SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
เอกสารวิชาการ
เรื่อง
การศึกษาความเปนไปไดของรานยาในการปฏิบัติตาม
รางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง
วิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน
โดย
นายทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ
สํานักยา
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ.2554
- ก –
คํานํา
ดวยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไดเสนอรางกฎกระทรวงวาดวย
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และการตออายุใบอนุญาตขายยาขึ้นเพื่อ
ปรับปรุงกฎหมายใหเหมาะสมกับปจจุบัน ซึ่งรางกฎกระทรวงดังกลาวไดรับอนุมัติในหลักการจาก
คณะรัฐมนตรีแลวเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 โดยขณะนี้อยูในขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา รางกฎกระทรวงดังกลาวไดกําหนดหลักเกณฑเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัช
กรรมใหรานขายยาแผนปจจุบันตองมีการปฏิบัติและเปนเงื่อนไขหนึ่งในการตออายุใบอนุญาต เพื่อ
ยกระดับมาตรฐานการใหบริการของรานขายยาแผนปจจุบัน ใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัย
จากการมารับบริการในรานยา และเปนการตอบสนองตอสิทธิผูบริโภคที่ควรไดรับจากรานยา
เพื่อเปนการเตรียมความพรอมหากมีการประกาศใชรางกฎกระทรวงดังกลาว
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมีการตั้งคณะทํางานซึ่งประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจาก
หลายภาคสวนในการยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม
ชุมชนขึ้น โดยกําหนดเปนหลักเกณฑที่รานยาตองปฏิบัติ ซึ่งอางอิงจากมาตรฐานรานยาของสภา
เภสัชกรรม แตอยางไรก็ดีเพื่อใหรางประกาศฯที่ยกรางขึ้นนี้ไดรับการยอมรับ และสามารถปฏิบัติได
จึงไดมีการศึกษานี้ขึ้น เพื่อเก็บขอมูลจากการสังเกต และสัมภาษณรานขายยาแผนปจจุบัน ถึงความ
เปนไปไดของรานยาในการปฏิบัติตามรางประกาศฯ ดังกลาว ซึ่งผลที่ไดจากการศึกษานี้จะเปน
ประโยชนอยางยิ่งตอการเตรียมการเพื่อใหการเตรียมการรองรับของ สํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา เพื่อใหการบังคับใชกฎหมายดังกลาวสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ นําสูความ
ปลอดภัยที่ผูบริโภคจะไดรับตอไป
ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ
มิถุนายน 2554
- ข -
บทสรุปผูบริหาร
รานยา นับวามีความสําคัญอยางยิ่งในระบบสาธารณสุขไทย เนื่องจากเปนที่พึ่งของ
ประชาชนในการดูแลตนเองเมื่อมีอาการเจ็บปวยเล็กนอย สามารถเขาถึงไดงาย ดวยเหตุนี้ สํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมีการปรับปรุงกฎหมายที่ใชในการควบคุมกํากับรานยา ใหมีความ
สอดคลองกับปจจุบัน ตอบสนองตอสิทธิของผูบริโภคในการเขาถึงบริการดานยาที่มีคุณภาพโดย
จัดทํารางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และการตออายุ
ใบอนุญาตขายยา พ.ศ.....ซึ่งไดผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว และอยูระหวางการ
พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยมีสาระสําคัญประการหนึ่งคือการกําหนดใหรานยาตองมี
การปฏิบัติตาม(ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาถึงความเปนไปไดของรานยาในการปฏิบัติตามราง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ที่คณะทํางานยกรางขึ้น โดย
เลือกรานยาที่มีความสนใจพัฒนาเปนรานยาคุณภาพ หรือสมัครเขาสูการรับรองเปนรานยาคุณภาพ
เปนกลุมตัวอยาง เนื่องจากเปนรานยาที่มีการดําเนินการตามที่กฎหมายบัญญัติไวไดครบถวน มี
เภสัชกรอยูประจําตลอดเวลาที่เปดทําการ และใหความรวมมืออยางดีในการสังเกต และสัมภาษณ
ผลการศึกษาพบวารานยาสามารถปฏิบัติไดทันที หรือแกไขเล็กนอยก็สามารถปฏิบัติได
จํานวน 13 ขอ จากทั้งหมด 20 ขอ ของแบบสังเกต และสัมภาษณที่ไดพัฒนาขึ้นจากรางประกาศฯ
สวนอีก 7 ขอจําเปนที่จะตองมีการเตรียมการ ไดแก การแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบระหวาง
เภสัชกรและบุคลากรอื่นในราน ซองบรรจุยาที่ตองมีรายละเอียดครบถวน การจัดเก็บประวัติและ
ขอมูลการใชยาของผูปวย การจัดใหมีหลักเกณฑการคัดกรองและสงตอผูปวย การมีกระบวนการ
ควบคุมยาเสื่อมคุณภาพ ยาที่สงมอบถูกบรรจุในภาชนะบรรจุที่ปองกันการเสื่อมคุณภาพของยา
และการรายงานหากพบอาการไมพึงประสงคจากยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ซึ่งประเด็นเหลานี้ควรจะ
ไดมีการเตรียมการประชาสัมพันธใหรานยาทั่วไปไดมีความเขาใจ และเตรียมพรอมโดย
ประสานงานกับสมาคมเภสัชกรรมชุมชน(ประเทศไทย) และหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดทําคูมือ
และแนวปฏิบัติตางๆที่ถูกตอง นอกจากนี้ในประเด็นการประเมินความพรอมของเภสัชกรผูมี
หนาที่ปฏิบัติการ และการสรางความชัดเจนใหกับพนักงานรานยาหรือผูชวยเภสัชกรตลอดถึง
หลักสูตรอบรมพนักงานรานยาหรือผูชวยเภสัชกรนั้นควรจะไดมีการประสานงานกับ
สภาเภสัชกรรมเพื่อเตรียมการลวงหนาตอไป
***********************
- ค -
สารบัญ
หนา
คํานํา ก
บทสรุปผูบริหาร ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง จ
สารบัญแผนภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนํา
- ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
- วัตถุประสงค 2
- กรอบแนวคิดในการศึกษา 2
- ขอบเขตการศึกษา 2
- ขอจํากัดของการศึกษา 2
- ขั้นตอนการดําเนินงาน 3
- ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3
- นิยามศัพท 3
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ
- (ราง) กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออกใบอนุญาต
และตออายุใบอนุญาต เกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. …. 5
- หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม 6
- มาตรฐานรานยา 6
- (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน 7
บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษา
- กลุมตัวอยางในการศึกษา 13
- เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 13
- การวิเคราะหขอมูล 21
- ง -
สารบัญ
หนา
บทที่ 4 วิเคราะหผลการศึกษา
- วิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 22
- หมวดที่ 1 บุคลากร 24
- หมวดที่ 2 การใหบริการเภสัชกรรม 25
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ
- สรุปผลการศึกษา 30
- อภิปรายผล 31
- หมวดที่ 1 บุคลากร 32
- หมวดที่ 2 การปฏิบัติทางเภสัชกรรม 32
- ขอเสนอแนะ 34
ภาคผนวก
- คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 313 / 2549 ลงวันที่
23 มิถุนายน พ.ศ.2549 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางหลักเกณฑ
วิธีการ เงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และตออายุใบอนุญาตขายยา 36
- หนังสือกระทรวงสาธารณสุขที่ สธ.1003.12 / 4915 ลงวันที่ 31 ตุลาคม
พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการ
ออกใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... 37
- หนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร 0503 / 23885 ลงวันที่ 18 ธันวาคม
พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการ
ออกใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... 39
- คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 215 / 2550 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม
พ.ศ.2550 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวย
เรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน 40
- (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ
หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... 42
เอกสารอางอิง 45
- จ -
สารบัญตาราง
หนา
ตาราง 1 เปรียบเทียบระหวาง (ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทาง
เภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... กับ มาตรฐานรานยา
ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 8
ตาราง 2 ประเด็นสังเกต และสัมภาษณจาก (ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทาง
เภสัชกรรมในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... 14
ตาราง 3 เกณฑการวัดระดับความสามารถในการปฏิบัติตามรางประกาศฯ ของรานยา 17
ตาราง 4 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 22
ตาราง 5 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 1 (บุคลากร) 25
ตาราง 6 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 2 (การใหบริการเภสัชกรรม) 26
ตาราง 7 ผลการสังเกตรายละเอียดบนซองยาตามรางประกาศฯ 29
- ฉ -
สารบัญแผนภาพ
หนา
แผนภาพ 1 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 1 (บุคลากร) 25
แผนภาพ 2 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 2 (การใหบริการเภสัชกรรม) 27
1
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
การใหบริการดานยาในรานยาเปนจุดสําคัญอยางยิ่งในระบบสาธารณสุขไทยเนื่องจาก
ประชาชนกวารอยละ 30 1
เมื่อเกิดอาการเจ็บปวยจะพึ่งพาตนเองดวยการซื้อยาจากรานยา จึงนับไดวา
เปนสถานบริการสาธารณสุขในระดับตนที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดงาย มีการกระจายตัวอยูตาม
ชุมชนตางๆ และมีชวงเวลาเปดทําการที่สอดคลองกับชุมชนนั้นๆ การยกระดับรานยาใหมีคุณภาพจึง
เทากับเปนการสงเสริมความปลอดภัยในการใชยาของประชาชน โดยมีเภสัชกรเปนบุคลากรที่สําคัญที่
จะชวยยกระดับคุณภาพงานบริการ และสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยดานยา
แตเนื่องดวยการควบคุมตามกฎหมายโดย พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแกไข
เพิ่มเติม ประกอบกับกฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.
2510 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2528) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา
พ.ศ. 2510 มีการประกาศใชมาเปนเวลานานไมเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน เพื่อเปนการยกระดับ
มาตรฐานของรานยา เพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัยจากการมาใชบริการรานยา และเปนการ
เตรียมความพรอมของรานยาในการเขาไปเปนสวนหนึ่งของระบบประกันสุขภาพ สํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมียกรางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการ
อนุญาตขายยา และการตออายุใบอนุญาตขายยา พ.ศ..... ขึ้น เพื่อปรับปรุงกฎกระทรวงฉบับขางตนใหมี
ความทันสมัย ตอบสนองตอสิทธิของผูบริโภคในการเขาถึงความปลอดภัยดานยา และมีความเหมาะสม
กับสถานการณปจจุบัน
ในรางกฎกระทรวงดังกลาวไดมีการระบุถึงเงื่อนไขในการตออายุใบอนุญาตคือ รานยา
จะตองผานการตรวจประเมินตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม
ชุมชน ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงไดมีการเตรียมการโดยตั้งคณะทํางานขึ้นเพื่อยก
รางประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกลาว และรางฯดังกลาวไดผานการรับฟงความเห็นจากผูเกี่ยวของ
จากทุกภาคสวนในระดับหนึ่งแลววาเปนสิ่งที่รานยาควรจะตองปฏิบัติ แตก็ยังขาดขอมูลในสวนของ
ความสามารถในการปฏิบัติของรานยา รวมถึงปญหาและอุปสรรคตางๆที่อาจจะเกิดขึ้น ที่จะตอง
เตรียมการรองรับการประกาศใช
จากขางตนจึงเปนที่มาของการศึกษานี้ โดยศึกษาถึงความสามารถของรานยาที่จะปฏิบัติ
ตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ที่คณะทํางานไดยกรางขึ้น
โดยขอมูลที่ไดจะไดนํามารวบรวม วิเคราะหเพื่อเสนอตอคณะทํางานในการเตรียมการรองรับ และ
อาจมีการปรับแกไขในบางประเด็นใหมีความเหมาะสมตอไป
2
วัตถุประสงค
1. เพื่อทราบถึงความเปนไปไดของรานยาในการปฏิบัติตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุข
วาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน
2 เพื่อจัดทําขอเสนอแนะในการเตรียมการเพื่อรองรับประกาศใชรางประกาศกระทรวง
สาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
กรอบแนวคิดในการศึกษา
ขอบเขตการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้จะเปนการศึกษาถึงความเปนไปไดของรานขายยาแผนปจจุบัน(ขย.1) ที่
สมัครเขาสูกระบวนการรับรองเปนรานยาคุณภาพ หรือมีความตั้งใจจะพัฒนารานใหเปนรานยาคุณภาพ
เกี่ยวกับความเปนไปไดในการปฏิบัติตามหมวดที่ 1 บุคลากร และหมวดที่ 2 เรื่องการใหบริการทาง
เภสัชกรรม ของรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ฉบับที่ยก
รางขึ้นโดยคณะทํางานยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
โดยใชรูปแบบของการสังเกต และสัมภาษณเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ
รูปแบบของการเก็บขอมูลจะดําเนินการควบคูกับการลงพื้นที่เพื่อตรวจประเมินรานยา
คุณภาพของสภาเภสัชกรรม โดยดําเนินการในชวงตั้งแตวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 – 9 พฤษภาคม 2554
ขอจํากัดของการศึกษา
การศึกษานี้จะไมไดศึกษาถึงความเปนไปไดของรานยาในการดําเนินการตามหมวดที่ 3
เรื่องการขายสงยา ของรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
เนื่องจากในกฎหมายที่บังคับใชในปจจุบันคือ กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2525) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2528) ออกตามความ
ผลความเปนไปไดในการปฏิบัติตามราง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง
วิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
รางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวย
เรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
รานขายยาแผนปจจุบัน
ที่มีความสนใจในการพัฒนาเปนรานยาคุณภาพ หรือ
สมัครเขาสูกระบวนการรับรองเปนรานยาคุณภาพ
3
ในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 นั้น มิไดกําหนดกฎเกณฑสําหรับรานขายสงเปนการเฉพาะขณะที่ราง
กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และการตออายุใบอนุญาต
ขายยา พ.ศ..... ระบุใหรานยาที่ประสงคจะขายสงตองมีการขออนุญาตโดยมีใบอนุญาตเปนการเฉพาะ
ตามแบบ ข.ย.4/1 ซึ่งจะทําใหมีความชัดเจนในการระบุวารานใดเปนรานขายสงมากกวาในปจจุบัน
ขั้นตอนการดําเนินงาน
1. ศึกษารางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
2. กําหนดประเด็นที่จะสังเกต และสัมภาษณรานยา
3. ประสานงานกับสภาเภสัชกรรม และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการลงพื้นที่เพื่อเยี่ยม
สํารวจรานยาที่มีความสนใจจะพัฒนารานยาใหเปนรานยาคุณภาพ
4. ลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมสํารวจรานยาที่มีความสนใจจะพัฒนารานยาใหเปนรานยาคุณภาพ รวมกับ
การสังเกต และสัมภาษณเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการในประเด็นความเปนไปไดของรานยา
ในการปฏิบัติตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม
ชุมชน
5. รวบรวม วิเคราะห และสรุปผลที่ไดจากการสังเกต และสัมภาษณ
6. จัดทําขอสรุป ขอเสนอแนะ และการเตรียมการที่จะรองรับการประกาศใชรางประกาศ
กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
ชวยใหเกิดความรูความเขาใจถึงความเปนไปได และความสามารถของรานยาในการ
ปฏิบัติตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน เพื่อ
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะไดใชเปนขอมูลในการเตรียมการเพื่อรองรับประกาศใชราง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตอไป
นิยามศัพท
การใหบริการทางเภสัชกรรม หมายถึง กระบวนการที่ผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมกระทําตอ
ผูปวยหรือรวมกับวิชาชีพทางสาธารณสุขอื่นในการคนหา ปองกัน แกไขปญหาที่
เกี่ยวเนื่องกับการใชยา รวมถึงการติดตามแผนการรักษาดวยยาทั้งทางตรงและ
ทางออม
รานยาคุณภาพ หมายถึง รานขายยาแผนปจจุบันที่ผานการตรวจประเมิน และผานการรับรองจาก
สภาเภสัชกรรม ใหเปนรานยาคุณภาพ
4
เภสัชกรรมชุมชน2
หมายถึง การปฏิบัติงานของเภสัชกร ซึ่งมีความเกี่ยวพันกับยา และผลิตภัณฑอื่น
ภายในรานขายยา ไมวาจะเปนการขายยาในการบรรเทาอาการเจ็บปวยเบื้องตน หรือ
ผลิตภัณฑสุขภาพ หรือรวมถึงการใหคําแนะนําดานสุขภาพ แกประชาชนในชุมชน
นั้นๆ ที่มาขอรับบริการ
รานยาเดี่ยว หมายถึง รานขายยาที่ผูรับอนุญาตเปนเจาของธุรกิจรานขายยานั้นเพียงรานเดียว
รานยาลูกโซ หมายถึง รานขายยาเครือขายที่มีเจาของธุรกิจรายเดียวกัน
*******************************
5
บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ
(ราง) กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออกใบอนุญาตและตออายุ
ใบอนุญาต เกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ….
ดวยการควบคุมตามกฎหมายโดย พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแกไขเพิ่มเติม
ประกอบกับกฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่ง
แกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2528) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
มีการประกาศใชมาเปนเวลานานไมเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน เพื่อเปนการยกระดับมาตรฐาน
ของรานยา เพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัยจากการมาใชบริการรานยา และเปนการเตรียมความ
พรอมของรานยาในการเขาไปเปนสวนหนึ่งของระบบประกันสุขภาพ สํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยาจึงไดมีคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 313/2549 ลงวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2549
เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และตออายุใบอนุญาต
ขายยา
คณะทํางานดังกลาวไดยกรางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออก
ใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ....ขึ้น และไดผานการรับฟง
ความคิดเห็นจากภาคสวนที่เกี่ยวของจํานวน 3 ครั้ง ในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ.2549 วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.
2549 และวันที่ 6 กุมภาพันธ พ.ศ.2550 โดยการจัดประชุม รวมกับการเปดรับฟงความเห็นผานเว็บไซต
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการยาแลว
กระทรวงสาธารณสุขไดมีหนังสือถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ สธ.1003.12 / 4915
ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออก
ใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ
หลักการตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ และสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลว
ดําเนินการตอไปได เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2550 ปรากฏตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ที่ นร 0503 / 23885 ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ
เงื่อนไขการออกใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... ปจจุบัน ราง
กฎกระทรวงดังกลาวอยูในขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
กฎกระทรวงฉบับใหมนี้ ชมรมรานขายยาแหงประเทศไทย สมาคมเภสัชกรรมชุมชน
(ประเทศไทย) และสมาคมรานขายยา ไดมีสวนรวมกันในการยกราง และมีความตั้งใจรวมกันที่จะ
ยกระดับมาตรฐานรานยา โดยรวมตัวกันภายใตชื่อ “สมาพันธพัฒนาคุณภาพรานยาแหงประเทศไทย3
”
6
หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม
หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม (Good Pharmacy Practice : GPP) เปนแนววิธีปฏิบัติที่ดีทาง
เภสัชกรรมในระบบการดูแลสุขภาพ ซึ่งไดเริ่มพัฒนาขึ้นในป ค.ศ.1991 ภายใตชื่อ Standards for quality
of pharmacy services โดย The International Pharmaceutical Federation (FIP) และไดจัดทําแลวเสร็จ
เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ.1993 และการประชุมขององคการอนามัยโลก (World Health Assembly) ใหการ
รับรองเปนมติที่ WHA 47.12 : Role of the pharmacist in support of the WHO revised drug strategy ใน
เดือนพฤษภาคม ค.ศ.1994 4
หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม มีจุดประสงคเพื่อใหเกิดความชัดเจน และการรวมมือกันใน
การปฏิบัติเภสัชกรรมที่ดี ซึ่งการพัฒนาแนวทางในการปฏิบัติจะดําเนินไปตามระบบการดูแลสุขภาพ
โดยมีความสัมพันธกับ 5
- การสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค
- ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และเศรษฐานะของผูปวยโดยมีรานยาเปนที่พึ่ง
- การบงชี้และแกปญหาที่เกิดจากการใชยา
- การปฏิบัติจะเกี่ยวของกับการดูแลสุขภาพที่ดี และการหลีกเลี่ยงความเจ็บปวยของประชาชน
หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมสําหรับประเทศไทยนั้น สภาเภสัชกรรมไดจัดทํามาตรฐาน
รานยาขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการบริบาลทางเภสัชกรรมของรานยา โดยมุงหวังใหเกิดบริการที่มี
คุณภาพในรานยา มีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ และเกิดความเชื่อถือจากประชาชน และสังคมโดยรวม อีก
ทั้งเปนการกําหนดเกณฑมาตรฐานในการประเมิน ติดตาม ตรวจสอบเพื่อการพัฒนา และรับรอง
คุณภาพการบริการของรานยาเพื่อเปนแนวทางการพัฒนาความพรอมของรานยาเพื่อเขาสูการเปนหนวย
บริการของเครือขายระบบบริการสุขภาพภายใตการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนาตอไป
มาตรฐานรานยา
“รานยาคุณภาพ” คือ รานยาที่ผานการรับรองจากสภาเภสัชกรรม วามีมาตรฐานการใหบริการ
ดานยาและสุขภาพที่ดี มีคุณภาพ โดยมีการพัฒนามาตรฐานดานตางๆมากกวาเกณฑที่กําหนดใน
กฎหมาย ทั้งนี้สภาเภสัชกรรมเปนผูใหการรับรองคุณภาพดังกลาว โดยมาตรฐานรานยาที่ใชในการ
ประเมินรับรอง เกิดจากการรวบรวมและทบทวนมาตรฐานที่เปนสากลของประเทศตางๆ รางมาตรฐาน
ของสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) รางมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การระดมสมองของนักวิชาการ และเภสัชกรผูปฏิบัติงาน รวมทั้งการรวบรวมประสบการณแนวทาง
และรูปแบบการปฏิบัติจริงของเภสัชกรผูทรงคุณวุฒิ และเภสัชกรผูมีความคิดสรางสรรคในการพัฒนา
จากทั่วประเทศ แลวสังเคราะหเปน “มาตรฐานรานยา” ในปพ.ศ. 2545 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปน
7
แนวทางในการดําเนินการใหเกิดการบริบาลทางเภสัชกรรมของผูประกอบวิชาชีพในรานยา ซึ่ง
มาตรฐานรานยา ประกอบดวยมาตรฐานตาง ๆ 5 ดาน ไดแก 6
มาตรฐานที่ 1 สถานที่ อุปกรณ และสิ่งสนับสนุนบริการ
ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อใหมีองคประกอบทางกายภาพที่เหมาะสมและ
สนับสนุนใหเกิดการบริการที่มีคุณภาพ โดยมีการจัดแบงพื้นที่เปนสัดสวนที่เพียงพอและเหมาะสม
สําหรับการใหบริการ แสดงใหเห็นอยางเดนชัดระหวางพื้นที่ที่ตองปฏิบัติการโดยเภสัชกร และพื้นที่
บริการอื่น ๆ มีการจัดหมวดหมูของยา ผลิตภัณฑสุขภาพ และการเก็บรักษาที่เอื้อตอการรักษาคุณภาพ
ของผลิตภัณฑ ตลอดจนตองจัดหาอุปกรณ และสิ่งสนับสนุนการใหบริการที่ดีแกประชาชน
มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการเพื่อคุณภาพ
ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อเปนการประกันวา กระบวนการบริหารจัดการจะ
เปนไปตามกระบวนการคุณภาพอยางตอเนื่อง ตอบสนองความตองการที่แทจริงของผูรับบริการ และ
ปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบวิชาชีพ มาตรฐานนี้ครอบคลุม บุคลากร กระบวนการ
คุณภาพที่มุงเนนใหรานยามีกระบวนการและเอกสารที่สามารถเปนหลักประกันคุณภาพบริการ
มาตรฐานที่ 3 การบริการเภสัชกรรมที่ดี
ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อใหผูมีหนาที่ปฏิบัติการใหบริการเภสัชกรรมบน
พื้นฐานมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมอยางมีคุณภาพ และกอใหเกิดความพึงพอใจเกินความคาดหวังของ
ผูรับบริการ
มาตรฐานที่ 4 การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และจริยธรรม
ความมุงหมายของมาตรฐานนี้ เพื่อเปนการควบคุมกํากับใหรานยาเกิดการปฏิบัติที่สอดคลอง
กับกฎหมายที่เกี่ยวของ และมุงหมายใหเกิดการปฏิบัติที่เปนไปตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ
มาตรฐานที่ 5 การใหบริการและการมีสวนรวมในชุมชนและสังคม
ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อใหรานยาใหบริการแกชุมชน ตลอดจนใหเกิดการมีสวน
รวมกับชุมชนในการดําเนินการคนหา และแกไขปญหาที่เกี่ยวของดานยาและสุขภาพของชุมชน
โดยตรง
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออกใบอนุญาต และตออายุ
ใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ....จะเปนการยกระดับมาตรฐานของการกํากับดูแลการ
อนุญาตสถานที่ขายยาใหมีคุณภาพงานบริการที่มีมาตรฐานยิ่งขึ้น อันจะเปนการคุมครองความปลอดภัย
8
ผูใชบริการ และตอบสนองสิทธิของผูใชยา โดยกําหนดเปนเงื่อนไขในการอนุญาต และตออายุ
ใบอนุญาตของรานขายยาแผนปจจุบันที่จะตองผานมาตรฐานในเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน
ในการนี้เพื่อเปนการเตรียมการรองรับการประกาศใชของกฎกระทรวงดังกลาวสํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมีคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 215 / 2550 ลงวันที่
9 พฤษภาคม พ.ศ.2550 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน คณะทํางานดังกลาวไดมีการบรรจุผูแทนกลุมผูประกอบการรานยาทั้ง
3 กลุมในประเทศ เขาไปดวยไดแก ชมรมรานขายยาแหงประเทศไทย สมาคมเภสัชกรรมชุมชน
(ประเทศไทย) และสมาคมรานขายยา ประกอบกับไดมีการรับฟงความเห็นจากเภสัชกรกลุมงาน
คุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และกลุมผูประกอบการทั้ง 3 กลุมขางตนแลว7,8
เพื่อให
รางประกาศฯ ดังกลาวสามารถเปนไปไดในทางปฏิบัติ
รางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนนี้ยกรางขึ้น
โดยใชชื่อวา “(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และ
วิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ....” ทั้งนี้ที่มาของรางประกาศฯดังกลาวไดมา
จากการศึกษาทบทวนจาก “หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม” (Good Pharmacy Practice : GPP) และ
“มาตรฐานรานยา” ของสภาเภสัชกรรม
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... แบงเนื้อหาออกเปน 3 หมวด ไดแก หมวด
บุคลากร หมวดการใหบริการทางเภสัชกรรม และหมวดการขายสงยา ทั้งนี้สามารถเปรียบเทียบ
ประเด็นในแตละหมวด กับมาตรฐานรานยาของสภาเภสัชกรรมไดดังตาราง 1
ตาราง 1 เปรียบเทียบระหวาง (ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ
หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... กับ มาตรฐานรานยา
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ.....
มาตรฐานรานยา
สภาเภสัชกรรม
หมวดที่ 1 บุคลากร
1.1 เภสัชกรตองผานการประเมินความพรอมในการ
ใหบริการทางเภสัชกรรมจากสภาเภสัชกรรมหรือ
หนวยงานที่สภาเภสัชกรรมรับรอง
- ไมไดกําหนด
1.2 เภสัชกรจะตองแตงกายเปนไปตามควร เหมาะสมแก
ฐานะ และศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพเภสัชกรรม ตามหลักเกณฑ
ที่สภาเภสัชกรรมกําหนดและแตกตางจากบุคลากรอื่นๆ
ในราน
- ผูมีหนาที่ปฏิบัติการตองแสดงตนใหสาธารณชนทราบ
วา เปนเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ โดยสวมเครื่องแบบ
ตามขอกําหนดของสภาเภสัชกรรม (ขอ 2.1.1ข)
9
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ.....
มาตรฐานรานยา
สภาเภสัชกรรม
1.3 ผูรับอนุญาตตองปฏิบัติตอไปนี้โดยความเห็นชอบ
ของเภสัชกร
1.3.1 ควบคุมการแตงกายของพนักงานรานยา และ
บุคลากรอื่นภายในรานขายยาดวยเครื่องแตงกายที่ไมสื่อ
ไปในทางที่จะกอใหเกิดความเขาใจวาเปนเภสัชกร
- ผูชวยปฏิบัติการตองแสดงตน และแตงกายให
สาธารณชนทราบวาเปน ผูชวยเภสัชกร(ขอ 2.1.2ก)
1.3.2 แบงแยกบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของ
เภสัชกร พนักงานรานยา และบุคลากรอื่นภายในรานขาย
ยาในการใหบริการใหชัดเจน โดยคํานึงถึงความถูกตอง
ตามกฎหมายดานยาและขอบังคับแหงวิชาชีพเภสัชกรรม
- ผูชวยปฏิบัติการตองปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแล
ของเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ(ขอ 2.1.2ข)
- ไมจําหนายยาที่อยูในความรับผิดชอบของเภสัชกร
ในขณะที่เภสัชกรไมอยูปฏิบัติหนาที่(ขอ 4.6)
- ตองไมประพฤติปฏิบัติการใด ๆ ที่สงผลกระทบในทาง
เสื่อมเสียตอวิชาชีพเภสัชกรรมและวิชาชีพอื่น ๆ(ขอ 4.7)
1.3.3 จัดใหพนักงานรานยาผานการอบรมตามหลักสูตร
ที่ สภาเภสัชกรรมใหการรับรอง เปนประจําทุกป
- ไมไดกําหนด
1.4 การดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับผูมารับบริการใน
รานยาโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใชเภสัชกรหรือพนักงานราน
ยา จะตองไดรับคํายินยอมอยางเปนลายลักษณอักษรจาก
เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ และใหถือเปนความ
รับผิดชอบที่เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการจะตองควบคุม
กํากับการดําเนินกิจกรรมใหถูกตองตามกฎหมายวาดวย
ยา
- ไมไดกําหนดโดยชัดเจนแตมีขอกําหนดที่อาจเกี่ยว
โยงกัน คือ
- ตองมีการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ (Laws and
regulations) รวมถึงการจัดทํารายงานเอกสารในสวนที่
เกี่ยวของ (ขอ 4.2)
- ตองไมประพฤติปฏิบัติการใด ๆ ที่สงผลกระทบในทาง
เสื่อมเสียตอวิชาชีพเภสัชกรรมและวิชาชีพอื่น ๆ(ขอ 4.7)
หมวดที่ 2 การใหบริการทางเภสัชกรรม
2.1 การใหบริการทางเภสัชกรรมในรานยาตองปฏิบัติ
โดยเภสัชกร
- มีบริเวณที่จัดวางยาที่ตองปฏิบัติการโดยเภสัชกรเทานั้น
และเปนที่รับรูของผูรับบริการอยางชัดเจน (ขอ 1.1.4)
- เภสัชกรอยูปฏิบัติหนาที่ตลอดเวลาที่เปดทําการ (ขอ
2.1.1ก)
- มีเภสัชกรเปนผูสงมอบยาใหแกผูมารับบริการโดยตรง
(ขอ 3.2.4ก)
2.2 ตองซักถามขอมูลที่จําเปนของผูมารับบริการ เพื่อ
ประกอบการพิจารณากอนเลือกสรรยา หรือผลิตภัณฑ
สุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย เหมาะสมกับผูปวย
ตามหลักวิชาการ สมเหตุสมผล ตามมาตรฐานการ
ประกอบวิชาชีพ
- ตองระบุผูรับบริการที่แทจริง และคนหาความตองการ
และความคาดหวังจากการซักถามอาการ ประวัติการใช
ยา รวมถึงศึกษาจากแฟมประวัติการใชยา(ถามี) กอนการ
สงมอบยาทุกครั้ง เพื่อใหเหมาะสมกับผูปวยเฉพาะราย
ตามมาตรฐานการดูแลผูปวย(ขอ 3.2.2)
10
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ.....
มาตรฐานรานยา
สภาเภสัชกรรม
2.3 เลือกสรรยาและผลิตภัณฑสุขภาพอยางสมเหตุสมผล
ตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ
- มีการสงเสริมใหมีการใชยาอยางเหมาะสม เชน การไม
จําหนายยาชุด การคํานึงถึงความคุมคาในการใชยา(ขอ
3.2.1)
2.4 ตองจัดใหมีฉลากบนซองบรรจุยาหรือภาชนะบรรจุ
ยา ตองแสดงขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้
- มีฉลากยาซึ่งประกอบดวย(ขอ3.2.4ข) ชื่อผูปวย วัน
หมดอายุ
2.4.1 ชื่อรานขายยา และหมายเลขโทรศัพท ชื่อสถานบริการ
2.4.2 ชื่อการคาหรือชื่อสามัญทางยา ชื่อการคา / ชื่อสามัญทางยา
2.4.3 สรรพคุณ ขอบงใช
2.4.4 วิธีใช วิธีใช
2.4.5 วันที่จายยา วันที่จาย
2.4.6 ขอควรระวัง (ถามี) ขอควรระวัง
2.5 ใหคําแนะนําตามสมควรเกี่ยวกับการใชยาให
ปลอดภัยตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหง
วิชาชีพ
- ตองอธิบายการใชยาและการปฏิบัติตัวของผูมารับ
บริการอยางชัดเจน ทั้งโดยวาจาและลายลักษณอักษร
เมื่อสงมอบยา(ขอ3.2.4ค)
2.6 กรณีจายยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษที่เกี่ยวกับ
โรคที่ตองใชยาอยางตอเนื่อง หรือ จายยาที่มีความเสี่ยง
สูงในดานความปลอดภัย จะตองจัดใหมีการเก็บประวัติ
และขอมูลการใชยาของผูปวย เพื่อประโยชนในการเฝา
ระวัง คนหาและจัดการปญหาจากการใชยาของผูปวย
- จัดทําประวัติการใชยา (Patient’s drug profile) ของ
ผูรับบริการที่ติดตามการใชยาอยางตอเนื่อง(ขอ3.2.5)
- ติดตามผลการใชยาในผูปวย ปรับปรุงและแนะนํา
กระบวนการใชยา ตามหลักวิชาและ ภายใตขอบเขตของ
จรรยาบรรณ ทั้งนี้เพื่อมุงใหผลการใชยาเกิดขึ้นโดย
สูงสุด(ขอ3.2.6)
- มีแนวทางการใหคําแนะนําปรึกษาสําหรับผูปวยที่
ติดตามอยางตอเนื่อง(ขอ3.2.8)
2.7 จัดใหมีหลักเกณฑในการคัดกรองและสงตอผูปวยที่
เหมาะสม
- กําหนดแนวทางและขอบเขตการสงตอผูปวยที่เปน
รูปธรรม (ขอ3.2.7)
- รวมมือกับแพทยหรือบุคลากรสาธารณสุขอื่น ๆ เพื่อ
เปาหมายสูงสุดในการรักษา(ขอ3.2.10)
2.8 จัดใหมีกระบวนการควบคุมยาเสื่อมคุณภาพที่มี
ประสิทธิภาพ และใหสงมอบยาภายในภาชนะบรรจุยาที่
เหมาะสมเพื่อปองกันการเสื่อมคุณภาพตลอดอายุการใช
ยา
- มีการจัดการควบคุมสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมตอการ
รักษาคุณภาพผลิตภัณฑ (ขอ1.1.3)
- มีตูเย็นเก็บเวชภัณฑที่เปนสัดสวนเพียงพอ และมีการ
ควบคุมและบันทึกอุณหภูมิ อยางสม่ําเสมอ(ขอ1.2.4)
- มีการเก็บรักษาซึ่งมีเปาหมายใหยาคงประสิทธิภาพใน
การรักษาที่ดี และปลอดภัยตลอดเวลา (ขอ3.1.2)
11
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ.....
มาตรฐานรานยา
สภาเภสัชกรรม
2.9 กรณีที่มีการผลิตยาตามใบสั่งยาของผูประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมหรือของผูประกอบโรคศิลปะที่สั่ง
สําหรับคนไขเฉพาะราย หรือตามใบสั่งยาของ
ผูประกอบการบําบัดโรคสัตวสําหรับสัตวเฉพาะราย และ
การแบงบรรจุยาในสถานที่ขายยา จะตองดําเนินการโดย
ถูกสุขลักษณะ โดยคํานึงถึงการปนเปอน การแพยาและ
เปนไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
- มีอุปกรณนับเม็ดยา จําแนกตามกลุมยาที่จําเปนในการ
ใหบริการ เชน ยาปฏิชีวนะกลุมเพนนิซิลิน ยาซัลโฟนา
ไมด ฯลฯ (ขอ1.2.2)
- มีอุปกรณเครื่องใชในการใหบริการที่สะอาด และไม
เกิดการปนเปอนในระหวางการใหบริการ (ขอ1.2.3)
2.10 จัดใหมีกระบวนการปองกันอาการไมพึงประสงค
และมีการรายงานอาการอันไมพึงประสงคที่พบจากยา
และผลิตภัณฑสุขภาพ
- เฝาระวังอาการอันไมพึงประสงคจากการใชยาและ
ผลิตภัณฑสุขภาพ และราย งานอาการอันไมพึงประสงค
ที่พบไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบ (ขอ3.2.9)
2.11 จัดใหมีแหลงขอมูลดานยาที่เหมาะสม เชื่อถือได
ทันสมัย สําหรับใชในการใชในการปฏิบัติงาน และ
อางอิง
- มีแหลงขอมูล ตํารา ที่เหมาะสมในการใชอางอิงและ
เผยแพร(ขอ1.3.1)
2.12 กรณีจายยาตามใบสั่งยา ตองจัดใหมีมาตรฐานวิธี
ปฏิบัติในการประเมินความถูกตองและความเหมาะสม
ของใบสั่งยาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
- มีแนวทางการประเมินใบสั่งยา (ขอ3.2.3)
ก. มีความสามารถในการอาน วิเคราะห และประเมิน
ความเหมาะสมของใบสั่งยา
ข. มีการสอบถามและไดรับความเห็นชอบจากผูสั่งจาย
ยาทุกครั้ง เมื่อมีการดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวของกับการ
แกไข หรือ การปรับเปลี่ยนใบสั่งยา
2.13 ควบคุมสื่อใหความรูและสื่อโฆษณาสําหรับผูมารับ
บริการ จะตองไมโออวด ไมบิดเบือนความจริง ไมสราง
ความเขาใจผิดใหผูบริโภค และตองผานการอนุญาต
ถูกตองตามกฎหมาย
- มีบริเวณแสดงสื่อใหความรูเรื่องสุขภาพ ในกรณีจัด
วางเอกสารหรือติดตั้งสื่อที่มุงการโฆษณาใหมีพื้นที่
จัดแยกโดยเฉพาะ (ขอ1.1.6)
- ตองมีการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ (Laws and
regulations) รวมถึงการจัดทํารายงานเอกสารในสวนที่
เกี่ยวของ (ขอ 4.2)
2.14 ไมจําหนายผลิตภัณฑยาสูบและเครื่องดื่มที่มี
สวนผสมของแอลกอฮอล
- จะตองไมมีผลิตภัณฑที่บั่นทอนตอสุขภาพ เชน บุหรี่
สุรา เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เปนตน อยูในบริเวณที่รับ
อนุญาต (ขอ 5.6)
2.15 จัดใหมีระบบรักษาความลับของผูมารับบริการ - ตองใหความเคารพและเก็บรักษาความลับ ขอมูลของ
ผูปวย (Patient confidentiality) โดยจัดระบบปองกัน
ขอมูลและรายงานที่เปนของผูปวย (ขอ 4.5)
12
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ.....
มาตรฐานรานยา
สภาเภสัชกรรม
หมวดที่ 3 การขายสงยา
3.1 ในการขายสงยา นอกจากตองปฏิบัติตามทุกหมวด 1
และ 2 แลว จะตองปฏิบัติตามที่กําหนดในหมวดนี้ดวย
- ไมไดกําหนด
3.2 จัดใหมียานพาหนะและอุปกรณที่ใชในกระบวนการ
ขนสงยาที่สามารถประกันคุณภาพของยาไมใหเกิดการ
เสื่อมสภาพและเสียหายระหวางการเก็บรักษาและขนสง
- ไมไดกําหนด
3.3 ใหคําแนะนําดานการเก็บรักษายาและการดูแล
คุณภาพยา สําหรับยาที่มีลักษณะการเก็บรักษาเฉพาะ
ใหแกผูรับอนุญาตที่มาซื้อยา ตามมาตรฐานวิชาชีพ
- ไมไดกําหนด
3.4 จัดใหมีกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติผูซื้อกอนที่
จะจําหนายทุกครั้ง และ ตองจําหนายหรือจัดสงยาให
เฉพาะกับบุคคลหรือองคกรที่ไดรับอนุญาตใหจัดยาหรือ
ครอบครองยาได ตามกฎหมายวาดวยยา
- ไมไดกําหนด
3.5 จัดใหมีมาตรฐานสําหรับวิธีปฏิบัติงานและแบบ
บันทึกในการรับเรื่องรองเรียนและการเรียกเก็บยาคืน ใน
กรณีที่ทราบหรือสงสัยถึงความบกพรองดานคุณภาพ
ประสิทธิภาพ หรือความปลอดภัยของยา โดยตอง
ดําเนินการไดอยางทันทวงทีและมีประสิทธิภาพ
- ไมไดกําหนด
3.6 จัดใหมีระบบปองกันการปะปนของยาที่ถูกสงคืน
หรือเรียกเก็บคืนกับยาและผลิตภัณฑสุขภาพอื่นๆ
- ไมไดกําหนด
3.7 จัดใหมีขอมูลที่จําเปน คือ ขอมูลการตรวจสอบสินคา
คงคลังที่สม่ําเสมอเปนระยะ เอกสารการซื้อ เอกสารการ
ขาย ขอมูลผูซื้อ สําเนาใบสงของ บันทึกเหตุผิดพลาด
และเกือบผิดพลาด บันทึกรายการยาสงคืน ที่สมบูรณ
ถูกตอง งายตอการคนหาและสามารถสอบทานกลับได
- ไมไดกําหนด
อยางไรก็ดีกลุมผูประกอบการรานยาตางมีการเตรียมความพรอมในการปฏิบัติตามราง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนดังจะเห็นไดจากขาวสารตางๆ
ที่ปรากฏในวารสารชมรมรานขายยาแหงประเทศไทย9
วารสารสมาคมเภสัชกรรมชุมชน10
และ
วารสารยาของสมาคมรานขายยา11
*******************************
13
บทที่ 3
วิธีดําเนินการศึกษา
การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจถึงความเปนไปไดของรานยาที่จะปฏิบัติตามราง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ที่คณะทํางานไดยกรางขึ้น โดย
ใชกระบวนการสังเกต และสัมภาษณเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ โดยใชวิธีการลงพื้นที่เพื่อสังเกตและ
สัมภาษณ รวมไปกับการตรวจประเมินรานยาคุณภาพของสภาเภสัชกรรม
กลุมตัวอยางในการศึกษา
กลุมตัวอยางในการศึกษานี้เปนกลุมตัวอยางแบบที่ไมเปนไปตามโอกาสทางสถิติ(Non-
Probability Sampling )โดยเปนการเลือกตัวอยางแบบเจาะจง(Purposive Sampling) 12
คือ รานขายยา
แผนปจจุบันที่มีความสนใจในการพัฒนาเปนรานยาคุณภาพ หรือสมัครเขาสูกระบวนการรับรองเปน
รานยาคุณภาพ โดยกําหนดการลงพื้นที่ตั้งแตวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 – 9 พฤษภาคม 2554 ซึ่งมีรานยา
ที่เขาเกณฑดังกลาวจํานวน 50 ราน
วัตถุประสงคที่เลือกรานยากลุมนี้เนื่องจากเปนรานขายยาแผนปจจุบันที่มีการดําเนินการ
ตามที่พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแกไขเพิ่มเติมไดบัญญัติไวครบถวน มีเภสัชกรเปนผูมี
ปฏิบัติการอยูประจําตลอดเวลาที่รานเปดทําการ เภสัชกรมีการปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด
และใหความรวมมืออยางดีในการสังเกต และสัมภาษณ
เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล
เนื่องจาก “มาตรฐานรานยาคุณภาพ” ของสภาเภสัชกรรมเปนเสมือนตนแบบของราง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกลาว ดังนั้นรายละเอียดที่ปรากฏในรางประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผน
ปจจุบัน พ.ศ. .... จึงมีความใกลเคียงกับเกณฑที่ใชในการตรวจประเมินรานยาคุณภาพของสภาเภสัช
กรรม ดังนี้จึงสามารถใชการตรวจประเมินรานยาคุณภาพควบคูไปกับการศึกษานี้ไดโดยไมเปนการ
สรางภาระเพิ่มเติมแกรานยาแตอยางใด
แตดวยภาษาที่ใชในรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ
หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... เปนภาษาในทางกฎหมาย
จึงตองมีการตีความเพื่อใหประเด็นการสังเกต และสัมภาษณมีความชัดเจนมากขึ้น จึงไดดําเนินการ
กําหนดเปนประเด็นจํานวน 20 ขอ ดังตาราง 2
14
ตาราง 2 ประเด็นสังเกต และสัมภาษณจาก (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนด
รายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ....
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ.....
ประเด็นสังเกต / สัมภาษณ
หมวดที่ 1 บุคลากร
1.1 เภสัชกรตองผานการประเมินความพรอมในการ
ใหบริการทางเภสัชกรรมจากสภาเภสัชกรรมหรือ
หนวยงานที่สภาเภสัชกรรมรับรอง
- ไมไดกําหนดเนื่องจากยังไมมีระบบการเตรียมความ
พรอมในการใหบริการทางเภสัชกรรมจากสภาเภสัช
กรรม
1.2 เภสัชกรจะตองแตงกายเปนไปตามควร เหมาะสมแก
ฐานะ และศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพเภสัชกรรม ตามหลักเกณฑ
ที่สภาเภสัชกรรมกําหนดและแตกตางจากบุคลากรอื่นๆ
ในราน
1. เภสัชกรสวมเสื้อกาวน และมีความแตกตางจาก
บุคลากรอื่นในราน
1.3 ผูรับอนุญาตตองปฏิบัติตอไปนี้โดยความเห็นชอบ
ของเภสัชกร
1.3.1 ควบคุมการแตงกายของพนักงานรานยา และ
บุคลากรอื่นภายในรานขายยาดวยเครื่องแตง
กายที่ไมสื่อไปในทางที่จะกอใหเกิดความ
เขาใจวาเปนเภสัชกร
2. การแตงกายของบุคลากรอื่นในรานตองไมทําใหเขาใจ
ผิดวาเปนเภสัชกร
1.3.2 แบงแยกบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบ
ของเภสัชกร พนักงานรานยา และบุคลากรอื่น
ภายในรานขายยาในการใหบริการใหชัดเจน
โดยคํานึงถึงความถูกตองตามกฎหมายดานยา
และขอบังคับแหงวิชาชีพเภสัชกรรม
3. มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบระหวางเภสัชกร
และบุคลากรอื่นในราน โดยคํานึงถึงความถูกตองตาม
กฎหมาย และวิชาชีพ
1.3.3 จัดใหพนักงานรานยาผานการอบรมตาม
หลักสูตรที่ สภาเภสัชกรรมใหการรับรอง เปน
ประจําทุกป
- ไมไดกําหนดเนื่องจากยังไมมีระบบการอบรมตาม
หลักสูตรที่สภาเภสัชกรรมใหการรับรอง
1.4 การดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับผูมารับบริการใน
รานยาโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใชเภสัชกรหรือพนักงานราน
ยา จะตองไดรับคํายินยอมอยางเปนลายลักษณอักษรจาก
เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ และใหถือเปนความ
รับผิดชอบที่เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการจะตองควบคุม
กํากับการดําเนินกิจกรรมใหถูกตองตามกฎหมายวาดวย
ยา
4. เภสัชกรมีการควบคุมกิจกรรมโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใช
บุคลากรในรานยาที่เกี่ยวของกับผูมารับบริการ
15
(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี
ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ.....
ประเด็นสังเกต / สัมภาษณ
หมวดที่ 2 การใหบริการทางเภสัชกรรม
2.1 การใหบริการทางเภสัชกรรมในรานยาตองปฏิบัติ
โดยเภสัชกร
5. เภสัชกรเปนผูใหบริการทางเภสัชกรรม
2.2 ตองซักถามขอมูลที่จําเปนของผูมารับบริการ เพื่อ
ประกอบการพิจารณากอนเลือกสรรยา หรือผลิตภัณฑ
สุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย เหมาะสมกับผูปวย
ตามหลักวิชาการ สมเหตุสมผล ตามมาตรฐานการ
ประกอบวิชาชีพ
6. เภสัชกรมีการซักถามขอมูลที่จําเปนกอนจายยา
2.3 เลือกสรรยาและผลิตภัณฑสุขภาพอยางสมเหตุสมผล
ตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ
7. มีการเลือกสรรยา และผลิตภัณฑสุขภาพอยาง
สมเหตุสมผล ตามหลักวิชาการและจรรยาบรรณวิชาชีพ
2.4 ตองจัดใหมีฉลากบนซองบรรจุยาหรือภาชนะบรรจุ
ยา ตองแสดงขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้
8. ชองบรรจุยา หรือภาชนะบรรจุยา ตองมี
2.4.1 ชื่อรานขายยา และหมายเลขโทรศัพท ชื่อรานพรอมหมายเลขโทรศัพท
2.4.2 ชื่อการคาหรือชื่อสามัญทางยา ชื่อยา
2.4.3 สรรพคุณ สรรพคุณ
2.4.4 วิธีใช วิธีใชยา
2.4.5 วันที่จายยา วันที่จาย
2.4.6 ขอควรระวัง (ถามี) ขอควรระวัง(ถามี)
2.5 ใหคําแนะนําตามสมควรเกี่ยวกับการใชยาให
ปลอดภัยตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหง
วิชาชีพ
9. มีการใหคําแนะนําตามสมควรเกี่ยวกับการใชยาอยาง
ปลอดภัย
2.6 กรณีจายยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษที่เกี่ยวกับ
โรคที่ตองใชยาอยางตอเนื่อง หรือ จายยาที่มีความเสี่ยง
สูงในดานความปลอดภัย จะตองจัดใหมีการเก็บประวัติ
และขอมูลการใชยาของผูปวย เพื่อประโยชนในการเฝา
ระวัง คนหาและจัดการปญหาจากการใชยาของผูปวย
10. มีการจัดเก็บประวัติและขอมูลการใชยา ของผูปวยที่
ตองใชยาอยางตอเนื่อง หรือจายยาที่มีความเสี่ยงสูง
2.7 จัดใหมีหลักเกณฑในการคัดกรองและสงตอผูปวยที่
เหมาะสม
11. จัดใหมีหลักเกณฑการคัดกรอง และสงตอผูปวยที่
เหมาะสม
2.8 จัดใหมีกระบวนการควบคุมยาเสื่อมคุณภาพที่มี
ประสิทธิภาพ และใหสงมอบยาภายในภาชนะบรรจุยาที่
เหมาะสมเพื่อปองกันการเสื่อมคุณภาพตลอดอายุการใช
ยา
12.มีกระบวนการควบคุมยาเสื่อมคุณภาพที่มี
ประสิทธิภาพ
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน

More Related Content

What's hot

คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...Vorawut Wongumpornpinit
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560Vorawut Wongumpornpinit
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPUtai Sukviwatsirikul
 
National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015Vorawut Wongumpornpinit
 
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015Kanon Thamcharoen
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...Vorawut Wongumpornpinit
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013Vorawut Wongumpornpinit
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา GppUtai Sukviwatsirikul
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
นักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศ
นักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศนักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศ
นักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศppw khunpao
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)Utai Sukviwatsirikul
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
 
กฎกระทรวง GPP
กฎกระทรวง GPPกฎกระทรวง GPP
กฎกระทรวง GPP
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
 
National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015
 
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
(ร่าง) คู่มือการตรวจ Gpp .sep 2015
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 โดย นส.ภ.พร...
 
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
นักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศ
นักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศนักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศ
นักวิชาการพาณิชย์-กรมการค้าต่างประเทศ
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
 

Similar to Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน

(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
บันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเว
บันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเวบันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเว
บันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเวParun Rutjanathamrong
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550อลงกรณ์ อารามกูล
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13Utai Sukviwatsirikul
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ Utai Sukviwatsirikul
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...
Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...
Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...ศศิธร นาคพันธ์
 
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1Utai Sukviwatsirikul
 
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdfตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdfUdomsinWutigulpakdee2
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementSurang Judistprasert
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 

Similar to Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน (20)

(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
2.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
2.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 25352.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
2.พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
 
บันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเว
บันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเวบันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเว
บันทึก สคก.เรื่องเสร็จที่ 49/2546 การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเว
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
 
บรรยาย
บรรยายบรรยาย
บรรยาย
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...
Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...
Guide rational drug use, according to the National List of Essential Drugs, V...
 
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdfตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 

More from Parun Rutjanathamrong

แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวันแฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวันParun Rutjanathamrong
 
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575Parun Rutjanathamrong
 
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลหนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลParun Rutjanathamrong
 
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภคข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภคParun Rutjanathamrong
 
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทยโดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทยParun Rutjanathamrong
 
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)Parun Rutjanathamrong
 
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015Parun Rutjanathamrong
 
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาเรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาParun Rutjanathamrong
 
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482Parun Rutjanathamrong
 
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527Parun Rutjanathamrong
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...Parun Rutjanathamrong
 
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'Parun Rutjanathamrong
 
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านองค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านParun Rutjanathamrong
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...Parun Rutjanathamrong
 
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...Parun Rutjanathamrong
 
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...Parun Rutjanathamrong
 
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)Parun Rutjanathamrong
 
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปีคำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปีParun Rutjanathamrong
 
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556Parun Rutjanathamrong
 
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาParun Rutjanathamrong
 

More from Parun Rutjanathamrong (20)

แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวันแฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
 
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
 
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลหนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
 
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภคข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
 
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทยโดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
 
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
 
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
 
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาเรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
 
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
 
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
 
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
 
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านองค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
 
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
 
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
 
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
 
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปีคำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
 
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
 
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
 

Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน

  • 2. - ก – คํานํา ดวยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไดเสนอรางกฎกระทรวงวาดวย หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และการตออายุใบอนุญาตขายยาขึ้นเพื่อ ปรับปรุงกฎหมายใหเหมาะสมกับปจจุบัน ซึ่งรางกฎกระทรวงดังกลาวไดรับอนุมัติในหลักการจาก คณะรัฐมนตรีแลวเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 โดยขณะนี้อยูในขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา รางกฎกระทรวงดังกลาวไดกําหนดหลักเกณฑเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัช กรรมใหรานขายยาแผนปจจุบันตองมีการปฏิบัติและเปนเงื่อนไขหนึ่งในการตออายุใบอนุญาต เพื่อ ยกระดับมาตรฐานการใหบริการของรานขายยาแผนปจจุบัน ใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัย จากการมารับบริการในรานยา และเปนการตอบสนองตอสิทธิผูบริโภคที่ควรไดรับจากรานยา เพื่อเปนการเตรียมความพรอมหากมีการประกาศใชรางกฎกระทรวงดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมีการตั้งคณะทํางานซึ่งประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจาก หลายภาคสวนในการยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ชุมชนขึ้น โดยกําหนดเปนหลักเกณฑที่รานยาตองปฏิบัติ ซึ่งอางอิงจากมาตรฐานรานยาของสภา เภสัชกรรม แตอยางไรก็ดีเพื่อใหรางประกาศฯที่ยกรางขึ้นนี้ไดรับการยอมรับ และสามารถปฏิบัติได จึงไดมีการศึกษานี้ขึ้น เพื่อเก็บขอมูลจากการสังเกต และสัมภาษณรานขายยาแผนปจจุบัน ถึงความ เปนไปไดของรานยาในการปฏิบัติตามรางประกาศฯ ดังกลาว ซึ่งผลที่ไดจากการศึกษานี้จะเปน ประโยชนอยางยิ่งตอการเตรียมการเพื่อใหการเตรียมการรองรับของ สํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา เพื่อใหการบังคับใชกฎหมายดังกลาวสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ นําสูความ ปลอดภัยที่ผูบริโภคจะไดรับตอไป ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ มิถุนายน 2554
  • 3. - ข - บทสรุปผูบริหาร รานยา นับวามีความสําคัญอยางยิ่งในระบบสาธารณสุขไทย เนื่องจากเปนที่พึ่งของ ประชาชนในการดูแลตนเองเมื่อมีอาการเจ็บปวยเล็กนอย สามารถเขาถึงไดงาย ดวยเหตุนี้ สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมีการปรับปรุงกฎหมายที่ใชในการควบคุมกํากับรานยา ใหมีความ สอดคลองกับปจจุบัน ตอบสนองตอสิทธิของผูบริโภคในการเขาถึงบริการดานยาที่มีคุณภาพโดย จัดทํารางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และการตออายุ ใบอนุญาตขายยา พ.ศ.....ซึ่งไดผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว และอยูระหวางการ พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยมีสาระสําคัญประการหนึ่งคือการกําหนดใหรานยาตองมี การปฏิบัติตาม(ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาถึงความเปนไปไดของรานยาในการปฏิบัติตามราง ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ที่คณะทํางานยกรางขึ้น โดย เลือกรานยาที่มีความสนใจพัฒนาเปนรานยาคุณภาพ หรือสมัครเขาสูการรับรองเปนรานยาคุณภาพ เปนกลุมตัวอยาง เนื่องจากเปนรานยาที่มีการดําเนินการตามที่กฎหมายบัญญัติไวไดครบถวน มี เภสัชกรอยูประจําตลอดเวลาที่เปดทําการ และใหความรวมมืออยางดีในการสังเกต และสัมภาษณ ผลการศึกษาพบวารานยาสามารถปฏิบัติไดทันที หรือแกไขเล็กนอยก็สามารถปฏิบัติได จํานวน 13 ขอ จากทั้งหมด 20 ขอ ของแบบสังเกต และสัมภาษณที่ไดพัฒนาขึ้นจากรางประกาศฯ สวนอีก 7 ขอจําเปนที่จะตองมีการเตรียมการ ไดแก การแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบระหวาง เภสัชกรและบุคลากรอื่นในราน ซองบรรจุยาที่ตองมีรายละเอียดครบถวน การจัดเก็บประวัติและ ขอมูลการใชยาของผูปวย การจัดใหมีหลักเกณฑการคัดกรองและสงตอผูปวย การมีกระบวนการ ควบคุมยาเสื่อมคุณภาพ ยาที่สงมอบถูกบรรจุในภาชนะบรรจุที่ปองกันการเสื่อมคุณภาพของยา และการรายงานหากพบอาการไมพึงประสงคจากยาและผลิตภัณฑสุขภาพ ซึ่งประเด็นเหลานี้ควรจะ ไดมีการเตรียมการประชาสัมพันธใหรานยาทั่วไปไดมีความเขาใจ และเตรียมพรอมโดย ประสานงานกับสมาคมเภสัชกรรมชุมชน(ประเทศไทย) และหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดทําคูมือ และแนวปฏิบัติตางๆที่ถูกตอง นอกจากนี้ในประเด็นการประเมินความพรอมของเภสัชกรผูมี หนาที่ปฏิบัติการ และการสรางความชัดเจนใหกับพนักงานรานยาหรือผูชวยเภสัชกรตลอดถึง หลักสูตรอบรมพนักงานรานยาหรือผูชวยเภสัชกรนั้นควรจะไดมีการประสานงานกับ สภาเภสัชกรรมเพื่อเตรียมการลวงหนาตอไป ***********************
  • 4. - ค - สารบัญ หนา คํานํา ก บทสรุปผูบริหาร ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ สารบัญแผนภาพ ฉ บทที่ 1 บทนํา - ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 - วัตถุประสงค 2 - กรอบแนวคิดในการศึกษา 2 - ขอบเขตการศึกษา 2 - ขอจํากัดของการศึกษา 2 - ขั้นตอนการดําเนินงาน 3 - ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3 - นิยามศัพท 3 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ - (ราง) กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออกใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาต เกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. …. 5 - หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม 6 - มาตรฐานรานยา 6 - (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน 7 บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษา - กลุมตัวอยางในการศึกษา 13 - เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 13 - การวิเคราะหขอมูล 21
  • 5. - ง - สารบัญ หนา บทที่ 4 วิเคราะหผลการศึกษา - วิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 22 - หมวดที่ 1 บุคลากร 24 - หมวดที่ 2 การใหบริการเภสัชกรรม 25 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ - สรุปผลการศึกษา 30 - อภิปรายผล 31 - หมวดที่ 1 บุคลากร 32 - หมวดที่ 2 การปฏิบัติทางเภสัชกรรม 32 - ขอเสนอแนะ 34 ภาคผนวก - คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 313 / 2549 ลงวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2549 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และตออายุใบอนุญาตขายยา 36 - หนังสือกระทรวงสาธารณสุขที่ สธ.1003.12 / 4915 ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการ ออกใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... 37 - หนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร 0503 / 23885 ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการ ออกใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... 39 - คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 215 / 2550 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2550 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวย เรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน 40 - (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... 42 เอกสารอางอิง 45
  • 6. - จ - สารบัญตาราง หนา ตาราง 1 เปรียบเทียบระหวาง (ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทาง เภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... กับ มาตรฐานรานยา ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 8 ตาราง 2 ประเด็นสังเกต และสัมภาษณจาก (ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทาง เภสัชกรรมในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... 14 ตาราง 3 เกณฑการวัดระดับความสามารถในการปฏิบัติตามรางประกาศฯ ของรานยา 17 ตาราง 4 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 22 ตาราง 5 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 1 (บุคลากร) 25 ตาราง 6 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 2 (การใหบริการเภสัชกรรม) 26 ตาราง 7 ผลการสังเกตรายละเอียดบนซองยาตามรางประกาศฯ 29
  • 7. - ฉ - สารบัญแผนภาพ หนา แผนภาพ 1 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 1 (บุคลากร) 25 แผนภาพ 2 ผลการสังเกต และสัมภาษณในหมวดที่ 2 (การใหบริการเภสัชกรรม) 27
  • 8. 1 บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การใหบริการดานยาในรานยาเปนจุดสําคัญอยางยิ่งในระบบสาธารณสุขไทยเนื่องจาก ประชาชนกวารอยละ 30 1 เมื่อเกิดอาการเจ็บปวยจะพึ่งพาตนเองดวยการซื้อยาจากรานยา จึงนับไดวา เปนสถานบริการสาธารณสุขในระดับตนที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดงาย มีการกระจายตัวอยูตาม ชุมชนตางๆ และมีชวงเวลาเปดทําการที่สอดคลองกับชุมชนนั้นๆ การยกระดับรานยาใหมีคุณภาพจึง เทากับเปนการสงเสริมความปลอดภัยในการใชยาของประชาชน โดยมีเภสัชกรเปนบุคลากรที่สําคัญที่ จะชวยยกระดับคุณภาพงานบริการ และสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยดานยา แตเนื่องดวยการควบคุมตามกฎหมายโดย พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแกไข เพิ่มเติม ประกอบกับกฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2528) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 มีการประกาศใชมาเปนเวลานานไมเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน เพื่อเปนการยกระดับ มาตรฐานของรานยา เพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัยจากการมาใชบริการรานยา และเปนการ เตรียมความพรอมของรานยาในการเขาไปเปนสวนหนึ่งของระบบประกันสุขภาพ สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมียกรางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการ อนุญาตขายยา และการตออายุใบอนุญาตขายยา พ.ศ..... ขึ้น เพื่อปรับปรุงกฎกระทรวงฉบับขางตนใหมี ความทันสมัย ตอบสนองตอสิทธิของผูบริโภคในการเขาถึงความปลอดภัยดานยา และมีความเหมาะสม กับสถานการณปจจุบัน ในรางกฎกระทรวงดังกลาวไดมีการระบุถึงเงื่อนไขในการตออายุใบอนุญาตคือ รานยา จะตองผานการตรวจประเมินตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ชุมชน ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงไดมีการเตรียมการโดยตั้งคณะทํางานขึ้นเพื่อยก รางประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกลาว และรางฯดังกลาวไดผานการรับฟงความเห็นจากผูเกี่ยวของ จากทุกภาคสวนในระดับหนึ่งแลววาเปนสิ่งที่รานยาควรจะตองปฏิบัติ แตก็ยังขาดขอมูลในสวนของ ความสามารถในการปฏิบัติของรานยา รวมถึงปญหาและอุปสรรคตางๆที่อาจจะเกิดขึ้น ที่จะตอง เตรียมการรองรับการประกาศใช จากขางตนจึงเปนที่มาของการศึกษานี้ โดยศึกษาถึงความสามารถของรานยาที่จะปฏิบัติ ตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ที่คณะทํางานไดยกรางขึ้น โดยขอมูลที่ไดจะไดนํามารวบรวม วิเคราะหเพื่อเสนอตอคณะทํางานในการเตรียมการรองรับ และ อาจมีการปรับแกไขในบางประเด็นใหมีความเหมาะสมตอไป
  • 9. 2 วัตถุประสงค 1. เพื่อทราบถึงความเปนไปไดของรานยาในการปฏิบัติตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุข วาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน 2 เพื่อจัดทําขอเสนอแนะในการเตรียมการเพื่อรองรับประกาศใชรางประกาศกระทรวง สาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน กรอบแนวคิดในการศึกษา ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้จะเปนการศึกษาถึงความเปนไปไดของรานขายยาแผนปจจุบัน(ขย.1) ที่ สมัครเขาสูกระบวนการรับรองเปนรานยาคุณภาพ หรือมีความตั้งใจจะพัฒนารานใหเปนรานยาคุณภาพ เกี่ยวกับความเปนไปไดในการปฏิบัติตามหมวดที่ 1 บุคลากร และหมวดที่ 2 เรื่องการใหบริการทาง เภสัชกรรม ของรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ฉบับที่ยก รางขึ้นโดยคณะทํางานยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน โดยใชรูปแบบของการสังเกต และสัมภาษณเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ รูปแบบของการเก็บขอมูลจะดําเนินการควบคูกับการลงพื้นที่เพื่อตรวจประเมินรานยา คุณภาพของสภาเภสัชกรรม โดยดําเนินการในชวงตั้งแตวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 – 9 พฤษภาคม 2554 ขอจํากัดของการศึกษา การศึกษานี้จะไมไดศึกษาถึงความเปนไปไดของรานยาในการดําเนินการตามหมวดที่ 3 เรื่องการขายสงยา ของรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน เนื่องจากในกฎหมายที่บังคับใชในปจจุบันคือ กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2525) ออกตามความใน พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2528) ออกตามความ ผลความเปนไปไดในการปฏิบัติตามราง ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง วิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน รางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวย เรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน รานขายยาแผนปจจุบัน ที่มีความสนใจในการพัฒนาเปนรานยาคุณภาพ หรือ สมัครเขาสูกระบวนการรับรองเปนรานยาคุณภาพ
  • 10. 3 ในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 นั้น มิไดกําหนดกฎเกณฑสําหรับรานขายสงเปนการเฉพาะขณะที่ราง กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และการตออายุใบอนุญาต ขายยา พ.ศ..... ระบุใหรานยาที่ประสงคจะขายสงตองมีการขออนุญาตโดยมีใบอนุญาตเปนการเฉพาะ ตามแบบ ข.ย.4/1 ซึ่งจะทําใหมีความชัดเจนในการระบุวารานใดเปนรานขายสงมากกวาในปจจุบัน ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. ศึกษารางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน 2. กําหนดประเด็นที่จะสังเกต และสัมภาษณรานยา 3. ประสานงานกับสภาเภสัชกรรม และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการลงพื้นที่เพื่อเยี่ยม สํารวจรานยาที่มีความสนใจจะพัฒนารานยาใหเปนรานยาคุณภาพ 4. ลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมสํารวจรานยาที่มีความสนใจจะพัฒนารานยาใหเปนรานยาคุณภาพ รวมกับ การสังเกต และสัมภาษณเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการในประเด็นความเปนไปไดของรานยา ในการปฏิบัติตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ชุมชน 5. รวบรวม วิเคราะห และสรุปผลที่ไดจากการสังเกต และสัมภาษณ 6. จัดทําขอสรุป ขอเสนอแนะ และการเตรียมการที่จะรองรับการประกาศใชรางประกาศ กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ชวยใหเกิดความรูความเขาใจถึงความเปนไปได และความสามารถของรานยาในการ ปฏิบัติตามรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน เพื่อ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะไดใชเปนขอมูลในการเตรียมการเพื่อรองรับประกาศใชราง ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนตอไป นิยามศัพท การใหบริการทางเภสัชกรรม หมายถึง กระบวนการที่ผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมกระทําตอ ผูปวยหรือรวมกับวิชาชีพทางสาธารณสุขอื่นในการคนหา ปองกัน แกไขปญหาที่ เกี่ยวเนื่องกับการใชยา รวมถึงการติดตามแผนการรักษาดวยยาทั้งทางตรงและ ทางออม รานยาคุณภาพ หมายถึง รานขายยาแผนปจจุบันที่ผานการตรวจประเมิน และผานการรับรองจาก สภาเภสัชกรรม ใหเปนรานยาคุณภาพ
  • 11. 4 เภสัชกรรมชุมชน2 หมายถึง การปฏิบัติงานของเภสัชกร ซึ่งมีความเกี่ยวพันกับยา และผลิตภัณฑอื่น ภายในรานขายยา ไมวาจะเปนการขายยาในการบรรเทาอาการเจ็บปวยเบื้องตน หรือ ผลิตภัณฑสุขภาพ หรือรวมถึงการใหคําแนะนําดานสุขภาพ แกประชาชนในชุมชน นั้นๆ ที่มาขอรับบริการ รานยาเดี่ยว หมายถึง รานขายยาที่ผูรับอนุญาตเปนเจาของธุรกิจรานขายยานั้นเพียงรานเดียว รานยาลูกโซ หมายถึง รานขายยาเครือขายที่มีเจาของธุรกิจรายเดียวกัน *******************************
  • 12. 5 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ (ราง) กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออกใบอนุญาตและตออายุ ใบอนุญาต เกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. …. ดวยการควบคุมตามกฎหมายโดย พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแกไขเพิ่มเติม ประกอบกับกฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2528) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 มีการประกาศใชมาเปนเวลานานไมเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน เพื่อเปนการยกระดับมาตรฐาน ของรานยา เพื่อใหผูบริโภคไดรับความปลอดภัยจากการมาใชบริการรานยา และเปนการเตรียมความ พรอมของรานยาในการเขาไปเปนสวนหนึ่งของระบบประกันสุขภาพ สํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยาจึงไดมีคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 313/2549 ลงวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2549 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขในการอนุญาตขายยา และตออายุใบอนุญาต ขายยา คณะทํางานดังกลาวไดยกรางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออก ใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ....ขึ้น และไดผานการรับฟง ความคิดเห็นจากภาคสวนที่เกี่ยวของจํานวน 3 ครั้ง ในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ.2549 วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 และวันที่ 6 กุมภาพันธ พ.ศ.2550 โดยการจัดประชุม รวมกับการเปดรับฟงความเห็นผานเว็บไซต สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และไดผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการยาแลว กระทรวงสาธารณสุขไดมีหนังสือถึงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ สธ.1003.12 / 4915 ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออก ใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ หลักการตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ และสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลว ดําเนินการตอไปได เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2550 ปรากฏตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0503 / 23885 ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2550 เรื่อง รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออกใบอนุญาต และตออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... ปจจุบัน ราง กฎกระทรวงดังกลาวอยูในขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กฎกระทรวงฉบับใหมนี้ ชมรมรานขายยาแหงประเทศไทย สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) และสมาคมรานขายยา ไดมีสวนรวมกันในการยกราง และมีความตั้งใจรวมกันที่จะ ยกระดับมาตรฐานรานยา โดยรวมตัวกันภายใตชื่อ “สมาพันธพัฒนาคุณภาพรานยาแหงประเทศไทย3 ”
  • 13. 6 หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม (Good Pharmacy Practice : GPP) เปนแนววิธีปฏิบัติที่ดีทาง เภสัชกรรมในระบบการดูแลสุขภาพ ซึ่งไดเริ่มพัฒนาขึ้นในป ค.ศ.1991 ภายใตชื่อ Standards for quality of pharmacy services โดย The International Pharmaceutical Federation (FIP) และไดจัดทําแลวเสร็จ เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ.1993 และการประชุมขององคการอนามัยโลก (World Health Assembly) ใหการ รับรองเปนมติที่ WHA 47.12 : Role of the pharmacist in support of the WHO revised drug strategy ใน เดือนพฤษภาคม ค.ศ.1994 4 หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม มีจุดประสงคเพื่อใหเกิดความชัดเจน และการรวมมือกันใน การปฏิบัติเภสัชกรรมที่ดี ซึ่งการพัฒนาแนวทางในการปฏิบัติจะดําเนินไปตามระบบการดูแลสุขภาพ โดยมีความสัมพันธกับ 5 - การสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค - ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และเศรษฐานะของผูปวยโดยมีรานยาเปนที่พึ่ง - การบงชี้และแกปญหาที่เกิดจากการใชยา - การปฏิบัติจะเกี่ยวของกับการดูแลสุขภาพที่ดี และการหลีกเลี่ยงความเจ็บปวยของประชาชน หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมสําหรับประเทศไทยนั้น สภาเภสัชกรรมไดจัดทํามาตรฐาน รานยาขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการบริบาลทางเภสัชกรรมของรานยา โดยมุงหวังใหเกิดบริการที่มี คุณภาพในรานยา มีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ และเกิดความเชื่อถือจากประชาชน และสังคมโดยรวม อีก ทั้งเปนการกําหนดเกณฑมาตรฐานในการประเมิน ติดตาม ตรวจสอบเพื่อการพัฒนา และรับรอง คุณภาพการบริการของรานยาเพื่อเปนแนวทางการพัฒนาความพรอมของรานยาเพื่อเขาสูการเปนหนวย บริการของเครือขายระบบบริการสุขภาพภายใตการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนาตอไป มาตรฐานรานยา “รานยาคุณภาพ” คือ รานยาที่ผานการรับรองจากสภาเภสัชกรรม วามีมาตรฐานการใหบริการ ดานยาและสุขภาพที่ดี มีคุณภาพ โดยมีการพัฒนามาตรฐานดานตางๆมากกวาเกณฑที่กําหนดใน กฎหมาย ทั้งนี้สภาเภสัชกรรมเปนผูใหการรับรองคุณภาพดังกลาว โดยมาตรฐานรานยาที่ใชในการ ประเมินรับรอง เกิดจากการรวบรวมและทบทวนมาตรฐานที่เปนสากลของประเทศตางๆ รางมาตรฐาน ของสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) รางมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา การระดมสมองของนักวิชาการ และเภสัชกรผูปฏิบัติงาน รวมทั้งการรวบรวมประสบการณแนวทาง และรูปแบบการปฏิบัติจริงของเภสัชกรผูทรงคุณวุฒิ และเภสัชกรผูมีความคิดสรางสรรคในการพัฒนา จากทั่วประเทศ แลวสังเคราะหเปน “มาตรฐานรานยา” ในปพ.ศ. 2545 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปน
  • 14. 7 แนวทางในการดําเนินการใหเกิดการบริบาลทางเภสัชกรรมของผูประกอบวิชาชีพในรานยา ซึ่ง มาตรฐานรานยา ประกอบดวยมาตรฐานตาง ๆ 5 ดาน ไดแก 6 มาตรฐานที่ 1 สถานที่ อุปกรณ และสิ่งสนับสนุนบริการ ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อใหมีองคประกอบทางกายภาพที่เหมาะสมและ สนับสนุนใหเกิดการบริการที่มีคุณภาพ โดยมีการจัดแบงพื้นที่เปนสัดสวนที่เพียงพอและเหมาะสม สําหรับการใหบริการ แสดงใหเห็นอยางเดนชัดระหวางพื้นที่ที่ตองปฏิบัติการโดยเภสัชกร และพื้นที่ บริการอื่น ๆ มีการจัดหมวดหมูของยา ผลิตภัณฑสุขภาพ และการเก็บรักษาที่เอื้อตอการรักษาคุณภาพ ของผลิตภัณฑ ตลอดจนตองจัดหาอุปกรณ และสิ่งสนับสนุนการใหบริการที่ดีแกประชาชน มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการเพื่อคุณภาพ ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อเปนการประกันวา กระบวนการบริหารจัดการจะ เปนไปตามกระบวนการคุณภาพอยางตอเนื่อง ตอบสนองความตองการที่แทจริงของผูรับบริการ และ ปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบวิชาชีพ มาตรฐานนี้ครอบคลุม บุคลากร กระบวนการ คุณภาพที่มุงเนนใหรานยามีกระบวนการและเอกสารที่สามารถเปนหลักประกันคุณภาพบริการ มาตรฐานที่ 3 การบริการเภสัชกรรมที่ดี ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อใหผูมีหนาที่ปฏิบัติการใหบริการเภสัชกรรมบน พื้นฐานมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมอยางมีคุณภาพ และกอใหเกิดความพึงพอใจเกินความคาดหวังของ ผูรับบริการ มาตรฐานที่ 4 การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และจริยธรรม ความมุงหมายของมาตรฐานนี้ เพื่อเปนการควบคุมกํากับใหรานยาเกิดการปฏิบัติที่สอดคลอง กับกฎหมายที่เกี่ยวของ และมุงหมายใหเกิดการปฏิบัติที่เปนไปตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มาตรฐานที่ 5 การใหบริการและการมีสวนรวมในชุมชนและสังคม ความมุงหมายของมาตรฐานนี้เพื่อใหรานยาใหบริการแกชุมชน ตลอดจนใหเกิดการมีสวน รวมกับชุมชนในการดําเนินการคนหา และแกไขปญหาที่เกี่ยวของดานยาและสุขภาพของชุมชน โดยตรง (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน รางกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขการออกใบอนุญาต และตออายุ ใบอนุญาตเกี่ยวกับการขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ....จะเปนการยกระดับมาตรฐานของการกํากับดูแลการ อนุญาตสถานที่ขายยาใหมีคุณภาพงานบริการที่มีมาตรฐานยิ่งขึ้น อันจะเปนการคุมครองความปลอดภัย
  • 15. 8 ผูใชบริการ และตอบสนองสิทธิของผูใชยา โดยกําหนดเปนเงื่อนไขในการอนุญาต และตออายุ ใบอนุญาตของรานขายยาแผนปจจุบันที่จะตองผานมาตรฐานในเรื่องวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมชุมชน ในการนี้เพื่อเปนการเตรียมการรองรับการประกาศใชของกฎกระทรวงดังกลาวสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมีคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 215 / 2550 ลงวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2550 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานยกรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน คณะทํางานดังกลาวไดมีการบรรจุผูแทนกลุมผูประกอบการรานยาทั้ง 3 กลุมในประเทศ เขาไปดวยไดแก ชมรมรานขายยาแหงประเทศไทย สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) และสมาคมรานขายยา ประกอบกับไดมีการรับฟงความเห็นจากเภสัชกรกลุมงาน คุมครองผูบริโภค สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และกลุมผูประกอบการทั้ง 3 กลุมขางตนแลว7,8 เพื่อให รางประกาศฯ ดังกลาวสามารถเปนไปไดในทางปฏิบัติ รางประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนนี้ยกรางขึ้น โดยใชชื่อวา “(ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และ วิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ....” ทั้งนี้ที่มาของรางประกาศฯดังกลาวไดมา จากการศึกษาทบทวนจาก “หลักวิธีปฏิบัติที่ดีทางเภสัชกรรม” (Good Pharmacy Practice : GPP) และ “มาตรฐานรานยา” ของสภาเภสัชกรรม (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... แบงเนื้อหาออกเปน 3 หมวด ไดแก หมวด บุคลากร หมวดการใหบริการทางเภสัชกรรม และหมวดการขายสงยา ทั้งนี้สามารถเปรียบเทียบ ประเด็นในแตละหมวด กับมาตรฐานรานยาของสภาเภสัชกรรมไดดังตาราง 1 ตาราง 1 เปรียบเทียบระหวาง (ราง)ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... กับ มาตรฐานรานยา (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... มาตรฐานรานยา สภาเภสัชกรรม หมวดที่ 1 บุคลากร 1.1 เภสัชกรตองผานการประเมินความพรอมในการ ใหบริการทางเภสัชกรรมจากสภาเภสัชกรรมหรือ หนวยงานที่สภาเภสัชกรรมรับรอง - ไมไดกําหนด 1.2 เภสัชกรจะตองแตงกายเปนไปตามควร เหมาะสมแก ฐานะ และศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพเภสัชกรรม ตามหลักเกณฑ ที่สภาเภสัชกรรมกําหนดและแตกตางจากบุคลากรอื่นๆ ในราน - ผูมีหนาที่ปฏิบัติการตองแสดงตนใหสาธารณชนทราบ วา เปนเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ โดยสวมเครื่องแบบ ตามขอกําหนดของสภาเภสัชกรรม (ขอ 2.1.1ข)
  • 16. 9 (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... มาตรฐานรานยา สภาเภสัชกรรม 1.3 ผูรับอนุญาตตองปฏิบัติตอไปนี้โดยความเห็นชอบ ของเภสัชกร 1.3.1 ควบคุมการแตงกายของพนักงานรานยา และ บุคลากรอื่นภายในรานขายยาดวยเครื่องแตงกายที่ไมสื่อ ไปในทางที่จะกอใหเกิดความเขาใจวาเปนเภสัชกร - ผูชวยปฏิบัติการตองแสดงตน และแตงกายให สาธารณชนทราบวาเปน ผูชวยเภสัชกร(ขอ 2.1.2ก) 1.3.2 แบงแยกบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของ เภสัชกร พนักงานรานยา และบุคลากรอื่นภายในรานขาย ยาในการใหบริการใหชัดเจน โดยคํานึงถึงความถูกตอง ตามกฎหมายดานยาและขอบังคับแหงวิชาชีพเภสัชกรรม - ผูชวยปฏิบัติการตองปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแล ของเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ(ขอ 2.1.2ข) - ไมจําหนายยาที่อยูในความรับผิดชอบของเภสัชกร ในขณะที่เภสัชกรไมอยูปฏิบัติหนาที่(ขอ 4.6) - ตองไมประพฤติปฏิบัติการใด ๆ ที่สงผลกระทบในทาง เสื่อมเสียตอวิชาชีพเภสัชกรรมและวิชาชีพอื่น ๆ(ขอ 4.7) 1.3.3 จัดใหพนักงานรานยาผานการอบรมตามหลักสูตร ที่ สภาเภสัชกรรมใหการรับรอง เปนประจําทุกป - ไมไดกําหนด 1.4 การดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับผูมารับบริการใน รานยาโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใชเภสัชกรหรือพนักงานราน ยา จะตองไดรับคํายินยอมอยางเปนลายลักษณอักษรจาก เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ และใหถือเปนความ รับผิดชอบที่เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการจะตองควบคุม กํากับการดําเนินกิจกรรมใหถูกตองตามกฎหมายวาดวย ยา - ไมไดกําหนดโดยชัดเจนแตมีขอกําหนดที่อาจเกี่ยว โยงกัน คือ - ตองมีการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ (Laws and regulations) รวมถึงการจัดทํารายงานเอกสารในสวนที่ เกี่ยวของ (ขอ 4.2) - ตองไมประพฤติปฏิบัติการใด ๆ ที่สงผลกระทบในทาง เสื่อมเสียตอวิชาชีพเภสัชกรรมและวิชาชีพอื่น ๆ(ขอ 4.7) หมวดที่ 2 การใหบริการทางเภสัชกรรม 2.1 การใหบริการทางเภสัชกรรมในรานยาตองปฏิบัติ โดยเภสัชกร - มีบริเวณที่จัดวางยาที่ตองปฏิบัติการโดยเภสัชกรเทานั้น และเปนที่รับรูของผูรับบริการอยางชัดเจน (ขอ 1.1.4) - เภสัชกรอยูปฏิบัติหนาที่ตลอดเวลาที่เปดทําการ (ขอ 2.1.1ก) - มีเภสัชกรเปนผูสงมอบยาใหแกผูมารับบริการโดยตรง (ขอ 3.2.4ก) 2.2 ตองซักถามขอมูลที่จําเปนของผูมารับบริการ เพื่อ ประกอบการพิจารณากอนเลือกสรรยา หรือผลิตภัณฑ สุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย เหมาะสมกับผูปวย ตามหลักวิชาการ สมเหตุสมผล ตามมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพ - ตองระบุผูรับบริการที่แทจริง และคนหาความตองการ และความคาดหวังจากการซักถามอาการ ประวัติการใช ยา รวมถึงศึกษาจากแฟมประวัติการใชยา(ถามี) กอนการ สงมอบยาทุกครั้ง เพื่อใหเหมาะสมกับผูปวยเฉพาะราย ตามมาตรฐานการดูแลผูปวย(ขอ 3.2.2)
  • 17. 10 (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... มาตรฐานรานยา สภาเภสัชกรรม 2.3 เลือกสรรยาและผลิตภัณฑสุขภาพอยางสมเหตุสมผล ตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ - มีการสงเสริมใหมีการใชยาอยางเหมาะสม เชน การไม จําหนายยาชุด การคํานึงถึงความคุมคาในการใชยา(ขอ 3.2.1) 2.4 ตองจัดใหมีฉลากบนซองบรรจุยาหรือภาชนะบรรจุ ยา ตองแสดงขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้ - มีฉลากยาซึ่งประกอบดวย(ขอ3.2.4ข) ชื่อผูปวย วัน หมดอายุ 2.4.1 ชื่อรานขายยา และหมายเลขโทรศัพท ชื่อสถานบริการ 2.4.2 ชื่อการคาหรือชื่อสามัญทางยา ชื่อการคา / ชื่อสามัญทางยา 2.4.3 สรรพคุณ ขอบงใช 2.4.4 วิธีใช วิธีใช 2.4.5 วันที่จายยา วันที่จาย 2.4.6 ขอควรระวัง (ถามี) ขอควรระวัง 2.5 ใหคําแนะนําตามสมควรเกี่ยวกับการใชยาให ปลอดภัยตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหง วิชาชีพ - ตองอธิบายการใชยาและการปฏิบัติตัวของผูมารับ บริการอยางชัดเจน ทั้งโดยวาจาและลายลักษณอักษร เมื่อสงมอบยา(ขอ3.2.4ค) 2.6 กรณีจายยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษที่เกี่ยวกับ โรคที่ตองใชยาอยางตอเนื่อง หรือ จายยาที่มีความเสี่ยง สูงในดานความปลอดภัย จะตองจัดใหมีการเก็บประวัติ และขอมูลการใชยาของผูปวย เพื่อประโยชนในการเฝา ระวัง คนหาและจัดการปญหาจากการใชยาของผูปวย - จัดทําประวัติการใชยา (Patient’s drug profile) ของ ผูรับบริการที่ติดตามการใชยาอยางตอเนื่อง(ขอ3.2.5) - ติดตามผลการใชยาในผูปวย ปรับปรุงและแนะนํา กระบวนการใชยา ตามหลักวิชาและ ภายใตขอบเขตของ จรรยาบรรณ ทั้งนี้เพื่อมุงใหผลการใชยาเกิดขึ้นโดย สูงสุด(ขอ3.2.6) - มีแนวทางการใหคําแนะนําปรึกษาสําหรับผูปวยที่ ติดตามอยางตอเนื่อง(ขอ3.2.8) 2.7 จัดใหมีหลักเกณฑในการคัดกรองและสงตอผูปวยที่ เหมาะสม - กําหนดแนวทางและขอบเขตการสงตอผูปวยที่เปน รูปธรรม (ขอ3.2.7) - รวมมือกับแพทยหรือบุคลากรสาธารณสุขอื่น ๆ เพื่อ เปาหมายสูงสุดในการรักษา(ขอ3.2.10) 2.8 จัดใหมีกระบวนการควบคุมยาเสื่อมคุณภาพที่มี ประสิทธิภาพ และใหสงมอบยาภายในภาชนะบรรจุยาที่ เหมาะสมเพื่อปองกันการเสื่อมคุณภาพตลอดอายุการใช ยา - มีการจัดการควบคุมสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมตอการ รักษาคุณภาพผลิตภัณฑ (ขอ1.1.3) - มีตูเย็นเก็บเวชภัณฑที่เปนสัดสวนเพียงพอ และมีการ ควบคุมและบันทึกอุณหภูมิ อยางสม่ําเสมอ(ขอ1.2.4) - มีการเก็บรักษาซึ่งมีเปาหมายใหยาคงประสิทธิภาพใน การรักษาที่ดี และปลอดภัยตลอดเวลา (ขอ3.1.2)
  • 18. 11 (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... มาตรฐานรานยา สภาเภสัชกรรม 2.9 กรณีที่มีการผลิตยาตามใบสั่งยาของผูประกอบ วิชาชีพเวชกรรมหรือของผูประกอบโรคศิลปะที่สั่ง สําหรับคนไขเฉพาะราย หรือตามใบสั่งยาของ ผูประกอบการบําบัดโรคสัตวสําหรับสัตวเฉพาะราย และ การแบงบรรจุยาในสถานที่ขายยา จะตองดําเนินการโดย ถูกสุขลักษณะ โดยคํานึงถึงการปนเปอน การแพยาและ เปนไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ - มีอุปกรณนับเม็ดยา จําแนกตามกลุมยาที่จําเปนในการ ใหบริการ เชน ยาปฏิชีวนะกลุมเพนนิซิลิน ยาซัลโฟนา ไมด ฯลฯ (ขอ1.2.2) - มีอุปกรณเครื่องใชในการใหบริการที่สะอาด และไม เกิดการปนเปอนในระหวางการใหบริการ (ขอ1.2.3) 2.10 จัดใหมีกระบวนการปองกันอาการไมพึงประสงค และมีการรายงานอาการอันไมพึงประสงคที่พบจากยา และผลิตภัณฑสุขภาพ - เฝาระวังอาการอันไมพึงประสงคจากการใชยาและ ผลิตภัณฑสุขภาพ และราย งานอาการอันไมพึงประสงค ที่พบไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบ (ขอ3.2.9) 2.11 จัดใหมีแหลงขอมูลดานยาที่เหมาะสม เชื่อถือได ทันสมัย สําหรับใชในการใชในการปฏิบัติงาน และ อางอิง - มีแหลงขอมูล ตํารา ที่เหมาะสมในการใชอางอิงและ เผยแพร(ขอ1.3.1) 2.12 กรณีจายยาตามใบสั่งยา ตองจัดใหมีมาตรฐานวิธี ปฏิบัติในการประเมินความถูกตองและความเหมาะสม ของใบสั่งยาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ - มีแนวทางการประเมินใบสั่งยา (ขอ3.2.3) ก. มีความสามารถในการอาน วิเคราะห และประเมิน ความเหมาะสมของใบสั่งยา ข. มีการสอบถามและไดรับความเห็นชอบจากผูสั่งจาย ยาทุกครั้ง เมื่อมีการดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวของกับการ แกไข หรือ การปรับเปลี่ยนใบสั่งยา 2.13 ควบคุมสื่อใหความรูและสื่อโฆษณาสําหรับผูมารับ บริการ จะตองไมโออวด ไมบิดเบือนความจริง ไมสราง ความเขาใจผิดใหผูบริโภค และตองผานการอนุญาต ถูกตองตามกฎหมาย - มีบริเวณแสดงสื่อใหความรูเรื่องสุขภาพ ในกรณีจัด วางเอกสารหรือติดตั้งสื่อที่มุงการโฆษณาใหมีพื้นที่ จัดแยกโดยเฉพาะ (ขอ1.1.6) - ตองมีการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ (Laws and regulations) รวมถึงการจัดทํารายงานเอกสารในสวนที่ เกี่ยวของ (ขอ 4.2) 2.14 ไมจําหนายผลิตภัณฑยาสูบและเครื่องดื่มที่มี สวนผสมของแอลกอฮอล - จะตองไมมีผลิตภัณฑที่บั่นทอนตอสุขภาพ เชน บุหรี่ สุรา เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เปนตน อยูในบริเวณที่รับ อนุญาต (ขอ 5.6) 2.15 จัดใหมีระบบรักษาความลับของผูมารับบริการ - ตองใหความเคารพและเก็บรักษาความลับ ขอมูลของ ผูปวย (Patient confidentiality) โดยจัดระบบปองกัน ขอมูลและรายงานที่เปนของผูปวย (ขอ 4.5)
  • 19. 12 (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... มาตรฐานรานยา สภาเภสัชกรรม หมวดที่ 3 การขายสงยา 3.1 ในการขายสงยา นอกจากตองปฏิบัติตามทุกหมวด 1 และ 2 แลว จะตองปฏิบัติตามที่กําหนดในหมวดนี้ดวย - ไมไดกําหนด 3.2 จัดใหมียานพาหนะและอุปกรณที่ใชในกระบวนการ ขนสงยาที่สามารถประกันคุณภาพของยาไมใหเกิดการ เสื่อมสภาพและเสียหายระหวางการเก็บรักษาและขนสง - ไมไดกําหนด 3.3 ใหคําแนะนําดานการเก็บรักษายาและการดูแล คุณภาพยา สําหรับยาที่มีลักษณะการเก็บรักษาเฉพาะ ใหแกผูรับอนุญาตที่มาซื้อยา ตามมาตรฐานวิชาชีพ - ไมไดกําหนด 3.4 จัดใหมีกระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติผูซื้อกอนที่ จะจําหนายทุกครั้ง และ ตองจําหนายหรือจัดสงยาให เฉพาะกับบุคคลหรือองคกรที่ไดรับอนุญาตใหจัดยาหรือ ครอบครองยาได ตามกฎหมายวาดวยยา - ไมไดกําหนด 3.5 จัดใหมีมาตรฐานสําหรับวิธีปฏิบัติงานและแบบ บันทึกในการรับเรื่องรองเรียนและการเรียกเก็บยาคืน ใน กรณีที่ทราบหรือสงสัยถึงความบกพรองดานคุณภาพ ประสิทธิภาพ หรือความปลอดภัยของยา โดยตอง ดําเนินการไดอยางทันทวงทีและมีประสิทธิภาพ - ไมไดกําหนด 3.6 จัดใหมีระบบปองกันการปะปนของยาที่ถูกสงคืน หรือเรียกเก็บคืนกับยาและผลิตภัณฑสุขภาพอื่นๆ - ไมไดกําหนด 3.7 จัดใหมีขอมูลที่จําเปน คือ ขอมูลการตรวจสอบสินคา คงคลังที่สม่ําเสมอเปนระยะ เอกสารการซื้อ เอกสารการ ขาย ขอมูลผูซื้อ สําเนาใบสงของ บันทึกเหตุผิดพลาด และเกือบผิดพลาด บันทึกรายการยาสงคืน ที่สมบูรณ ถูกตอง งายตอการคนหาและสามารถสอบทานกลับได - ไมไดกําหนด อยางไรก็ดีกลุมผูประกอบการรานยาตางมีการเตรียมความพรอมในการปฏิบัติตามราง ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชนดังจะเห็นไดจากขาวสารตางๆ ที่ปรากฏในวารสารชมรมรานขายยาแหงประเทศไทย9 วารสารสมาคมเภสัชกรรมชุมชน10 และ วารสารยาของสมาคมรานขายยา11 *******************************
  • 20. 13 บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษา การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจถึงความเปนไปไดของรานยาที่จะปฏิบัติตามราง ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ที่คณะทํางานไดยกรางขึ้น โดย ใชกระบวนการสังเกต และสัมภาษณเภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ โดยใชวิธีการลงพื้นที่เพื่อสังเกตและ สัมภาษณ รวมไปกับการตรวจประเมินรานยาคุณภาพของสภาเภสัชกรรม กลุมตัวอยางในการศึกษา กลุมตัวอยางในการศึกษานี้เปนกลุมตัวอยางแบบที่ไมเปนไปตามโอกาสทางสถิติ(Non- Probability Sampling )โดยเปนการเลือกตัวอยางแบบเจาะจง(Purposive Sampling) 12 คือ รานขายยา แผนปจจุบันที่มีความสนใจในการพัฒนาเปนรานยาคุณภาพ หรือสมัครเขาสูกระบวนการรับรองเปน รานยาคุณภาพ โดยกําหนดการลงพื้นที่ตั้งแตวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 – 9 พฤษภาคม 2554 ซึ่งมีรานยา ที่เขาเกณฑดังกลาวจํานวน 50 ราน วัตถุประสงคที่เลือกรานยากลุมนี้เนื่องจากเปนรานขายยาแผนปจจุบันที่มีการดําเนินการ ตามที่พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแกไขเพิ่มเติมไดบัญญัติไวครบถวน มีเภสัชกรเปนผูมี ปฏิบัติการอยูประจําตลอดเวลาที่รานเปดทําการ เภสัชกรมีการปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด และใหความรวมมืออยางดีในการสังเกต และสัมภาษณ เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล เนื่องจาก “มาตรฐานรานยาคุณภาพ” ของสภาเภสัชกรรมเปนเสมือนตนแบบของราง ประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกลาว ดังนั้นรายละเอียดที่ปรากฏในรางประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผน ปจจุบัน พ.ศ. .... จึงมีความใกลเคียงกับเกณฑที่ใชในการตรวจประเมินรานยาคุณภาพของสภาเภสัช กรรม ดังนี้จึงสามารถใชการตรวจประเมินรานยาคุณภาพควบคูไปกับการศึกษานี้ไดโดยไมเปนการ สรางภาระเพิ่มเติมแกรานยาแตอยางใด แตดวยภาษาที่ใชในรางประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ หลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... เปนภาษาในทางกฎหมาย จึงตองมีการตีความเพื่อใหประเด็นการสังเกต และสัมภาษณมีความชัดเจนมากขึ้น จึงไดดําเนินการ กําหนดเปนประเด็นจํานวน 20 ขอ ดังตาราง 2
  • 21. 14 ตาราง 2 ประเด็นสังเกต และสัมภาษณจาก (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนด รายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ. .... (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... ประเด็นสังเกต / สัมภาษณ หมวดที่ 1 บุคลากร 1.1 เภสัชกรตองผานการประเมินความพรอมในการ ใหบริการทางเภสัชกรรมจากสภาเภสัชกรรมหรือ หนวยงานที่สภาเภสัชกรรมรับรอง - ไมไดกําหนดเนื่องจากยังไมมีระบบการเตรียมความ พรอมในการใหบริการทางเภสัชกรรมจากสภาเภสัช กรรม 1.2 เภสัชกรจะตองแตงกายเปนไปตามควร เหมาะสมแก ฐานะ และศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพเภสัชกรรม ตามหลักเกณฑ ที่สภาเภสัชกรรมกําหนดและแตกตางจากบุคลากรอื่นๆ ในราน 1. เภสัชกรสวมเสื้อกาวน และมีความแตกตางจาก บุคลากรอื่นในราน 1.3 ผูรับอนุญาตตองปฏิบัติตอไปนี้โดยความเห็นชอบ ของเภสัชกร 1.3.1 ควบคุมการแตงกายของพนักงานรานยา และ บุคลากรอื่นภายในรานขายยาดวยเครื่องแตง กายที่ไมสื่อไปในทางที่จะกอใหเกิดความ เขาใจวาเปนเภสัชกร 2. การแตงกายของบุคลากรอื่นในรานตองไมทําใหเขาใจ ผิดวาเปนเภสัชกร 1.3.2 แบงแยกบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบ ของเภสัชกร พนักงานรานยา และบุคลากรอื่น ภายในรานขายยาในการใหบริการใหชัดเจน โดยคํานึงถึงความถูกตองตามกฎหมายดานยา และขอบังคับแหงวิชาชีพเภสัชกรรม 3. มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบระหวางเภสัชกร และบุคลากรอื่นในราน โดยคํานึงถึงความถูกตองตาม กฎหมาย และวิชาชีพ 1.3.3 จัดใหพนักงานรานยาผานการอบรมตาม หลักสูตรที่ สภาเภสัชกรรมใหการรับรอง เปน ประจําทุกป - ไมไดกําหนดเนื่องจากยังไมมีระบบการอบรมตาม หลักสูตรที่สภาเภสัชกรรมใหการรับรอง 1.4 การดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับผูมารับบริการใน รานยาโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใชเภสัชกรหรือพนักงานราน ยา จะตองไดรับคํายินยอมอยางเปนลายลักษณอักษรจาก เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการ และใหถือเปนความ รับผิดชอบที่เภสัชกรผูมีหนาที่ปฏิบัติการจะตองควบคุม กํากับการดําเนินกิจกรรมใหถูกตองตามกฎหมายวาดวย ยา 4. เภสัชกรมีการควบคุมกิจกรรมโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใช บุคลากรในรานยาที่เกี่ยวของกับผูมารับบริการ
  • 22. 15 (ราง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ และวิธี ปฏิบัติทางเภสัชกรรม ในรานขายยาแผนปจจุบัน พ.ศ..... ประเด็นสังเกต / สัมภาษณ หมวดที่ 2 การใหบริการทางเภสัชกรรม 2.1 การใหบริการทางเภสัชกรรมในรานยาตองปฏิบัติ โดยเภสัชกร 5. เภสัชกรเปนผูใหบริการทางเภสัชกรรม 2.2 ตองซักถามขอมูลที่จําเปนของผูมารับบริการ เพื่อ ประกอบการพิจารณากอนเลือกสรรยา หรือผลิตภัณฑ สุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย เหมาะสมกับผูปวย ตามหลักวิชาการ สมเหตุสมผล ตามมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพ 6. เภสัชกรมีการซักถามขอมูลที่จําเปนกอนจายยา 2.3 เลือกสรรยาและผลิตภัณฑสุขภาพอยางสมเหตุสมผล ตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ 7. มีการเลือกสรรยา และผลิตภัณฑสุขภาพอยาง สมเหตุสมผล ตามหลักวิชาการและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.4 ตองจัดใหมีฉลากบนซองบรรจุยาหรือภาชนะบรรจุ ยา ตองแสดงขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้ 8. ชองบรรจุยา หรือภาชนะบรรจุยา ตองมี 2.4.1 ชื่อรานขายยา และหมายเลขโทรศัพท ชื่อรานพรอมหมายเลขโทรศัพท 2.4.2 ชื่อการคาหรือชื่อสามัญทางยา ชื่อยา 2.4.3 สรรพคุณ สรรพคุณ 2.4.4 วิธีใช วิธีใชยา 2.4.5 วันที่จายยา วันที่จาย 2.4.6 ขอควรระวัง (ถามี) ขอควรระวัง(ถามี) 2.5 ใหคําแนะนําตามสมควรเกี่ยวกับการใชยาให ปลอดภัยตามหลักวิชาการและตามจรรยาบรรณแหง วิชาชีพ 9. มีการใหคําแนะนําตามสมควรเกี่ยวกับการใชยาอยาง ปลอดภัย 2.6 กรณีจายยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษที่เกี่ยวกับ โรคที่ตองใชยาอยางตอเนื่อง หรือ จายยาที่มีความเสี่ยง สูงในดานความปลอดภัย จะตองจัดใหมีการเก็บประวัติ และขอมูลการใชยาของผูปวย เพื่อประโยชนในการเฝา ระวัง คนหาและจัดการปญหาจากการใชยาของผูปวย 10. มีการจัดเก็บประวัติและขอมูลการใชยา ของผูปวยที่ ตองใชยาอยางตอเนื่อง หรือจายยาที่มีความเสี่ยงสูง 2.7 จัดใหมีหลักเกณฑในการคัดกรองและสงตอผูปวยที่ เหมาะสม 11. จัดใหมีหลักเกณฑการคัดกรอง และสงตอผูปวยที่ เหมาะสม 2.8 จัดใหมีกระบวนการควบคุมยาเสื่อมคุณภาพที่มี ประสิทธิภาพ และใหสงมอบยาภายในภาชนะบรรจุยาที่ เหมาะสมเพื่อปองกันการเสื่อมคุณภาพตลอดอายุการใช ยา 12.มีกระบวนการควบคุมยาเสื่อมคุณภาพที่มี ประสิทธิภาพ