SlideShare a Scribd company logo
การส่งเสริมพฤติกรรมเชิงบวก
และกระบวนการการวิเคราะห์พฤติกรรม
(Positive Behaviour Support and Functional Behaviour Analysis )
ตอนที่ 3: การวางแผนช่วยเหลือด้านพฤติกรรม
และเทคนิคพิชิตพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
Dr. Michael Arthur-Kelly
The University of Newcastle
ความคาดหวัง:
เมื่อสิ้นสุดการอบรม ผู้เข้าอบรมสามารถ :
 แปลข้อมูลจาก กระบวนการ FBA ได้
 ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไม่พีงประสงค์ของนักเรียนได้
 ระบุเป้ าหมายในแผนส่งเสริมเพื่อที่จะพัฒนาการมีส่วนร่วมทางสังคมของนักเรียน
กรณีศึกษาและตรวจสอบการป้ องกันพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์และเทคนิคต่างๆใน
ห้องเรียนและโรงเรียนได้
 อภิปรายเทคนิคและวิธีการต่างๆที่จะสามารถช่วยให้ผู้เข้าอบรมนาแผนสร้างเสริมเชิง
บวกไปใช้ได้จริง
ขั้นที่ 4: การแปลผลข้อมูลโดยใช้แบบฟอร์ม สรุปประเด็นสาคัญ
(Key Findings Summary Sheet)
ขั้นที่ 5A: การตั้งสมมติฐานของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
และตั้งเป้ าหมายใหญ่เชิงบวกสาหรับแผนช่วยเหลือ
ตารางวางแผนสร้างเสริมพฤติกรรมเชิงบวก
ชื่อ: วันที่: พฤติกรรมเป้ าหมาย:
สมมติฐาน
เมื่อ x (บริบท) แล้วนักเรียนแสดง y (ลักษณะ) เพื่อที่จะ z (จุดมุ่งหมาย)
เมื่อเพื่อนๆเดินเข้ามาหาสมศรีในระหว่างเวลาพักเล่น(x) สมศรีบ้วนน้าลายใส่เพื่อนๆ (y) เพื่อที่จะทาให้
เพื่อนๆเหล่านี้เดินออกไป (z).
เป้ าหมายหลัก
เพื่อสมศรีจะสามารถเล่นกับเพื่อนได้อย่างเหมาะสมในเวลาที่นานขึ้นระหว่างเวลาพัก
ขั้นที่ 5B: ระบุหลักทั่วไปและวิธีการป้ องกันการเกิด
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
 ทบทวนประเด็นสาคัญในแบบตรวจสอบทั้ง 3 แบบของหลักทั่วไปและวิธีการป้ องกัน
การเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ แต่ทั้งนี้พึงระลึกเสมอว่านักเรียนแต่ละคนนั้น
อาจจะมีความต้องการพิเศษที่นอกเหนือจากนี้ก็ได้
 จากนั้นระบุหลักและวิธีการป้ องกันที่สามารถนาไปใช้กับนักเรียนกรณีศึกษาลงใน
ตาราง
กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (ต่อ)
การป้องกันและหลักปฎิบัติทั่วไป
ความสัมพันธ์กับนักเรียน
ผู้ปกครอง และเพื่อนร่วมงาน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
การสอนทักษะทางสังคมและ
อารมณ์
ปรึกษากับพ่อแม่ของสมศรีถึงการ
ดูแลให้พี่น้องของสมศรีเป็น
ตัวอย่างที่ดีแก่สมศรีมากขึ้น
เพิ่มเวลาการอยู่กับคุณครูที่สมศรี
ชอบให้มากขึ้น
สอนสมศรีและเพื่อนๆถึงการ
แสดงออกที่เหมาะสมเมื่อไม่
ต้องการให้เพื่อนเข้าใกล้ หรือเล่น
ด้วย
ศึกษาค้นหากิจกรรมที่สมศรีชอบ
และเสริมแรงสมศรีเมื่อมีปฎิ
สัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนแม้จะเป็น
ช่วงเวลาสั้นๆก็ตาม
ขั้นที่ 5C: การระบุเทคนิคและวิธีการช่วยเหลือเฉพาะ
บุคคล
แผนช่วยเหลือเฉพาะบุคคล
การเพิ่มประสิทธิภาพการ
เรียน/ทักษะทางสังคม
การเสริมสร้างทักษะการ
สื่อสาร
เทคนิคอื่นๆ
การจัดการกับปัจจัย
ภายนอก
การปรับสิ่งแวดล้อมก่อน
เกิดพฤติกรรม
การสร้างเสริมพฤติกรรม
ทดแทน
การปรับผลที่ได้รับหลัง
เกิดพฤติกรรม
การจัดการกับปัจจัยภายนอก (Setting Events)
 ปัจจัยภายนอกนั้นหมายถึงปัจจัยอื่นๆที่อาจมีอิทธิผลกับพฤติกรรม มีข้อพึงระวัง
หรือสิ่งที่ควรตระหนักอะไรบ้างที่สามารถเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของท่านและความ
ต้องการของนักเรียนกรณีศึกษาของท่านบ้าง
 ข้อควรตระหนัก:
 อาหาร  ปัญหาสภาพครอบครัวหรือผู้เลี้ยงดู
 การได้รับยา  การมีปฏิสัมพันธ์เชิงลบกับเพื่อน ครอบครัวและครูในโรงเรียน
 การนอนหลับไม่เพียงพอ  การพักระหว่างคาบในตอนเช้า
 การถูกเร่งรีบ  การสื่อสารระหว่างครอบครัวหรือผู้เลี้ยงดู
การจัดการกับปัจจัยภายนอก (Setting Events)
เทคนิคต่างๆ :
 เมื่อนักเรียนมาถึงชั้นเรียน พานักเรียนไปเล่นในกิจกรรมที่เขาชอบหรือกิจกรรมเงียบๆ
 หากนักเรียนรู้สึกอยากพัก ให้นักเรียนไปพักยังพื้นที่ที่เขาต้องการหรือชื่นชอบ
 ควรแน่ใจว่ากิจกรรมต่างๆที่ต้องการความร่วมมือของนักเรียนนั้นไม่มากจนเกินไปหรือถูกลดลง
จนกว่านักเรียนมีความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรม
 ให้ความช่วยเหลือเพิ่มเติมในกิจวัตรหรือกิจกรรมต่างๆ เช่น เพิ่มเวลาในการอุ่นเครื่องก่อนที่จะ
เปลี่ยนคาบเรียน หรือ ใช้ตารางกิจวัตรเป็นรูปภาพ ทั้งนี้อาจรวมถึงการใช้สัญลักษณ์หรือครู
ผู้ช่วยด้วย
Adapted from material at http://csefel.uiuc.edu
การปรับเปลี่ยนเหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรม
(Antecedent)
 เหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรม เปรียบเสมือนตัวกระตุ้นหรือเหตุที่ทาให้เกิดพฤติกรรม
 ข้อพึงตระหนัก :
 พฤติกรรมมักจะเกิดขึ้นที่ไหน (กลิ่น, เสียง, แสง )
 พฤติกรรมมักจะเกิดขึ้นกับใคร (เพื่อน หรือ ครู)
 พฤติกรรมมักจะเกิดขึ้นเวลาใดบ้าง (ตอนหิว, ตอนเหนื่อย, ตอนทากิจกรรมต่างๆ)
 ข้ออื่นๆ:
 งานที่ยากเกินไป  การเปลี่ยนแปลงกิจวัตรประจาวัน
 ความต้องการจากครู  ประเภทของกิจกรรม
การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
การปรับเปลี่ยนเหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรม
(Antecedent)
เทคนิคต่างๆ:
 เพิ่ม /ลด ความยากของงาน
 เปิดโอกาสแก่นักเรียนในการเลือกหรือตัดสินใจต่อสิ่งต่างๆอย่างเหมาะสม
 ลดแสงสว่างหรือจัดให้มีพื้นที่ที่มีแสงสว่างที่เหมาะสมกับนักเรียนคนนั้น
 ปรับตารางเรียนหรือกิจวัตรประจาวันให้เข้ากับความต้องการของนักเรียนคน
นี้ เช่น ให้มีช่วงพักเร็วขึ้น
 ใช้ภาพสัญลักษณ์ต่างๆ สาหรับ การขออนุญาต หรือ ความต้องการ
ต่างๆ หรือ สัญลักษณ์ที่จาเป็นในการสื่อสาร
การทดแทนด้วยพฤติกรรมที่เหมาะสม
(Behaviour Replacement)
 พฤติกรรมใดที่เราสามารถนามาสอนแทนเพื่อนักเรียนสามารถนาไปใช้ได้ด้วย
จุดประสงค์เดียวกันกับพฤติกรรมเดิมของเขา?
 ข้อพึงตระหนัก :
 ทักษะต่างๆของนักเรียนที่มีอยู่
 ทักษะใดที่สามารถสอนได้เร็วและใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนักเรียนนั้นรับรู้ได้ถึงข้อดีของการใช้ทักษะนี้?
 แน่ใจว่ามีการเสริมแรงหรือให้รางวัลเมื่อนักเรียนแสดงออกพฤติกรรมใหม่ทดแทนได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
 หาข้อมูลและพูดคุยกับครูท่านอื่นๆเพื่อให้แน่ใจว่าพฤติกรรมใหม่ที่มาทดแทนนี้ได้ผลกับนักเรียนอย่างแท้จริง
การทดแทนด้วยพฤติกรรมที่เหมาะสม
(Behaviour Replacement)
เทคนิคต่างๆ:
 การทดแทนทักษะต่างๆนั้น ควรใช้ สื่อรูปภาพ หรือ การ์ดต่างๆประกอบ
 การใช้เครื่องมือ การสื่อความหมายทดแทน (Augmentative and
Alternative Communication)
 การเพิ่มการเสริมแรงเชิงบวกเมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์
 การใช้นิทานจริยธรรมที่สามารถสื่อแม่แบบของพฤติกรรมที่เหมาะสมและการ
เน้นการใช้การสื่อสารแบบต่างๆที่ดี
 การสอนแบบตั้งใจให้นักเรียนเห็นถึงการสื่อสารที่เหมาะสมและกระตุ้น
ความสามารถในการสื่อสารของนักเรียน
การปรับเปลี่ยนเหตุการณ์หลังการเกิดพฤติกรรม
(Consequence)
 มีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการเกิดพฤติกรรมที่อาจจะส่งผลให้พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นอีกครั้งก็ได้ภายใต้
เงื่อนไขเดิม
 หน้าที่ของพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้นเพื่อจุดประสงค์อะไร? สิ่งที่ต้องการสื่อสารออกมานั้นคืออะไร?
 อาจหมายถึง :
 ความต้องการสิ่งของ(TANGIBLES): ฉันต้องการ....วัตถุ, บุคคล ,เหตุการณ์
 ความสนใจ (ATTENTION): ฉันต้องการ.... ปฎิสัมพันธ์ทางสังคม หรือ ความสนใจ
 หนี / หลีกเลี่ยง (ESCAPE/AVOIDANCE): ฉันต้องการที่จะหนีหรือหลีกเลี่ยงจาก...เหตุการณ์, สิ่งของ , บุคคล
 ประสาทสัมผัส (SENSORY): ฉันต้องการ.....สิ่งกระตุ้นประสาทสัมผัสบางอย่าง
(See seminal research by Carr & Durand, 1985)
การปรับเปลี่ยนเหตุการณ์หลังการเกิดพฤติกรรม
(Consequence)
เทคนิคต่างๆ:
 ใช้สื่อประกอบรูปภาพต่างๆในการสอนทักษะที่จะมาทดแทนพร้อมจัดให้มีการเสริมแรงทักษะเหล่านี้
 ศึกษาและเสาะหาเหตุการณ์ที่เหมาะสมที่ต้องการหลังจากเกิดพฤติกรรมในโรงเรียนของท่าน
 ใช้เทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน การให้เบี้ยอรรถกร เทคนิคให้อิสระในการเลือก ทั้งนี้ต้องอยู่ในความ
ดูแลของครู
 ลดสิ่งที่เบี่ยงเบนความสนใจหรือสมาธิของนักเรียน รวมถึงวัตถุรอบข้างต่างๆหรือกิจกรรมที่มีการ
แข่งขันกัน
 เพิ่มช่วงเวลาของการปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน และการให้ความสนใจจากผู้ใหญ่
 ปรับเปลี่ยนความยากและความยาวของงาน การสอน หรือ สิ่งใดก็ต่างที่อาจส่งผลต่อการลดลง
ของสมาธิของนักเรียนได้
 แน่ใจว่าบริบทนั้นมีความเกื้อกูลและเตรียมพร้อมที่ดีเมื่อการเกิดพฤติกรรมในครั้งต่อไป อีกทั้งยัง
สามารถรองรับเหตุการณ์ของพฤติกรรมอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นได้ด้วย
Adapted from material at http://csefel.uiuc.edu
กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ
 จาก ปัจจัยภายนอก เหตุการณ์ก่อนเกิดพฤติกรรม พฤติกรรม และ
เหตุการณ์หลังเกิดพฤติกรรม ในคู่ของท่าน ให้อภิปรายถึงวิธีการหรือ
เทคนิคต่างๆที่ท่านสามารถนามาจัดการกับพฤติกรรมที่ไม่พฤติกรรมของ
นักเรียนกรณีของท่าน หรือ นักเรียนกรณีในวิดีโอที่ท่านได้ชมเมื่อวานก็
ได้
 อภิปรายกลุ่ม
การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน
 การสอนโดยตรง(Direct Instruction)
 ครูเป็นผู้วางแผนทั้งหมด คือ จุดหมายของการเรียนรู้ เนื้อหา กระบวนการเรียนการสอน และแผนการเสริมแรง
(Foggett,2008)
 เหมาะสมสาหรับการสอนในกลุ่มเล็กหรือแบบตัวต่อตัวเพื่อปูพื้นฐานทักษะสาคัญต่างๆ
 การเรียนแบบกลุ่ม (Co-operative learning)
 เป็นกระบวนการที่ส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม
 ควรพิจารณา:
 ควรเน้นถึงความรับผิดชอบรายบุคคล , การให้รางวัลเป็นกลุ่ม , การโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ และกระบวนการกลุ่ม
 ควรสอนทักษะต่างๆที่สาคัญก่อนทางานแบบกลุ่ม เช่น ทักษะการสื่อสาร, การตัดสินใจ การแก้ไขความขัดแย้ง
(Sutherland et.al.,2003)
การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน
 เทคนิคต่างๆ
 แจกใบงานแก่นักเรียนเป็นส่วนตัว โดยงานนั้นควรจะสั้น กระชับและเป็นงานที่ไม่ต้องมากและยากจนเกินในแต่ละครั้ง
 ดูแลและสอบถามนักเรียนอย่างใกล้ชิดในช่วงที่ต้องทางานเดี่ยว
 มีคาถามและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับนักเรียนในการทาใบงานนั้นๆ เพื่อช่วยเพิ่มความถูกต้องของงานได้
 ในบางกรณี อาจเพ่ิมเวลาให้นักเรียนทางานของเขาให้มากขึ้น จนนักเรียนสามารถทาถูกต้องเกิน 90 %
 เปิดโอกาสให้นักเรียนเลือกกิจกรรมหรือใบงานต่างๆความต้องการของเขาอย่างเหมาะสม
 ในการสอนเรื่องใหม่ ควรใช้การสอนที่อธิบายทีละขั้นตอนอย่างชัดเจน หรือ การสอนแบบตัวต่อตัวก็ได้
การเพิ่มทักษะการจัดการตัวเอง (Self-management) ด้วย
ความสามารถด้านการรู้คิด (Metacognitive ability)
 จุดมุ่งหมายหลัก คือ การพัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในการวางแผน ดูแล และแก้ไขเทคนิคต่างๆที่ใช้เพื่อจัดการ
พฤติกรรมของตนเองได้
 สาหรับเทคนิคนี้
 ครูและนักเรียนช่วยกันเลือกพฤติกรรมที่ต้องการพัฒนา
 ครูแนะนาเทคนิคการจัดการตัวเอง และวางแผนด้วยกันกับนักเรียน
 ตัวอย่างของแผนพฤติกรรมที่ใช้4 ขั้นของการสอนตัวเอง(Self-instruction)
 ปัญหาของฉันตอนนี้คืออะไร?
 ฉันมีแผนอย่างไร?
 ฉันทาตามแผนที่วางไว้หรือไม่?
 ฉันทาได้ดีแค่ไหน?
การสร้างเสริมทักษะการสื่อสาร โดยรวมถึง
AAC
 องค์ประกอบทั้ง 3 คือ บริบท ลักษณะ และหน้าที่ เป็นหัวใจสาคัญของการสร้างเสริมทักษะ
การสื่อสาร
 ข้อควรพิจารณา:
 ทักษะการสื่อสารสามารถสอนได้: ทั้งบริท, ลักษณะ และ วัตถุประสงค์
 ความต้องการของครอบและการคงอยู่ของทักษะเกิดขึ้นได้รวมถึงความช่วยเหลือจากทุกฝ่าย
 ความสามาถทางร่างกาย
 ระดับความสามารถของการสื่อสารทางการรับรู้และแสดงออกทางความรู้สึกในปัจจุบันและระดับความสามารถที่ต้องการ
 เทคนิคที่ช่วยหรือไม่ช่วยเหลือต่างๆ ทั้งนี้รวมถึง AAC
 การสามารถนาไปใช้ได้จริง (เคลื่อนย้ายได้, เวลาในการสอน, ค่าใช้จ่าย , การเข้าถึงอุปกรณ์)
 การช่วยเหลือและความต้องการในบริบทรอบๆ รวมถึง การมีคู่สื่อสารเพื่อตอบสนอง (partner
responsiveness)
การสร้างเสริมทักษะการสื่อสาร โดยรวมถึง
AAC
เทคนิคต่างๆ:
 การแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร (PECS :Picture Exchange Communication
System)
 การทาเครื่องหมายบนกระดาน Boardmaker
 การใช้สัญลักษณะต่างๆ
 การใช้เครื่องมือ Voice output communication
 การใช้กระดาน Choice Boards
 การแสดงกิจวัตรประจาวันเป็นรูปภาพ
 การใช้สมุดสื่อสาร
 การใช้ สมุดรูปภาพ
 สิ่งสาคัญที่สุดคือ การที่มีคู่สื่อสารที่คอยตอบสนองอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง !!
เทคนิคการสอนนักเรียนที่มีสมาธิสั้น (ADHD)
เทคนิคต่างๆ:
 จัดที่นั่งให้อยู่ห่างจากประตูและหน้าต่าง ควรจัดให้นักเรียนนั่งใกล้ๆครูหรือเพื่อนที่เหมาะสม
 จัดให้มีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางร่างกายในการสอนแต่ละครั้งหากทาได้
 หากงานที่มอบหมายมากเกินไป ควรแบ่งงานให้เล็กลง และให้นักเรียนพักเป็นระยะๆได้
 สอนให้นักเรียนอ่านและใช้นาฬิ กาได้เพื่อที่จะใช้ในการบริหารเวลาการทางานที่ได้รับ
มอบหมายให้เสร็จ
 มี “ภาษาลับ” กับนักเรียนเพื่อใช้สื่อสารกับครูเป็นส่วนตัวในชั้นเรียนได้ เช่น การใช้ภาษา
กาย
 เขียนตารางเวลาของนักเรียนให้ชัดเจนบนกระดานหรือบอร์ด
 มอบหมายงานง่ายๆให้นักเรียนรับผิดชอบ เช่น เดินไปหยิบของให้ครู
เทคนิคการสอนนักเรียนที่มีภาวะออติสซึม
(ASD)
 Social narratives
เป็นนิทานสั้นๆที่ครูสามารถเขียนขึ้นเพื่อสอนถึงพฤติกรรมทางสังคมที่เหมาะสมและข้อมูลๆ
ที่นักเรียนควรทราบ เช่น ความคาดหวังของผู้อื่น หรือเหตุการณ์ต่างๆที่กาลังจะเกิดขึ้น
เนื้อหาควรจะกระชับและเขียนด้วยภาษาง่ายๆ ที่นักเรียนสามารถเข้าใจได้
 รูปภาพแสดงกิจวัตรประจาวัน (Visual activity schedules)
วิธีนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนนั้นสามารถช่วยเหลือตัวเองได้จากการทราบกิจวัตร
ประจาวัน ทั้งนี้สื่อรูปภาพนั้นควรจะมีความเกี่ยวข้องกับนักเรียน (เช่น รูปถ่าย,
ภาพวาด, คา) และแสดงลาดับเหตุการณ์ด้วยภาพวาดที่ชัดเจน นอกจากนี้ครูควรสอน
กิจวัตรประจาวันในขณะที่เกิดเหตุการณ์นั้นๆแก่นักเรียนและย้าซ้าๆหลายๆครั้ง
เทคนิคการสอนนักเรียนที่มีภาวะออติสซึม
(ASD)
 กระดานตัวเลือกแบบรูปภาพ (Visual choice boards)
 เริ่มด้วย ตัวเลือก 2 อย่าง เช่น “นักเรียนต้องการ A หรือ B?” โดยใช้รูปภาพที่มีความหมายแก่นักเรียน
 ค่อยๆเพิ่มตัวเลือกมากขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติ เช่น A หรือ B หรือ C
 พยายามให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือกได้ด้วยตัวเองและส่งเสริมให้นักเรียนสื่อสารด้วยคาพูดไปพร้อมๆกัน เช่น
“ต้องการ A”
 การเตรียมพร้อมในการเปลี่ยนกิจกรรม/คาบ
 กล่องสิ้นสุด , นาฬิกาไข่จับเวลา , First  then, one more turn
เทคนิคอื่นๆ
 ข้อควรพิจารณา:
 การเยี่ยมชมของผู้ปกครอง
 การจัดวันกิจกรรมที่ชื่นชอบของเด็กๆ
 การจัดวันคุณตาคุณยาย
 การปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (speech pathologist, behavioural
consultant, occupational therapist)
 อื่นๆ?
ตัวอย่างแผนช่วยเหลือเฉพาะบุคคล
แผนช่วยเหลือเฉพาะบุคคล
การเพิ่มประสิทธิภาพการ
เรียน/สร้างเสริมทักษะสังคม
การเสริมสร้างทักษะการ
สื่อสาร
เทคนิคอื่นๆ
การจัดการกับปัจจัย
ภายนอก
ชั้นเรียนทบทวนเรื่อง
พฤติกรรมที่เหมาะสมเวลาพัก
เล่น
การปรับสิ่งแวดล้อม
ก่อนเกิดพฤติกรรม
ร่างโครงเรื่องโดยมีเนื้อเรื่อง
เกี่ยวกับสมศรีเล่นของเล่น
ข้างๆกับเพื่อน
การสร้างเสริม
พฤติกรรมทดแทน
ร่างโครงเรื่องเกี่ยวกับการ
สื่อสารของสมศรีเมื่อเธอ
ต้องการเวลาอยู่คนเดียว
สอนสมศรีวิธีการแสดง
การ์ด “เวลาเงียบๆ”
การปรับผลที่ได้รับหลัง
เกิดพฤติกรรม
ให้รางวัลกับสมศรีด้วยของ
เล่นหรือกิจกรรมที่เธอชอบ
เมื่อสมศรีเล่นกับเพื่อนๆได้
ขั้นที่ 6:ระบุเทคนิคที่เจาะจง และ บันทึกในแบบฟอร์ม
ติดตามผล

More Related Content

Similar to กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)

Power guidance
Power guidancePower guidance
Power guidance
apinyaguidance01
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
ไพรวัล ดวงตา
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Jo Smartscience II
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449onchalermpong
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 

Similar to กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2) (20)

Power guidance
Power guidancePower guidance
Power guidance
 
Power guidance
Power guidancePower guidance
Power guidance
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 

กระบวนการวิเคราะห์พฤติกรรม 2 (DAY 2)