SlideShare a Scribd company logo
สาละลังกา ชื่อพื้นเมือง  สาละลังกา   ,   ลูกปืนใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์   Couroupita guianensis  Aubl.  ชื่อสามัญ   Cannonball Tree  ชื่อวงศ์  LECYTHIDACEAE  
การกระจายพันธุ์ มีผู้นำต้นไม้ชนิดนี้มาจากประเทศลังกา และได้รับการบอกเล่าจากทางลังกาว่าเป็น  “ ต้นสาละ ”  เลยเกิดความสับสนฉงนกันไปใหญ่ ซึ่งอันที่จริงแล้ว  “ สาละลังกา ”  นั้นนำมาจากประเทศคิวบาอีกต่อหนึ่งโดยลังกาได้มาปลูกประมาณปี พ . ศ .2422  ส่วนประเทศไทยปลูกเมื่อปี พ . ศ .2500  คิวบา ศรีลังกาพ . ศ .2422 ไทยพ . ศ .2500
การศึกษาด้านรูปลักษณ์ของสาละลังกา
การศึกษาลักษณะทรงพุ่ม สรุป จากการศึกษา และสังเกต พบว่าทรงพุ่ม ของต้นสาละ มีลักษณะกลม และมีลักษณะ หนาทึบ
การศึกษาการผลัดใบของต้นสาละลังกา จาการสังเกตการผลัดใบของต้นสาละลังกาพบว่าการผลัดใบของต้นสาละลังกานั้นเวลาผลัดใบ ใบจะร่วงหมดทั้งต้น แล้วจึงแตกใบใหม่หลังจากใบร่วงหมด แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าต้นสาละลังกาแต่ละต้นนั้นจะมีการผลัดใบไม่พร้อมกัน โดยที่โรงเรียนนั้นมีสาละลังกาอยู่  2  ต้น ซึ่งการผลัดใบนั้นจะสลับกัน
การศึกษาผิวลำต้น จากการสังเกตลักษณะผิวลำต้นของ  ต้นสาละลังกา พบว่า -  ลำต้น มีพื้นสี เทา และมีลายสีน้ำตาลเป็น ทางยาวตามความสูงของลำต้น -  ผิวของลำต้น นั้นมีลักษณะ ขรุขระ และตกสะเก็ดอย่างชัดจน
การศึกษาลักษณะใบ ของต้นสาละลังกา   ใบ มีการเรียงตัวแบบเวียนสลับออกตามปลายกิ่ง การเรียงตัวของใบ
การศึกษาขนาดของใบ ขนาดของใบในแต่ละชั้นของบันไดเวียนนั้นมีขนาดไม่แน่นอน  แต่มีแนวโน้มว่าใบที่อยู่ทางด้านล่างนั้นจะมีขนาดใหญ่กว่า ทางด้านบน   ปลายกิ่ง  โคนกิ่ง จากการศึกษาขนาดของใบ ที่มีการเรียงตัวแบบเวียน พบว่า
ขนาดของใบเมื่อโตเต็มที่  มีความกว้าง ประมาณ  7-8  เซนติเมตร  ยาวประมาณ  20 -21  เซนติเมตร การศึกษาขนาดของใบ  ( ต่อ )
ต้นที่  1  ผลัดใบก่อน  ต้นที่  2  ยังไม่ผลัดใบ การศึกษาพบว่า  สีของใบที่อยู่ในต้นเดียวกันนั้น มีความแตกต่างกันน้อยมาก จนสังเกตได้ยาก โดยใบที่อยู่ส่วนปลายยอด และโคนยอด จะมีสีไม่แตกต่างกันมากนัก  คือมีสีเขียวเข้ม ใบมีลักษณะเป็นมัน  ส่วนใบของต้นที่ผลิใบใหม่นั้นสีจะค่อนข้างอ่อนกว่าต้นที่ยังไม่ผลัดใบ การศึกษาลักษณะสีของใบ
การศึกษารูปร่างของใบ  ปลายใบ  โคนใบ ในการศึกษาลักษณะรูปร่างของใบต้องเลือกใบไม้ที่มีความสมบูรณ์ไม่เป็นโรคหรือมีแมลงกัดกิน จากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่า  ใบเป็นรูปหอกกลับ   ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม ปลายแหลม  (acute )   โคนรูปลิ่ม (cuneate)
ปุ่มหนามแข็ง   การศึกษาลักษณะขอบใบของต้นสาละลังกา จากการสังเกตพบว่าขอบใบมีลักษณะ จักสั้นหรือตื้น เมื่อนำมือไปลูบจะรู้สึกสากมือ เนื่องจากมีปุ่มหนามแข็งเล็กสั้นอยู่บริเวณขอบใบ ซึ่งปุ่ม นั้นจากอยู่กันอย่างห่างๆ ไม่ชิดกันมากนัก
  ดอกของต้นสาละลังกาเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีลักษณะเป็นช่อกระจะ  ออกตามลำต้น  ดอกมีสี ชมพูอมเหลือง จนถึงแดงอมเหลือง กลีบดอกเรียงซ้อนเหลื่อมกัน (imbricate)  ลักษณะดอกมีสมมาตรตามรัศมี  ลักษณะโครงสร้างเป็นแบบ  Periggynous Flower การศึกษาลักษณะดอกของต้นสาละลังกา
การศึกษาส่วนประกอบของดอกสาละลังกา ในการศึกษาเราได้แยกส่วนประกอบของดอกสาละออกทีละส่วนและนำมาศึกษาเป็นส่วนๆ เพื่อง่ายต่อการศึกษา  ดังนี้ ก้านชูดอก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ก้านชูดอก ฐานรองดอก กลีบดอก เกสร
เกสรตัวเมีย เกสรตัวผู้ ลักษณะเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย
การศึกษาลักษณะเกสรตัวผู้   ลักษณะสี   ของก้านชู เกสรตัวผู้  ก้านชูเกสรตัวผู้ที่อยู่ทางด้านล่างสุดนั้นจะมีสีชมพู และจะค่อยๆจางลงในชั้นที่อยู่สูงขึ้นไป จนเหลือแต่สีเหลือง
การศึกษาจำนวนของเกสรตัวผู้ การนับจำนวนเกสรตัวผู้ จะนับแยกกันระหว่างเกสรตัวผู้ส่วนบน และส่วนล่าง โดยพบว่าเกสรตัวผู้ส่วนล่าง มีจำนวนประมาณ 440 อัน และเกสรตัวผู้ส่วนบนมีจำนวนประมาณ 840 อัน   เกสรส่วนบน เกสรส่วนล่าง
การศึกษาเราจะใช้กล้องจุลทรรศน์ และกล้องถ่ายรูปดิจิตอล โดยการนำอับเรณูมาบี้ให้แตกแล้วนำไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ใช้กำลังขยาย  40  เท่า เมื่อได้ภาพที่ต้องการจึงถ่ายรูปด้วยกล้องดิจิตองโดยใช้กล้องส่องไปในเลนส์ตาโดยตรง  จากการศึกษา  พบว่าละอองเรณูของเกสรตัวผู้ส่วนบน และส่วนล่างนั้นมีลักษณะรูปแตกต่างกันโดยละอองเรณูส่วนบนจะมีลักษณะเป็นวงรี ส่วนละอองเรณูส่วนล่าง จะเป็นวงกลม  การศึกษาลักษณะละอองเรณู
ละอองเรณูของเกสรตัวผู้ส่วนบนมีลักษณะเป็นวงรีผิวเรียบ ละอองเรณูของเกสรตัวผู้ส่วนล่างมีลักษณะเป็นวงกลมผิวเรียบ
ลักษณะของอับเรณู อับเรณูมีสีเหลืองอ่อน  จำนวน   2  เซลล์
ในการศึกษาเราได้ทำการผ่าครึ่งดอกตามแนวยาว แล้วทำการสังเกต พบว่าตำแหน่งของรังไข่นั้นจะอยู่ระหว่างวงกลีบ เรียกลักษณะแบบนี้ว่า  อยู่กึ่งใต้วงกลีบ   การศึกษาตำแหน่งรังไข่
ลักษณะช่อดอกเป็นแบบ  Raceme  ออกตามลำต้น ลักษณะช่อดอก
กลีบดอกแยกกัน มีลักษณะโค้งมนสีสีชมพูอมเหลืองจนถึงแดงอม เหลืองโคนกลีบสีเหลือง  จำนวน 6 อัน  ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร เมื่อบานเต็มที่ ฐานรองดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 1 เซนติเมตร ประกอบด้วยกลีบเลี้ยงลักษณะเป็นรูปวงกลม 6 อัน อยู่ติดกัน ลักษณะกลีบดอก ลักษณะฐานรองดอก
ก้านชูดอกมีสีเขียว ขนาดความยาวประมาณ  4  ถึง  5  เซนติเมตร ตรงส่วนปลายของก้านชูดอกมีใบเลี้ยงจำนวน  2  อัน ลักษณะก้านชูดอก
การบานของดอก
การบานของดอกในแต่ละช่อจะบานเพียง  1- 3   ดอกในเวลา  1  วัน ดอกที่ร่วงในตอนกลางคืน  ดอกตูมเต็มที่พร้อมจะบาน ในเช้าวันถัดไป
การศึกษาลักษณะการบานกับช่วงเวลา
 
ลักษณะผลของต้นสาละลังกาเป็นแบบผลเดี่ยว การติดของไข่ที่พลาเซนตาภายในรังไข่จะเป็นแบบพลาเซนตาตามแนวตะเข็บ (parietal placentation )  คือไข่อ่อนติดที่ผนังของรังไข่ตรงรอยต่อที่  carpel  มาเชื่อมติดกับรังไข่เป็นแบบ  syncarpous ovary ( คาร์เพลเชื่อม )  ภายในมี  1  ช่อง  จึงสรุปได้ว่า ผลของต้นสาละนั้นเกิดจากดอกเดียว ซึ่งมีคาร์เพลเดียว เชื่อมติดกัน จึงมีผลเป็นแบบผลเดี่ยว การศึกษาลักษณะผลของต้นสาละลังกา
ผลของต้นสาละเมื่อแก่จะมีสีน้ำตาล มีลักษณะค่อนข้างกลม ผิวเรียบ  ผลมีขนาดใหญ่ เปลือกแข็งเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ ๑๐  -  ๒๐ ซม .
ลักษณะเมล็ด เป็นรูปรี เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง สีน้ำตาล

More Related Content

What's hot

Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
SuwattanaSonsang
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
มัทนา อานามนารถ
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
Thanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
คน ขี้เล่า
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
Wichai Likitponrak
 
Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62
Wichai Likitponrak
 
Ijso biology 2561
Ijso biology 2561Ijso biology 2561
Ijso biology 2561
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
Kankamol Kunrat
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Tanakorn Ngonmanee
 
ม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdf
ม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdfม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdf
ม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdf
Birds4
 

What's hot (20)

Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียนข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอกบทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
บทที่1โครงสร้างและหน้าที่พืชดอก
 
Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62
 
Ijso biology 2561
Ijso biology 2561Ijso biology 2561
Ijso biology 2561
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdf
ม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdfม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdf
ม.4 ชีววิทยา 1 ตอนที่ 01-05การศึกษาชีววิทยา.pdf
 

Similar to 20080802 Cannonball Tree Botany

กล้วยไม้
กล้วยไม้กล้วยไม้
กล้วยไม้
saisamorn
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชPress Trade
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
Wichai Likitponrak
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 

Similar to 20080802 Cannonball Tree Botany (8)

กล้วยไม้
กล้วยไม้กล้วยไม้
กล้วยไม้
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 

20080802 Cannonball Tree Botany