ งชื่อเขตขอมูล และกํา หนดชนิด ขอมูล เมื่อคลิกปุมออกแบบตารางแลว จะไดตารางใหมในมุมมองออกแบบที่มีหัว ตารางเปนชื่อเขตขอมูล (ฟลด)ชนิดขอมูล และคําอธิบาย สวนดานลางเปนคุณสมบัติของขอมูลมี 2 แท็บ คือ ทั่วไปและคนหา ซึ่งมุมมองออกแบบนี้ เราตองตั้งชื่อเขตขอมูลหรือฟลดเปนแถวลงมา และตองกําหนดคุณสมบัติของขอมูลทางดานลางไปดวยเลย ขนาดเขตขอมูล (Field Size) ถาชนิดขอมูลเปนขอความ (Text) ขนาดที่ตั้ง ไวจะเปน 50 แตถาชนิดขอมูลเปนตัวเลข (Number) ขนาดที่ตั้งไวจะเปน Long Integer ตารางที่ 3-2 ขนาดและคาของขอมูลแบบตัวเลขขึ้นอยูกับแบบตัวเลขตาง ๆ แบบตัวเลข คาต่ําสุด คาสูงสุด ขนาด (ไบต) Byte 0 255 1 Integer -32,768 32,767 2 Long Integer -2,147,483,648 2,147,483,648 4 Single -3.4 x 10 38 3.4 x 10 38 4 Double -1.797 x 10 308 1.797 x 10 308 8 Replication ID ทุกคาของทุกแบบ ทุกคาของทุกแบบ 16
  • 8. 3-8 นอกจากนี้ยังมีแบบ Decimal ซึ่งเก็บคาทศนิยมไดถูกตองสูงสุด 18 ตําแหนง (รวมตัวเลขทั้งหนาและหลังจุด) รูปที่ 3-11 การสรางตารางดวยคําสั่งออกแบบตารางและการตั้งชื่อและกําหนดชนิดขอมูล รูปที่ 3-12 โปรแกรมไมอนุญาตใหใชชื่อคําสงวน Date
  • 9. 3-9 รูปที่ 3-13 รูปแบบการปอนขอมูลวันที่/เวลา รูปที่ 3-14 คําเตือนในการลบแถวหรือเขตขอมูล รูปที่ 3-15 การกําหนดคียหลักใหกับเขตขอมูล
  • 10. 3-10 รูปที่ 3-16 ถาไมไดกําหนดคียหลักใหกับเขตขอมูล Access จะดําเนินการใหเมื่อคลิกใช รูปที่ 3-17 การบันทึกและตั้งชื่อตาราง 2.3.2 การปอนขอมูล เมื่อไดดําเนินการตั้งชื่อเขตขอมูลหรือฟลด กําหนดคุณสมบัติของขอมูล และบันทึกตารางเสร็จแลว จะเขามาสูหนาตางการปอนขอมูล รูปที่ 3-18 การปอนขอมูลลงในเซลลและตาราง
  • 11. 3-11 รูปที่ 3-19 ผลที่เกิดจากขอมูลมีมากกวาความกวางของคอลัมน รูปที่ 3-20 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางบัตรลงทะเบียน 3. การนําขอมูลภายนอกเขามาในตารางฐานขอมูล Access 2007 จากแท็บเครื่องมือขอมูลภายนอก สามารถนําเขาและสงออกฐานขอมูลไดอยางงาย ๆ ซึ่งใน ที่นี้ไดมีตารางขอมูลนักศึกษาในโปรแกรม Excel 2007 ที่จะนําเขามาใชในฐานขอมูลของ Access 2007 โดยมีขั้นตอน ดังตอไปนี้ 3.1 แท็บขอมูลภายนอกนําเขาขอมูล Excel ที่กลุมคําสั่งนําเขา ใหคลิกปุม Excel จะปรากฏแผนงานรับขอมูลจากภายนอก- กระดาษคํ า นวณ Excel ในที่ นี้ ไ ด ค ลิ ก เลื อ กตั ว เลื อ กนํ า เข า ข อ มู ล ต น ฉบั บ ลงในตารางใหม ใ น ฐานขอมูลปจจุบัน แลวเรียกดูไปที่แหลงของขอมูลที่ตองการ รูปที่ 3-21 แท็บขอมูลภายนอกกับกลุมคําสั่งนําเขา สงออก รวบรวมขอมูล และรายการ SharePoint ในที่นี้คลิกปุม Excel
  • 12. 3-12 รูปที่ 3-22 ที่แผนงานรับขอมูลจากภายนอก-กระดาษคํานวณ Excel รูปที่ 3-23 เรียกดูไปทีแฟมขอมูลกระดาษคํานวณ Excel ่
  • 13. 3-13 รูปที่ 3-24 เลือกตัวเลือกนําเขาขอมูลตนฉบับลงในตารางใหมในฐานขอมูลปจจุบัน รูปที่ 3-25 คลิกปุมสลับไปยัง... รูปที่ 3-26 ผลลัพธจะสลับไปยังแผนงานของ Excel 2007
  • 14. 3-14 3.2 การจัดการกับขอมูลภายนอกดวยตัวชวยนําเขากระดาษคํานวณ ที่แผนงานตัวชวยนําเขากระดาษคํานวณ ที่หัวตารางกระดาษคํานวณ Excel สามารถ ที่จะนํามาเปนชื่อเขตขอมูลได แตถามีบางรายการที่ไมสามารถนํามาใชเปนชื่อเขตขอมูลได Access 2007 จะมีแผนเตือนและทําการปรับแตงขอมูลใหอัตโนมัติ และจะกําหนดคียหลักเองก็ได รูปที่ 3-27 คลิกเลือกแถวแรกมีหัวของคอลัมน รูปที่ 3-28 จัดการตั้งคาตัวเลือกของเขตขอมูล
  • 15. 3-15 รูปที่ 3-29 จัดการเลือกคียหลักดวยตนเอง รูปที่ 3-30 คําเตือนคียหลักไมสามารถมีคา Null
  • 16. 3-16 รูปที่ 3-31 นําขอมูลเขามาในตาราง รูปที่ 3-32 ขั้นตอนการนําเขาสามารถที่จะบันทึก เพื่อนํามาจัดทําใหมได
  • 17. 3-17 รูปที่ 3-33 ขอมูลใน Excel ไดถูกนําเขามาในฐานขอมูลของ Access 2007 เรียบรอยแลว 3.3 การจัดการกับขอมูลที่นําเขามาในฐานขอมูล Access 2007 ในตารางฐานขอมูลที่ไดนําเขากระดาษคํานวณมาแลว อาจตองมีการปรับปรุงแกไข ขอมูลใหถูกตองตามคุณสมบัติของ Access 2007 รูปที่ 3-34 คลิกขวาเรียกเมนูลัดขึ้นมา เพื่อลบระเบียนวาง
  • 18. 3-18 รูปที่ 3-35 คลิกขวาเรียกเมนูลัดขึ้นมา เพื่อเปลี่ยนชื่อคอลัมน รูปที่ 3-36 ปอนขอมูลใหถูกตองครบถวน
  • 19. 3-19 รูปที่ 3-37 การเปลี่ยนชื่อตารางฐานขอมูล รูปที่ 3-38 การลบตารางฐานขอมูลนักศึกษาที่ไมตองการออกจากกลุมทั้งหมด
  • 20. 3-20 4. ผลลัพธจากการสรางตารางฐานขอมูล Access 2007 รูปที่ 3-39 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางรายการลงทะเบียน รูปที่ 3-40 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางแผนกวิชา
  • 21. 3-21 รูปที่ 3-41 ขอมูลที่ไดปอนเสร็จสิ้นแลวในตารางครูผูสอน กิจกรรม 1. ใหนักศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับการกําหนดชนิดและรูปแบบใหกับขอมูล 2. ครูผูสอนสาธิตการสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ เปนตัวอยาง 3. ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติการสรางตารางฐานขอมูลดวยคําสั่งตาง ๆ และนําเขา ฐานขอมูลจากโปรแกรม Excel 2007 4. ครูและนักศึกษารวมกันอภิปรายผลและปญหาที่เกิดขึ้นจากกรณีศึกษาของแตละคน แบบฝกหัด คําสั่ง ใหเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. เมื่อเปดโปรแกรม Access 2007 แลวคลิกปุมตารางที่แท็บสรางกลุมคําสั่งตาราง จะ ไดตารางชื่อวาอะไร ก. Doc1 ข. Table1 ค. Book1 ง. Sheet1 2. ปุมไอคอนใดที่เปนปุมเปดโปรแกรม Access 2007 ก. ข. ค. ง.
  • 22. 3-22 3. จากรูปกรอบดานซายเรียกวาอะไร ก. ตาราง ข. มุมมอง ค. เขตขอมูล ง. บานหนาตางนําทาง 4. ขอใดเปนชนิดแฟมของ Access 2007 ก. doc ข. xls ค. mdb ง. accdb 5. จากรูปเปนการสรางตารางที่มุมมองอะไร ก. มุมมองปกติ ข. มุมมองเคาโครง ค. มุมมองตาราง ง. มุมมองออกแบบ 6. รายการใดทีไมอยูในแมแบบตารางของแท็บสราง ่ ก. โครงการ ข. งาน ค. ประเด็น ง. สินทรัพย 7. ถาจะนํากระดาษคํานวณ Excel เขามาในโปรแกรม Access 2007 ตองไปที่แท็บใด ก. หนาแรก ข. สราง ค. ขอมูลภายนอก ง. เครื่องมือฐานขอมูล
  • 23. 3-23 8. ขอมูลแบบ Decimal จะสามารถเก็บคาทศนิยมไดถูกตองสูงสุดกี่ตําแหนง (รวม ตัวเลขทั้งหนาและหลังจุด) ก. 2 ข. 8 ค. 18 ง. 32 9. หลักการตั้งชื่อคอลัมน ตั้งไดไมเกินกี่ตัวอักษร ก. 8 ข. 16 ค. 32 ง. 64 10. ชนิดขอมูลขอความ จะมีขนาดสูงสุดกี่ ไบต (ตัวอักษร) ก. 255 ข. 256 ค. 512 ง. 1024