SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
พื้นฐานภาษาจาวา
ภาษาจาวา เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุที่พัฒนาขึ้นโดย “เจมส์ กอสลิง” และทีมวิศวกรของเขา ซึ่ง
บริษัทซันไมโครซิสเต็ม ต้องการนาภาษาจาวามาใช้แทนภาษา C++ ชื่อของ “จาวา” มาจากชื่อ
กาแฟที่ทีมวิศวกรของซันดื่มตอนที่ร่วมกันพัฒนาภาษาจาวาขึ้นมา Java ถูกคิดค้นและสร้างโดย
บริษัท Sun Microsystems ซึ่งเป็นบริษัทผู้ขายระบบ Unix ที่มีชื่อว่า Solaris ซึ่งจุดเด่น
ของภาษา Java อยู่ที่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้หลักการของ Object-Oriented
Programming มาพัฒนาโปรแกรมของตนด้วย Java ได้พัฒนาขึ้นโดยทีมวิจัยของ บริษัท ซัน
ไมโครซิสเต็ม (Sun Microsystems)พัฒนามาจากโครงการที่ต้องการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์
เพื่อควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กภายในบ้านชื่อเดิมคือภาษา Oak ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาจาวา
ภาษาจาวาเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในปี ค.ศ. 1995ภาษาจาวาเป็นภาษาที่ไม่ขึ้นกับแพลตฟอร์ม
(platform independent)JDK 1.0 ประกาศใช้เมื่อปี1996JDK เวอร์ชันปัจจุบันคือ
Java 2
ชนิดของโปรแกรม Java
1) Java Application
เป็นการนาโปรแกรม Java มาเขียนเป็นโปรแกรมที่สามารถนามาใช้งานได้อย่างอิสระ
2) Java Applets
เป็นการนา Java มาเขียนเป็นโปรแกรมเช่นเดียวกัน แต่ไม่สามารถเรียกใช้งานได้ตามลาพัง ต้อง
นามาใส่ไว้ในเอกสาร HTML แล้วใช้โปรแกรม Web Browser หรือ Utilities ของ
Java เพื่อเรียกดูผลลัพธ์
โครงสร้าง
public class ชื่อคลาส
{
public static void main(String[] agrs)
{
ประโยคคาสั่งต่างๆ ของโปรแกรม;
…………………………………………..;
}
}
ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา
ไฟล์ Example.java
class Example
{
public static void main(String[] args)
{
String dataname = “Java Language“;
System.out.println(“My name is OAK“);
System.out.println(“OAK is a “ + dataname +“. “);
}
}
ชนิดของข้อมูล
ชนิดข้อมูลในภาษาจาวาแบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ
1) ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน (primitive data type)
หมายถึงชนิดข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลทั่วไปหรือข้อมูลพื้นฐาน มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่
boolean, char, byte, short, int, long, float,double
2) ชนิดข้อมูลแบบอ้างอิง (reference data type)
มีความแตกต่างกับชนิดข้อมูลพื้นฐาน ที่ว่าชนิดข้อมูลชนิดนี้อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการเข้าถึง(ใช้งาน)
ข้อมูลเป็นการอ้างถึง มากกว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง เก็บข้อมูลไว้2 ส่วน คือ
– Execution Stack เก็บค่าอ้างอิงที่ชี้ไปยัง Heap memory
– Heap Memory เก็บข้อมูลที่เรียกว่าออปเจ็ค ที่สร้างขึ้นมาจากคลาส
ชนิดข้อมูล ขนาด (bit) ค่าที่เก็บได้
boolean JVM กาหนด true หรือ false
byte 8 -128 ถึง 127
short 16 -32768 ถึง 32767
int 32 -2147483648 ถึง 2147483648
long 64 -9223372036854775808 ถึง 9223372036854775808
float 32 -3.4E38 ถึง 3.4E38
double 64 -1.7E308 ถึง 1.7E308
Char 16 ใช้เก็บอักขระที่มีรหัสตั้งแต่ 0 ถึง 65535
ตัวแปร
ตัวแปร (Variable) เป็นที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่เราต้องการใช้ในการประมวลผล
ตัวแปรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแทนหน่วยความจา (Memory) ที่อยู่ในเครื่อง และ Compiler
จะเป็นผู้กาหนดว่าอยู่ที่ใด มีขนาดเท่าใด
กฏเกณฑ์ในการตั้งชื่อตัวแปร
1) ประกอบด้วยตัวเลข ตัวอักษร(letter), เครื่องหมาย _ (Underscore) หรือ เครื่องหมาย $
(Dollar sign)
2) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรและห้ามเว้นวรรค
3) ไม่สามารถใช้สัญลักษณ์พิเศษอื่น เช่น +, -, *, &, %, # ฯลฯ เป็นส่วนประกอบอยู่ภายในชื่อได้
4) สามารถตั้งชื่อให้มีความยาวเท่าใดก็ได้
5) ไม่สามารถใช้ คาสงวน(Reserved word)
6) ตัวอักษรตัวใหญ่และตัวเล็ก ถือว่ามีความแตกต่างกัน
คาสงวน (Reserved Words)
abstract, assert, boolean, break, byte, case, catch, char, class,
const, continue, default, do, double, else, enum, extends, final,
finally, float, for, go to, if, implements, import, instance of, int,
interface, long, native, new, package, private, protected, public,
return, short, static, strictfp, super, switch, synchronized, this,
throw, throws, transient, try, void, volatile, while
เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน
การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ดในภาษาจาวาจะต้องสร้างออบเจ็กต์ของคลาส Scanner ขึ้นมาโดย
จะต้องประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ก่อน เช่น
Scanner keyboard;
ประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ชื่อ keyboard อยู่ในคลาส Scanner จากนั้นต้องสร้าง
ออบเจ็กต์มาโดยใช้คีย์เวิร์ด new มีรูปแบบดังนี้
ตัวแปรออบเจ็กต์ = new ชื่อคลาส(อาร์กิวเมนต์);
ดังนั้นถ้าจะให้ตัวแปร keyboard รับค่าทางแป้นพิมพ์จะต้องสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมาโดยให้มี
อาร์กิวเมนต์เป็น System.in ดังนี้
keyboard = new Scanner(System.in);
เมธอด การทางาน
nextByte() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Byte ทางแป้ นพิมพ์
nextDouble() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Double ทางแป้ นพิมพ์
nextFloat() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Float ทางแป้ นพิมพ์
nextInt() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Int ทางแป้ นพิมพ์
nextLine() รับข้อมูลแบบสตริงทางแป้ นพิมพ์
nextLong() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Long ทางแป้ นพิมพ์
nextShort() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Short ทางแป้ นพิมพ์
ในคลาส Scanner นั้นมีเมธอดสาหรับอ่านข้อมูลประเภทต่างๆหลายประเภทดังนี้
จัดทาโดย
1.นายณัฐวุฒิ สุขเจริญ เลขที่ 3
2.นายกาญจนเทพ ทองนุ่ม เลขที่ 6
3.นายคุณบุตร เอี่ยมพงษ์ไพฑูรย์ เลขที่ 7
4.นายณัฐวุฒิ จินดากูลย์ เลขที่ 8
5.นายเกรียงศักดิ์ กลั่นบุศย์ เลขที่ 11
6.นายชัชพงศ์ นาสา เลขที่ 13
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3

More Related Content

Similar to Java

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
Java Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionJava Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionIMC Institute
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งานใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งานKrittamook Sansumdang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sirada nilbut
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา SqlThitiya Mueanchan
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา SqlThitiya Mueanchan
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
ภาษาJava
ภาษาJavaภาษาJava
ภาษาJavaPhurin002
 

Similar to Java (20)

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Java Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionJava Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : Introduction
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
Ppt Moodle
Ppt MoodlePpt Moodle
Ppt Moodle
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งานใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่7 การประยุกต์ใช้งาน
 
Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
ภาษาJava
ภาษาJavaภาษาJava
ภาษาJava
 
ชื่อ (Identifier)
ชื่อ (Identifier)	ชื่อ (Identifier)
ชื่อ (Identifier)
 

More from T'ae Klunboot

Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่
Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่ Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่
Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่ T'ae Klunboot
 
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Wordแสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร WordT'ae Klunboot
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลT'ae Klunboot
 
รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365
รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365
รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365T'ae Klunboot
 

More from T'ae Klunboot (9)

Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่
Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่ Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่
Youtube ปล่อยลูกเล่นใหม่
 
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Wordแสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365
รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365
รายงานคอม เรืองOffice-บน-cloudonedrivegoogle-doesoffice-365
 
Skype Translator
Skype TranslatorSkype Translator
Skype Translator
 
IT News
IT NewsIT News
IT News
 
IT News
IT NewsIT News
IT News
 
It news
It news It news
It news
 
It news
It newsIt news
It news
 

Java

  • 2. ภาษาจาวา เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุที่พัฒนาขึ้นโดย “เจมส์ กอสลิง” และทีมวิศวกรของเขา ซึ่ง บริษัทซันไมโครซิสเต็ม ต้องการนาภาษาจาวามาใช้แทนภาษา C++ ชื่อของ “จาวา” มาจากชื่อ กาแฟที่ทีมวิศวกรของซันดื่มตอนที่ร่วมกันพัฒนาภาษาจาวาขึ้นมา Java ถูกคิดค้นและสร้างโดย บริษัท Sun Microsystems ซึ่งเป็นบริษัทผู้ขายระบบ Unix ที่มีชื่อว่า Solaris ซึ่งจุดเด่น ของภาษา Java อยู่ที่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้หลักการของ Object-Oriented Programming มาพัฒนาโปรแกรมของตนด้วย Java ได้พัฒนาขึ้นโดยทีมวิจัยของ บริษัท ซัน ไมโครซิสเต็ม (Sun Microsystems)พัฒนามาจากโครงการที่ต้องการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ เพื่อควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กภายในบ้านชื่อเดิมคือภาษา Oak ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาจาวา ภาษาจาวาเริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในปี ค.ศ. 1995ภาษาจาวาเป็นภาษาที่ไม่ขึ้นกับแพลตฟอร์ม (platform independent)JDK 1.0 ประกาศใช้เมื่อปี1996JDK เวอร์ชันปัจจุบันคือ Java 2
  • 3. ชนิดของโปรแกรม Java 1) Java Application เป็นการนาโปรแกรม Java มาเขียนเป็นโปรแกรมที่สามารถนามาใช้งานได้อย่างอิสระ 2) Java Applets เป็นการนา Java มาเขียนเป็นโปรแกรมเช่นเดียวกัน แต่ไม่สามารถเรียกใช้งานได้ตามลาพัง ต้อง นามาใส่ไว้ในเอกสาร HTML แล้วใช้โปรแกรม Web Browser หรือ Utilities ของ Java เพื่อเรียกดูผลลัพธ์
  • 4. โครงสร้าง public class ชื่อคลาส { public static void main(String[] agrs) { ประโยคคาสั่งต่างๆ ของโปรแกรม; …………………………………………..; } }
  • 5. ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา ไฟล์ Example.java class Example { public static void main(String[] args) { String dataname = “Java Language“; System.out.println(“My name is OAK“); System.out.println(“OAK is a “ + dataname +“. “); } }
  • 6. ชนิดของข้อมูล ชนิดข้อมูลในภาษาจาวาแบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ 1) ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน (primitive data type) หมายถึงชนิดข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลทั่วไปหรือข้อมูลพื้นฐาน มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่ boolean, char, byte, short, int, long, float,double 2) ชนิดข้อมูลแบบอ้างอิง (reference data type) มีความแตกต่างกับชนิดข้อมูลพื้นฐาน ที่ว่าชนิดข้อมูลชนิดนี้อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการเข้าถึง(ใช้งาน) ข้อมูลเป็นการอ้างถึง มากกว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง เก็บข้อมูลไว้2 ส่วน คือ – Execution Stack เก็บค่าอ้างอิงที่ชี้ไปยัง Heap memory – Heap Memory เก็บข้อมูลที่เรียกว่าออปเจ็ค ที่สร้างขึ้นมาจากคลาส
  • 7. ชนิดข้อมูล ขนาด (bit) ค่าที่เก็บได้ boolean JVM กาหนด true หรือ false byte 8 -128 ถึง 127 short 16 -32768 ถึง 32767 int 32 -2147483648 ถึง 2147483648 long 64 -9223372036854775808 ถึง 9223372036854775808 float 32 -3.4E38 ถึง 3.4E38 double 64 -1.7E308 ถึง 1.7E308 Char 16 ใช้เก็บอักขระที่มีรหัสตั้งแต่ 0 ถึง 65535
  • 8. ตัวแปร ตัวแปร (Variable) เป็นที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่เราต้องการใช้ในการประมวลผล ตัวแปรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแทนหน่วยความจา (Memory) ที่อยู่ในเครื่อง และ Compiler จะเป็นผู้กาหนดว่าอยู่ที่ใด มีขนาดเท่าใด กฏเกณฑ์ในการตั้งชื่อตัวแปร 1) ประกอบด้วยตัวเลข ตัวอักษร(letter), เครื่องหมาย _ (Underscore) หรือ เครื่องหมาย $ (Dollar sign) 2) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรและห้ามเว้นวรรค 3) ไม่สามารถใช้สัญลักษณ์พิเศษอื่น เช่น +, -, *, &, %, # ฯลฯ เป็นส่วนประกอบอยู่ภายในชื่อได้ 4) สามารถตั้งชื่อให้มีความยาวเท่าใดก็ได้ 5) ไม่สามารถใช้ คาสงวน(Reserved word) 6) ตัวอักษรตัวใหญ่และตัวเล็ก ถือว่ามีความแตกต่างกัน
  • 9. คาสงวน (Reserved Words) abstract, assert, boolean, break, byte, case, catch, char, class, const, continue, default, do, double, else, enum, extends, final, finally, float, for, go to, if, implements, import, instance of, int, interface, long, native, new, package, private, protected, public, return, short, static, strictfp, super, switch, synchronized, this, throw, throws, transient, try, void, volatile, while
  • 10. เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ดในภาษาจาวาจะต้องสร้างออบเจ็กต์ของคลาส Scanner ขึ้นมาโดย จะต้องประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ก่อน เช่น Scanner keyboard; ประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ชื่อ keyboard อยู่ในคลาส Scanner จากนั้นต้องสร้าง ออบเจ็กต์มาโดยใช้คีย์เวิร์ด new มีรูปแบบดังนี้ ตัวแปรออบเจ็กต์ = new ชื่อคลาส(อาร์กิวเมนต์); ดังนั้นถ้าจะให้ตัวแปร keyboard รับค่าทางแป้นพิมพ์จะต้องสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมาโดยให้มี อาร์กิวเมนต์เป็น System.in ดังนี้ keyboard = new Scanner(System.in);
  • 11. เมธอด การทางาน nextByte() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Byte ทางแป้ นพิมพ์ nextDouble() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Double ทางแป้ นพิมพ์ nextFloat() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Float ทางแป้ นพิมพ์ nextInt() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Int ทางแป้ นพิมพ์ nextLine() รับข้อมูลแบบสตริงทางแป้ นพิมพ์ nextLong() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Long ทางแป้ นพิมพ์ nextShort() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Short ทางแป้ นพิมพ์ ในคลาส Scanner นั้นมีเมธอดสาหรับอ่านข้อมูลประเภทต่างๆหลายประเภทดังนี้
  • 12. จัดทาโดย 1.นายณัฐวุฒิ สุขเจริญ เลขที่ 3 2.นายกาญจนเทพ ทองนุ่ม เลขที่ 6 3.นายคุณบุตร เอี่ยมพงษ์ไพฑูรย์ เลขที่ 7 4.นายณัฐวุฒิ จินดากูลย์ เลขที่ 8 5.นายเกรียงศักดิ์ กลั่นบุศย์ เลขที่ 11 6.นายชัชพงศ์ นาสา เลขที่ 13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3