SlideShare a Scribd company logo
พื้นฐานภาษาจาวา
ประวัติความเป็นมา
เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาโดย Dr.Jame Gosling บริษัท Sun Microsystems เดิมที
ชื่อ ภาษาโอ๊ค (Oak) เป็นชื่อต้นไม้ ใหญ่ที่อยู่ในบริเวณบ้าน ที่ทีมวิศวกรของ
ซัน ทางานอยู่ นามาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขนาดจิ๋วสาหรับ อุปกรณ์
เครื่องใช้อิเล็คทรอนิกส์ ได้ทาการพัฒนาต่อมาเรื่อยๆ และได้เปลี่ยนชื่อใหม่
เป็น ภาษาจาวา (Java) ตามชื่อกาแฟที่ทีมพัฒนาดื่ม
จุดเด่น
1) เป็นภาษาสาหรับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object
Oriented Programming)
2) Java คือ platform independence หมายความว่าความสามารถของ
โปรแกรมที่เขียนด้วย java
สามารถทางานได้ในระบบปฏิบัติการที่ต่างกัน โดยไม่ต้องดัดแปลง
แก้ไขใหม่
3) Free และ เป็นโปรแกรมประเภท Open Source
โครงสร้าง ภาษา Java (Java Structure)
1. เครื่องหมาย ในการควบคุม Structure
1.1 Comment คือข้อความที่แทรกเข้าไปในโปรแกรม แต่ไม่มีผลต่อการ
ทางานของโปรแกรม เช่นในกรณีที่เราต้องการอธิบาย Source code ไว้ใน
โปรแกรม วิธีการคือ
- comment ทีละ บรรทัด ใช้เครื่องหมาย // ตามด้วยข้อความที่ต้องการ
comment
1.2 Keyword คือคาที่ถูกกาหนดไว้ใช้เองแล้วในภาษา Java ไม่สามารถ
นามาใช้ในการตั้งชื่อภายใน โปรแกรมได้ ตัวอย่างเช่น class,boolean,char
เป็นต้น
1.3 Identifiers คือชื่อที่ผู้เขียนตั้งขึ้นมา เพื่อใช้แทนอะไรก็ได้ไม่ว่าจะเป็น
method ,ตัวแปร หรือ class ชื่อที่ถูกต้องควรประกอบด้วย ตัวอักษร ,
ตัวเลข ,_,$ และจะต้องขึ้นต้นด้วย ตัวอักษรเท่านั้น
1.4 Separators คือ อักษร หรือ เครื่องหมายที่ใช้แบ่งแยกคาในภาษา มี
ดังต่อไปนี้
- เครื่องหมาย () ใช้สาหรับ
1. ต่อท้ายชื่อ method ไว้ให้ใส่ parameter
เช่น private void hello( );
2. ระบุเงื่อนไขของ if ,while,for ,do
เช่น if ( i=0 )
3. ระบุชื่อชนิดข้อมูลในการ ทา casting
เช่น String a=( String )x;
- เครื่องหมาย{ }ใช้สาหรับ
กาหนดขอบเขตของ method แล class
method แสดงผลทางจอภาพพื้นฐาน
ในตัวอย่างต่อไปนี้ จะเป็นตัวอย่างการใช้ method print และ
println โดย method print จะแสดงผล method ต่อไปจะยังอยู่ใน
บรรทัดเดิม และ method println จะทาให้การแสดงผลใน
method ต่อไปแสดงผลขึ้นบรรทัดใหม่
ตัวอย่าง example1.java
public class example1 {
public static void main(String[] args) {
System.out.println("Hello World.");
System.out.print("Hello World. ");
System.out.print("My");
System.out.print(" name");
System.out.print(" is");
System.out.print(" JAVA.");
}
}
การดาเนินการทางคณิตศาสตร์
ในภาษาจาวา ประโยค (statement) จะจบด้วยเครื่องหมาย ;
(semicolon) เสมอ ดังนั้นโปรแกรมสามารถเขียน statement ได้มากกว่า
หนึ่งสเตจเม็นต์ในหนึ่งบรรทัดของ source code หรือสามารถ
เขียน statement โดยมีความยาวมากกว่าหนึ่งบรรทัดก็สามารถทาได้
Expression หมายถึง ประโยคในภาษา Java ที่ได้รับการยอมรับว่าอยู่ใน
รูปแบบที่ได้กาหนดไว้ การเขียน code ให้มีรูปแบบที่เหมาะสม อ่านได้ง่าย
จะทาให้การพัฒนาโปรแกรมเป็นไปได้ด้วยความรวดเร็วและ เป็นที่ยอมรับ
ตามระบบสากล
เมื่อมีตัวแปรหลายตัวในการประมวลผลของประโยค ลาดับขั้นของการ
ประมวลผลมีความสาคัญ เนื่องจากรูปแบบของ การประมวลผลตามขั้น
ของ operator ต่างๆ มีลาดับการประมวลผลที่ไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นไปตามกฎ
ของการประมวลผล ทางคณิตศาสตร์ ได้แก่
1) การประมวลผลข้อมูลที่เป็นจานวนเต็ม
2) การประมวลผลด้วยตัวแปรที่มีจุดทศนิยม
3) การประมวลผลข้อมูลต่างชนิดกัน
- ถ้าตัวแปรใดเป็น double ตัวแปรที่นามาประมวลผลด้วยจะถูกเปลี่ยนให้
เป็น double ก่อนการประมวลผล
- ถ้าตัวแปรใดเป็น float ตัวแปรที่นามาประมวลผลด้วยจะถูกเปลี่ยนให้
เป็น float ก่อนการประมวลผล
- ถ้าตัวแปรใดเป็น long ตัวแปรที่นามาประมวลผลด้วยจะถูกเปลี่ยนให้
เป็น long ก่อนการประมวลผล
4) การประมวลผลตัวเลขที่มีขนาดใหญ่
Java จะมี class BigInteger ที่สามารถเรียกใช้เพื่อประมวลผลตัวเลขที่มีค่า
มากกว่า int ที่จะเก็บค่าได้
ลาดับที่ เครื่องหมาย ลาดับที่ เครื่องหมาย
1 วงเล็บ ( ) 6 = =, !=
2 ++,-- 7 &&
3 *, /, % 8 ||
4 +, - 9 =, +=, -=, *=, /=, %=
5 <, <=, >, >=
ตัวดาเนินการ ความหมาย
+= การบวก
-= การลบ
*= การคูณ
/= การหาร (ได้ผลหาร)
%= การหาร (ได้เศษจากการหาร)
ลาดับขั้นการประมวลผลของเครื่องหมาย
ตัวดาเนินการ ความหมาย
++Variable เพิ่มค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง
Variable++ เพิ่มค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง
- -Variable ลดค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง
Variable- - ลดค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง
การคานวณแบบย่อ (Shortcut Operator)
ตัวดาเนินการ ความหมาย
+= การบวก
-= การลบ
*= การคูณ
/= การหาร (ได้ผลหาร)
%= การหาร (ได้เศษจากการหาร)
ตัวดาเนินการ ความหมาย
++Variable เพิ่มค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง
Variable++ เพิ่มค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง
- -Variable ลดค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง
Variable- - ลดค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง
ตัวดาเนินการเพิ่มค่าหรือลดค่า
ตัวดาเนินการเพิ่มค่าหรือลดค่า ที่ใช้ใน JAVA ได้แก่
++ตัวแปร คือ การเพิ่มค่าตัวแปรขึ้น 1 ก่อน แล้วจึงค่อยคืนค่า
ตัวแปร++ คือ คืนค่าตัวแปรก่อน แล้วจึงค่อยเพิ่มค่าตัวแปรขึ้น 1
--ตัวแปร คือ การลดค่าตัวแปรลง 1 ก่อน แล้วจึงค่อยคืนค่า
ตัวแปร-- คือ คืนค่าตัวแปรก่อน แล้วจึงค่อยลดค่าตัวแปรลง 1
การเปลี่ยนประเภทของข้อมูล
คอมไพเลอร์ภาษาจาวาสามารถแปลงข้อมูลให้มีรูปแบบที่
สอดคล้องกันได้ มี 2 รูปแบบคือ
– การแปลงข้อมูลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
– การแปลงข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง
โดยทั่วไปมักจะเปลี่ยนข้อมูลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เพราะถ้าหาก
แปลงข้อมูลให้มีขนาดเล็กลงอาจทาให้การประมวลผลข้อมูลเกิด
ความเสียหายได้
การแปลงขนาดข้อมูลโดย Cast Operator
ในภาษาจาวาสามารถแปลงข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็กลงได้
โดยใช้Cast Operator ซึ่งจะเขียนประเภทข้อมูลที่
ต้องการแปลงไว้ในวงเล็บด้านหน้าตัวแปรที่
คลาสสตริง
การสร้าง String
String เป็น Class หนึ่งใน Package ของภาษาจาวาชื่อ java.lang ทาหน้าที่ใน
การเก็บข้อมูลที่เป็น “ชุดของตัวอักษร” ซึ่งปกติชนิดของข้อมูลของภาษา
จาวาก็มี ชนิดเป็น character แต่เก็บข้อมูลได้เพียง 1 ตัวอักษรเท่านั้น
ดังนั้นจึงลาบากในการ นามาใช้กับข้อมูลที่มากกว่า 1 ตัวอักษร หรือที่
เรียกว่า “String” ดังนั้น ภาษาจาวา
จึงได้สร้าง Class สาเร็จรูปมาให้สามารถเรียกใช้ได้ทันที
เรียกว่า “String” ทั้งหมดคือที่มาของคาว่า String Class
การสร้าง Object เพื่อใช้กับ String ได้ 6 รูปแบบคือ
รูปแบบที่ 1
String ชื่อObject = new String(ข้อความ);
รูปแบบที่ 2
String ชื่อObject = ข้อความ;
รูปแบบที่ 3
String (char chars[]);
เป็นการสร้าง String ที่นา Array ชื่อ Chars มาเป็นข้อมูลใน String
รูปแบบที่ 4
String (char chars[], int startIndex, int numChars);
เป็นการเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนของ Array ไว้ใน String โดยที่
- startIndex คือกาหนดตาแหน่งเริ่มต้นใน array ที่ต้องการ
เก็บ
- numChars คือกาหนดจานวนตัวอักษรที่ต้องการเก็บโดย
นับจาก ตาแหน่งที่ระบุใน startIndex
ตัวอย่างการใช้งาน
char chars[]={‘a’, ’b’, ’c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’};
String message = new String(chars, 2, 3);
ผลที่ได้ก็คือ message จะเก็บค่า cde
รูปแบบที่ 5
String (ชื่อStringเดิม);
เป็นการสร้าง String ใหม่โดยใช้โครงสร้างของ String เดิม
ผลที่ได้ก็คือ String ใหม่จะมีข้อมูลเดียวกับ String เดิมที่ใช้เป็นต้นแบบใน
การสร้าง
รูปแบบที่ 6
เป็นการเก็บ Array ของรหัส ASCII ไว้ใน String
- String (byte asciiChars[]);

More Related Content

What's hot

Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
IMC Institute
 
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาดJava Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Thanachart Numnonda
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Thanachart Numnonda
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
IMC Institute
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Thanachart Numnonda
 
Python101
Python101Python101
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Theeravaj Tum
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
Saranyu Srisrontong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
Nattawut Kathaisong
 
ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1
khwanchanokPhraeampha
 
Java Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิก
Java Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิกJava Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิก
Java Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิก
Thanachart Numnonda
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
Ice Ice
 
Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02palm2816
 

What's hot (20)

Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาดJava Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Python101
Python101Python101
Python101
 
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
Java Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิก
Java Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิกJava Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิก
Java Programming: การจัดการกับเหตุการณ์กราฟิก
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02
 

Viewers also liked

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
กานต์นิธิ แซ่ลิ้่ม
 
เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
Sutthathip Jane
 
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม javaบทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาPrawwe Papasson
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
Itslvle Parin
 
Basic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerBasic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developer
Appcodev
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Thanachart Numnonda
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง JavaJanë Janejira
 

Viewers also liked (10)

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม javaบทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java2
Java2Java2
Java2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
Basic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerBasic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developer
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Java
 

Similar to บทที่2

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
Java
JavaJava
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2Wittayakorn Yasingthong
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
Kapook Moo Auan
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
Kapook Moo Auan
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 

Similar to บทที่2 (20)

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Java
JavaJava
Java
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
Q1
Q1Q1
Q1
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

บทที่2

  • 2. ประวัติความเป็นมา เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาโดย Dr.Jame Gosling บริษัท Sun Microsystems เดิมที ชื่อ ภาษาโอ๊ค (Oak) เป็นชื่อต้นไม้ ใหญ่ที่อยู่ในบริเวณบ้าน ที่ทีมวิศวกรของ ซัน ทางานอยู่ นามาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขนาดจิ๋วสาหรับ อุปกรณ์ เครื่องใช้อิเล็คทรอนิกส์ ได้ทาการพัฒนาต่อมาเรื่อยๆ และได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น ภาษาจาวา (Java) ตามชื่อกาแฟที่ทีมพัฒนาดื่ม
  • 3. จุดเด่น 1) เป็นภาษาสาหรับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object Oriented Programming) 2) Java คือ platform independence หมายความว่าความสามารถของ โปรแกรมที่เขียนด้วย java สามารถทางานได้ในระบบปฏิบัติการที่ต่างกัน โดยไม่ต้องดัดแปลง แก้ไขใหม่ 3) Free และ เป็นโปรแกรมประเภท Open Source
  • 4. โครงสร้าง ภาษา Java (Java Structure) 1. เครื่องหมาย ในการควบคุม Structure 1.1 Comment คือข้อความที่แทรกเข้าไปในโปรแกรม แต่ไม่มีผลต่อการ ทางานของโปรแกรม เช่นในกรณีที่เราต้องการอธิบาย Source code ไว้ใน โปรแกรม วิธีการคือ - comment ทีละ บรรทัด ใช้เครื่องหมาย // ตามด้วยข้อความที่ต้องการ comment
  • 5. 1.2 Keyword คือคาที่ถูกกาหนดไว้ใช้เองแล้วในภาษา Java ไม่สามารถ นามาใช้ในการตั้งชื่อภายใน โปรแกรมได้ ตัวอย่างเช่น class,boolean,char เป็นต้น 1.3 Identifiers คือชื่อที่ผู้เขียนตั้งขึ้นมา เพื่อใช้แทนอะไรก็ได้ไม่ว่าจะเป็น method ,ตัวแปร หรือ class ชื่อที่ถูกต้องควรประกอบด้วย ตัวอักษร , ตัวเลข ,_,$ และจะต้องขึ้นต้นด้วย ตัวอักษรเท่านั้น
  • 6. 1.4 Separators คือ อักษร หรือ เครื่องหมายที่ใช้แบ่งแยกคาในภาษา มี ดังต่อไปนี้ - เครื่องหมาย () ใช้สาหรับ 1. ต่อท้ายชื่อ method ไว้ให้ใส่ parameter เช่น private void hello( ); 2. ระบุเงื่อนไขของ if ,while,for ,do เช่น if ( i=0 ) 3. ระบุชื่อชนิดข้อมูลในการ ทา casting เช่น String a=( String )x; - เครื่องหมาย{ }ใช้สาหรับ กาหนดขอบเขตของ method แล class
  • 7. method แสดงผลทางจอภาพพื้นฐาน ในตัวอย่างต่อไปนี้ จะเป็นตัวอย่างการใช้ method print และ println โดย method print จะแสดงผล method ต่อไปจะยังอยู่ใน บรรทัดเดิม และ method println จะทาให้การแสดงผลใน method ต่อไปแสดงผลขึ้นบรรทัดใหม่
  • 8. ตัวอย่าง example1.java public class example1 { public static void main(String[] args) { System.out.println("Hello World."); System.out.print("Hello World. "); System.out.print("My"); System.out.print(" name"); System.out.print(" is"); System.out.print(" JAVA."); } }
  • 9. การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ในภาษาจาวา ประโยค (statement) จะจบด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) เสมอ ดังนั้นโปรแกรมสามารถเขียน statement ได้มากกว่า หนึ่งสเตจเม็นต์ในหนึ่งบรรทัดของ source code หรือสามารถ เขียน statement โดยมีความยาวมากกว่าหนึ่งบรรทัดก็สามารถทาได้ Expression หมายถึง ประโยคในภาษา Java ที่ได้รับการยอมรับว่าอยู่ใน รูปแบบที่ได้กาหนดไว้ การเขียน code ให้มีรูปแบบที่เหมาะสม อ่านได้ง่าย จะทาให้การพัฒนาโปรแกรมเป็นไปได้ด้วยความรวดเร็วและ เป็นที่ยอมรับ ตามระบบสากล
  • 10. เมื่อมีตัวแปรหลายตัวในการประมวลผลของประโยค ลาดับขั้นของการ ประมวลผลมีความสาคัญ เนื่องจากรูปแบบของ การประมวลผลตามขั้น ของ operator ต่างๆ มีลาดับการประมวลผลที่ไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นไปตามกฎ ของการประมวลผล ทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ 1) การประมวลผลข้อมูลที่เป็นจานวนเต็ม 2) การประมวลผลด้วยตัวแปรที่มีจุดทศนิยม
  • 11. 3) การประมวลผลข้อมูลต่างชนิดกัน - ถ้าตัวแปรใดเป็น double ตัวแปรที่นามาประมวลผลด้วยจะถูกเปลี่ยนให้ เป็น double ก่อนการประมวลผล - ถ้าตัวแปรใดเป็น float ตัวแปรที่นามาประมวลผลด้วยจะถูกเปลี่ยนให้ เป็น float ก่อนการประมวลผล - ถ้าตัวแปรใดเป็น long ตัวแปรที่นามาประมวลผลด้วยจะถูกเปลี่ยนให้ เป็น long ก่อนการประมวลผล 4) การประมวลผลตัวเลขที่มีขนาดใหญ่ Java จะมี class BigInteger ที่สามารถเรียกใช้เพื่อประมวลผลตัวเลขที่มีค่า มากกว่า int ที่จะเก็บค่าได้
  • 12. ลาดับที่ เครื่องหมาย ลาดับที่ เครื่องหมาย 1 วงเล็บ ( ) 6 = =, != 2 ++,-- 7 && 3 *, /, % 8 || 4 +, - 9 =, +=, -=, *=, /=, %= 5 <, <=, >, >= ตัวดาเนินการ ความหมาย += การบวก -= การลบ *= การคูณ /= การหาร (ได้ผลหาร) %= การหาร (ได้เศษจากการหาร) ลาดับขั้นการประมวลผลของเครื่องหมาย ตัวดาเนินการ ความหมาย ++Variable เพิ่มค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง Variable++ เพิ่มค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง - -Variable ลดค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง Variable- - ลดค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง
  • 13. การคานวณแบบย่อ (Shortcut Operator) ตัวดาเนินการ ความหมาย += การบวก -= การลบ *= การคูณ /= การหาร (ได้ผลหาร) %= การหาร (ได้เศษจากการหาร) ตัวดาเนินการ ความหมาย ++Variable เพิ่มค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง Variable++ เพิ่มค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง - -Variable ลดค่าหนึ่งค่าก่อนการเข้าถึง Variable- - ลดค่าหนึ่งค่าหลังการเข้าถึง
  • 14. ตัวดาเนินการเพิ่มค่าหรือลดค่า ตัวดาเนินการเพิ่มค่าหรือลดค่า ที่ใช้ใน JAVA ได้แก่ ++ตัวแปร คือ การเพิ่มค่าตัวแปรขึ้น 1 ก่อน แล้วจึงค่อยคืนค่า ตัวแปร++ คือ คืนค่าตัวแปรก่อน แล้วจึงค่อยเพิ่มค่าตัวแปรขึ้น 1 --ตัวแปร คือ การลดค่าตัวแปรลง 1 ก่อน แล้วจึงค่อยคืนค่า ตัวแปร-- คือ คืนค่าตัวแปรก่อน แล้วจึงค่อยลดค่าตัวแปรลง 1
  • 15. การเปลี่ยนประเภทของข้อมูล คอมไพเลอร์ภาษาจาวาสามารถแปลงข้อมูลให้มีรูปแบบที่ สอดคล้องกันได้ มี 2 รูปแบบคือ – การแปลงข้อมูลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น – การแปลงข้อมูลให้มีขนาดเล็กลง โดยทั่วไปมักจะเปลี่ยนข้อมูลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เพราะถ้าหาก แปลงข้อมูลให้มีขนาดเล็กลงอาจทาให้การประมวลผลข้อมูลเกิด ความเสียหายได้
  • 16. การแปลงขนาดข้อมูลโดย Cast Operator ในภาษาจาวาสามารถแปลงข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็กลงได้ โดยใช้Cast Operator ซึ่งจะเขียนประเภทข้อมูลที่ ต้องการแปลงไว้ในวงเล็บด้านหน้าตัวแปรที่
  • 17. คลาสสตริง การสร้าง String String เป็น Class หนึ่งใน Package ของภาษาจาวาชื่อ java.lang ทาหน้าที่ใน การเก็บข้อมูลที่เป็น “ชุดของตัวอักษร” ซึ่งปกติชนิดของข้อมูลของภาษา จาวาก็มี ชนิดเป็น character แต่เก็บข้อมูลได้เพียง 1 ตัวอักษรเท่านั้น ดังนั้นจึงลาบากในการ นามาใช้กับข้อมูลที่มากกว่า 1 ตัวอักษร หรือที่ เรียกว่า “String” ดังนั้น ภาษาจาวา จึงได้สร้าง Class สาเร็จรูปมาให้สามารถเรียกใช้ได้ทันที เรียกว่า “String” ทั้งหมดคือที่มาของคาว่า String Class
  • 18. การสร้าง Object เพื่อใช้กับ String ได้ 6 รูปแบบคือ รูปแบบที่ 1 String ชื่อObject = new String(ข้อความ); รูปแบบที่ 2 String ชื่อObject = ข้อความ; รูปแบบที่ 3 String (char chars[]); เป็นการสร้าง String ที่นา Array ชื่อ Chars มาเป็นข้อมูลใน String
  • 19. รูปแบบที่ 4 String (char chars[], int startIndex, int numChars); เป็นการเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนของ Array ไว้ใน String โดยที่ - startIndex คือกาหนดตาแหน่งเริ่มต้นใน array ที่ต้องการ เก็บ - numChars คือกาหนดจานวนตัวอักษรที่ต้องการเก็บโดย นับจาก ตาแหน่งที่ระบุใน startIndex ตัวอย่างการใช้งาน char chars[]={‘a’, ’b’, ’c’, ‘d’, ‘e’, ‘f’}; String message = new String(chars, 2, 3); ผลที่ได้ก็คือ message จะเก็บค่า cde
  • 20. รูปแบบที่ 5 String (ชื่อStringเดิม); เป็นการสร้าง String ใหม่โดยใช้โครงสร้างของ String เดิม ผลที่ได้ก็คือ String ใหม่จะมีข้อมูลเดียวกับ String เดิมที่ใช้เป็นต้นแบบใน การสร้าง รูปแบบที่ 6 เป็นการเก็บ Array ของรหัส ASCII ไว้ใน String - String (byte asciiChars[]);