SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
       เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวของ
                               ่
                        ในการใชกิจกรรมการเลานิทานคุณธรรม
เพื่อพัฒนาความสามัคคีในการทํางานกลุมครั้งนี้ ผูศึกษาได
                                                     ษาได
คนควาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้
     1.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับคุณธรรมและ
จริยธรรม
     2.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับนิทานคุณธรรม
     3.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความสามัคคี
     4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
เอกสารที่เกี่ยวของกับคุณธรรมและจริยธรรม
                 1.ความหมายของคุณธรรม
   คําวา คุณธรรม เปนคําที่คนไทยคุนเคยและรูจักกันดี    ดี
เพราะเปนคําที่กลาวถึงกันมากวา การจะเปนคนดีตองมี    งมี
 คุณธรรม หรือคุณธรรมในการทํางานหรือการปฏิบติ            ั
หนาที่ในอาชีพตาง แตความหมายจริงๆนั้น นอยคนนัก
ที่จะรู เวนแตผูที่สนใจคนควาอยางจริงจังเทานัน ฉะนั้น
                                                   ้
ผูศึกษาจึงไดคนควาความหมายของคํานีมากลาวไวดังนี้
                                          ้
ราชบัณฑิตยสถาน (2555 : 189) ใหความหมายไววา คุณธรรม หมายถึง
                                                         
สภาพคุณงามความดี
วศิน อินทสระ (2541 : 106-107) ใหความหมายของคุณธรรมตามหลักจ
ริยศาสตรไววา คุณธรรม หมายถึง อุปนิสัยอันดีงามซึ่งสั่งสมอยูในดวงจิต อุปนิสัย
อันนีไดมาจากความพยายามและความประพฤติติดตอกันมาเปนเวลานาน
       ้
ศูนยสงเสริมจริยธรรม สํานักงาน ก.พ. (2542 : 1) ใหความหมายของคุณธรรม
ไววา คุณธรรม คือ สภาพคุณงามความดี ดังนั้นมาตรฐานทางคุณธรรมจึงหมายถึง
สิ่งที่ถือเอาเปนหลักสําหรับเทียบทางสภาพคุณงามความดี โดยทั่วไปมักใชในลักษณะ
นามธรรมหรือสิ่งที่แสดงถึงคุณงามความดีทางจิตใจ
จากการใหความหมายดังกลาวขางตน สามารถสรุปไดวา คุณธรรม หมายถึง คุณงาม
ความดีทั้งหลายที่บุคคลทําอยูเปนปกติ ซึ่งสังคมยอมรับและไมสรางความเดือดรอน
ใหแกตนและผูอื่น
2. ความหมายของจริยธรรม
คําวา จริยธรรมนั้น โดยปกติจะมาคูกับคําวา คุณธรรม เสมอ เพราะมุงหมายใหเขาใจ
และปฏิบัติตนในทางที่ดี จึงเขียนใหเขาใจอยางนั้น แตความหมายโดยเฉพาะของคํานี้
เปนอยางไรนั้น ผูศึกษาไดรวบรวมมาไวแลวดังนี้
ราชบัณฑิตยสถาน (2555 : 17) ใหความหมายไววา จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอ
ประพฤติปฏิบัติ กฎ ศีลธรรม
พระราชวรมุนี (ประยุทธ ประยุตโต) (2531 : 10) ไดอธิบายความหมายของจริยธรรม
ไววา จริยธรรม หมายถึง การดําเนินชีวิต ความเปนอยู การยังชีวิตใหเปนไป การครอง
ชีพ การใชชีวิต การเคลื่อนไหวของชีวิตทุกแง ทุกดาน ทุกระดับ ทั้งทางกาย ทางวาจา
ทางใจ ทั้งดานสวนตัว ดานสังคม ดานอารมณ ดานจิต ดานปญญา หรือหมายถึง แนว
ทางการดําเนินชีวิตทั้งหมดของบุคคลในสังคม
สาโรช บัวศรี (2526 : 18-20) ใหคําอธิบายคําวา จริยธรรม ไวอยางนี้
            ศรี
จริยธรรม หมายถึง ศีลธรรมและคุณธรรม
ศีลธรรม หมายถึง การละเวนการฆาหรือการเบียดเบียน
คุณธรรม หมายถึง ความเมตตากรุณา
เอกสารที่เกี่ยวของกับนิทาน
     นิทานเปนแนวทางสําคัญอีกอยางหนึ่งที่จะชวยใหนักเรียนเกิดความ
เขาใจในสิ่งที่สอนไดงายๆ โดยเฉพาะการสรางแรงบันดาลใหเยาวชนใน
ดานตางๆ ซึ่งโดยมากจะเนนการปลูกฝงใหเกิดคุณธรรมจริยธรรมอันดี        ดี
ผานนิทานแตละเรื่อง ดังนั้นผูศึกษาจึงไดคนควาเอกสารที่เกี่ยวของกับ
นิทานดังนี้
1. ความหมายของนิทาน
ฉวีวรรณ คูหาภินันท (2542 : 157) ใหความหมายนิทานไววา นิทาน คือ
             หาภิ ท
เรื่องราวที่เลาสืบตอกันมาเปนเวลาชานาน ดวยมุขปาฐะ คือ การเลากัน
จากปากตอปากเรื่อยมา ถือไดวาเปนวรรณกรรมปากเปลา นิทานมักขึ้น
ตอนดวยคําวา กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว หรือครั้งหนึ่งนานมาแลว เนื้อ
เรื่องมักจะมีอภินิหารตางๆ เพื่อเราความสนใจ เนื่องจากเปนเรื่องเลาสืบ
กันมา เนื้อเรื่องเดียวกันจึงมีหลายสํานวนและผิดเพี้ยนกันไป นิทานมีทั้ง
นิทานสมัยเกาและนิทานสมัยใหม คือ นิทานที่แตงขึ้นมาใหม
วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2542 : 138) ไดกลาวไววา นิทาน หมายถึง เรื่องราวที่เลาตอๆกัน
                  ดิ
มาเปนเวลานาน เพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลินและใหความรู เพื่อใหเปนคนดี     คนดี
อยูในสังคมไดอยางมีสุข และบางครั้งก็สอดแทรกคติหรือคุณธรรมเพื่อสอนใจลง
ไปดวย ในระหวางการเลาเรื่องใหเด็กฟงอาจมีการสนทนาโตตอบ อภิปราย
ซักถาม แสดงขอคิดเห็นและแสดงทาทางประกอบเรื่องราวก็ได ขึ้นอยูกับ
จุดมุงหมายของการเลานิทาน
สมศักดิ์ ปริปุรณะ (2542 : 64) ไดสรุปความหมายของนิทานไว ดังนี้
1.เปนเรื่องที่ผูกขึ้น
2.เปนเรื่องเลาที่ใชวาจาเปนสื่อถายทอดหรือเขียนทํานองการเลาดวยปากเปลา
3.เปนบทประพันธที่มีการเลาแบบเปนกันเอง ทํานองการเลาเปนวาจา
4.เปนเรื่องเลาที่มีจุดประสงคหลักเพื่อความบันเทิงใจ และมีสิ่งสอนใจเปน
จุดประสงครอง
ดังนั้น จึงสรุปไดวา นิทาน คือเรื่องที่เลากันมา สามารถแตงขึ้นเองไดตลอดเวลา
ซึ่งเลาไวก็เพื่อมุงหมายใหผูรับฟงเกิดความสนุกสนาน และมีขอคิดใหผูฟง
                                                                
2. ประเภทของนิทาน
เกริก ยุนพันธ (2539 : 48-75) ไดสรุปสําคัญของการแบงประเภทของนิทานไววา ประเภทของนิทานมี
             ธ                                                                              านมี
วิธีการกําหนดตางกันไมมีเกณฑตายตัว แตทนิยมกันมาก คือ การแบงนิทานออกเปนประเภทตาม
                                             ี่
รูปแบบของนิทาน ซึงแบงออกเปน 5 ประเภท ดังนี้
                      ่
2.1 นิทานปรัมปรา (Fairy Tales or Household Tales)
2.2 ตํานานหรือนิทานทองถิ่น (Legends)
2.3 เทพนิยาย (Myths)
2.4 นิทานเกี่ยวกับสัตว (Animal Tales)
                          ว
2.5 นิทานตลกขบขัน (Jest. Humourous, Merry Tales
ความหมายความสามัคคี
ความสามัคคีเปนคุณธรรมที่ดีอยางหนึ่ง ซึงเปนรากฐานสําคัญที่จะทําใหคนทํางานไดอยางมี
                                           ่                                          งมี
ประสิทธิภาพและประสบความสําเร็จ เปนคุณธรรมที่ทาใหการทํางานเปนกลุมลุลวงไปในทางที่ดี
                                                       ํ
ความสามัคคีกอใหเกิดความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน รูจักการรวมมือกันเพื่อทํางานอยางใดอยางหนึ่งให
                                                                                                ให
สําเร็จตามที่ตองการ ดังนั้นการที่เราจะทํางานกลุมไดดีก็ตองมีความสามัคคีในหมูคณะ และตองทํา
เขาใจในความหมายของความสามัคคีอยางตรงไปตรงมาอยางนี้
ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 829) ใหความหมายไววา ความสามัคคี หมายถึง ความพรอมเพียงกัน,ความปรองดองกัน, ความ
รวมใจกันปฏิบัติงานใหบรรลุ และการไมเอารัดเอาเปรียบกัน
กรมวิชาการ (2534 : 239-296) ใหความหมายของความสามัคคีคือ การรวมกําลังเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อทํางานอยางใด
อยางหนึ่งใหสําเร็จสมประสงคตามความตองการของกลุมหรือสังคมและกําลังที่รวมกันนั้น เปนไปไดทั้งกําลังกาย กําลัง
                                                        
ความคิด กําลังความคิดเห็น กําลังความรู กําลังทรัพย โดยใชความสามารถเหลานี้รวมกันปฏิบัติงานดวยความกลมเกลียว
โดยไมมีการทะเลาะคิดทําลาย หรือแกงแยงชิงดีกัน โดยพิจารณาไดจากพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามัคคีดังตอไปนี้
คือ
1.สมาชิกทุกคนพรอมใจกันปฏิบัติงาน โดยไมมการบังคับ
                                               ี
2.เมื่อมีความผิดพลาดบกพรองเกิดขึ้น สมาชิกรวมกันรับผิดชอบโดยไมโยนความผิดใหแกกันและกัน และรวมมือกัน
แกปญหา
3.เมื่องานสําเร็จลง สมาชิกตางยินดีถือเปนความสําเร็จรวมกันของกลุมและตางยกยองใหเกียรติกัน โดยเฉพาะผูมสวน
                                                                                                             ี
ชวยเหลือกลุมอยางมาก
4.เมื่อกลุมตองการความชวยเหลือ สมาชิกพรอมที่จะเสียสละโดยไมมการเกียงกัน
                                                                   ี
5.ความสามัคคีที่ควรไดรับการสงเสริม คือ การรวมมือในสิ่งทีสรางสรรคสังคมใหดีขึ้น (อาภา ถนัดชาง. 2531 : 49-51)
                                                            ่
สําหรับกรมวิชาการ (2534 : 39) ไดกลาวถึงองคประกอบของจริยธรรมดานความสามัคคีไวอีกวา มีคุณธรรมดานอื่นรวมอยู รวมอยู
ดวยคือ ความไมเห็นแกตัว ความมีน้ําใจ เปนธรรมและระเบียบวินัย
จากการใหความหมายของความสามัคคีขางตน ก็สามารถสรุปไดวา ความสามัคคี หมายถึง การแสดงออกของคนในกลุม
เดียวกัน แสดงออกในทางเดียวกัน รวมตัวกันทํางานอยางใดอยางหนึ่งใหสําเร็จลุลวงไป โดยไมเอาเปรียบซึ่งกันและกัน
การรวมกําลังนี้ หมายถึงถึงกําลังทางกาย กําลังทางความคิด กําลังความรู กําลังสติปญญา กําลังทรัพย เปนตน รวมกันเพื่อ
สรางสิงใดสิงหนึ่ง หรือรวมกันเพื่อสรางประโยชนตางๆ
        ่ ่
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
1.      งานวิจัยที่เกี่ยวของกับคุณธรรม จริยธรรม
ไพรัตน อยูสมบูรณ (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง พัฒนาการของพฤติกรรมจริยธรรมและ
                    ณ
นิสัยรัการอานของเด็กกอนวัยเรียน ผลการวิจัยพบวา มีปฏิสัมพันธระหวางลักษณะของผูเลา
นิทานกอนนอนในดานนิสัยในการอานของเด็กกอนวัยเรียน
ศุภวาร วรสูตร (2538 : บทคัดยอ) ทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาการใชบทบาทสมมุติในการ
               ร
พัฒนาลักษณะที่พึงประสงคของเด็กวัยอนุบาล ผลการวิจัยปรากฏวา เด็กวัยอนุบาลที่ไดรับ
การสอนโดยใชบทบาทสมมุติที่มีลักษณะพึงประสงคเกี่ยวกับการไมแกลงเพื่อน และการมี
                                                                           และการมี
น้ําใจตอเพื่อนสูงกวาเด็กวัยอนุบาลทีไดรับการสอนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่
                                      ่                            นั
ระดับ .01
2. งานวิจยที่เกี่ยวของกับนิทาน
           ั
วิจิตรา อุดมมุจลินทร (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการใชกิจกรรมเลานิทานทีมีตอการ
                   นทร                                                       ่
พัฒนาความรู และเขาใจความหมายของคําศัพทในเด็กกลุมอาการดาวนระดับกอน
ประถมศึกษา ผลการวิจัยพบวา ความสามารถในการพัฒนาความรูและความเขาใจ
ความหมายของคําศัพทในเด็กกลุมอาการดาวนกอนประถมศึกษา หลังใชกิจกรรมการเลา
นิทานเพิมขึ้นกวากอนการใชกิจกรรมเลานิทานอยางมีนัยสําคัญที่ .01
         ่                                                      ที
กรุณา ศรีแสน (2548: บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการใชหนังสือ
การตูนตัวแบบตอการพัฒนาพฤติกรรมจริยธรรมของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาลัยขอนแกน (ศึกษาศาสตร)
เลือกกลุมตัวอยางจากนักเรียนที่มีคะแนนต่ํา โดยนําคะแนนมาเรียง
จากนอยไปหามาก แลวนําคะแนนมาจับคูกันและใชวิธีสุมอยางงาย
แยกแตละคูใหอยูในกลุมทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 10 คน
                                                   
ผลการวิจัยพบวา 1) พฤติกรรมจริยธรรมของนักเรียนกลุมทดลอง
สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01
2) พฤติกรรมจริยธรรมของนักเรียนกลุมทดลองหลังการทดลองสูง
กวาการทดลองอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .01

More Related Content

What's hot

พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
niralai
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
suwantan
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Kasem S. Mcu
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
Padvee Academy
 
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+11 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1Tongsamut vorasan
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตWataustin Austin
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
Taraya Srivilas
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕Napakan Srionlar
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 

What's hot (16)

พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
 
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+11 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 

Similar to บทที่ 2

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
Kun Cool Look Natt
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
CUPress
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
Ruangrat Watthanasaowalak
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
Khamcha-I Pittaya​khom school
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
tassanee chaicharoen
 
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1Anawat Supappornchai
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10
Y'Yuyee Raksaya
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
Ekarach Inthajan
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
aphithak
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
areemarketing
 

Similar to บทที่ 2 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ภาษากับการคิด
ภาษากับการคิดภาษากับการคิด
ภาษากับการคิด
 
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
รายงานการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบและภาพสะท้อนทางสังคมเพื่อศึกษากา...
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 3   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 3 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวของ ่ ในการใชกิจกรรมการเลานิทานคุณธรรม เพื่อพัฒนาความสามัคคีในการทํางานกลุมครั้งนี้ ผูศึกษาได ษาได คนควาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับคุณธรรมและ จริยธรรม 2.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับนิทานคุณธรรม 3.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความสามัคคี 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
  • 2. เอกสารที่เกี่ยวของกับคุณธรรมและจริยธรรม 1.ความหมายของคุณธรรม คําวา คุณธรรม เปนคําที่คนไทยคุนเคยและรูจักกันดี ดี เพราะเปนคําที่กลาวถึงกันมากวา การจะเปนคนดีตองมี  งมี คุณธรรม หรือคุณธรรมในการทํางานหรือการปฏิบติ ั หนาที่ในอาชีพตาง แตความหมายจริงๆนั้น นอยคนนัก ที่จะรู เวนแตผูที่สนใจคนควาอยางจริงจังเทานัน ฉะนั้น ้ ผูศึกษาจึงไดคนควาความหมายของคํานีมากลาวไวดังนี้  ้
  • 3. ราชบัณฑิตยสถาน (2555 : 189) ใหความหมายไววา คุณธรรม หมายถึง  สภาพคุณงามความดี วศิน อินทสระ (2541 : 106-107) ใหความหมายของคุณธรรมตามหลักจ ริยศาสตรไววา คุณธรรม หมายถึง อุปนิสัยอันดีงามซึ่งสั่งสมอยูในดวงจิต อุปนิสัย อันนีไดมาจากความพยายามและความประพฤติติดตอกันมาเปนเวลานาน ้ ศูนยสงเสริมจริยธรรม สํานักงาน ก.พ. (2542 : 1) ใหความหมายของคุณธรรม ไววา คุณธรรม คือ สภาพคุณงามความดี ดังนั้นมาตรฐานทางคุณธรรมจึงหมายถึง สิ่งที่ถือเอาเปนหลักสําหรับเทียบทางสภาพคุณงามความดี โดยทั่วไปมักใชในลักษณะ นามธรรมหรือสิ่งที่แสดงถึงคุณงามความดีทางจิตใจ จากการใหความหมายดังกลาวขางตน สามารถสรุปไดวา คุณธรรม หมายถึง คุณงาม ความดีทั้งหลายที่บุคคลทําอยูเปนปกติ ซึ่งสังคมยอมรับและไมสรางความเดือดรอน ใหแกตนและผูอื่น
  • 4. 2. ความหมายของจริยธรรม คําวา จริยธรรมนั้น โดยปกติจะมาคูกับคําวา คุณธรรม เสมอ เพราะมุงหมายใหเขาใจ และปฏิบัติตนในทางที่ดี จึงเขียนใหเขาใจอยางนั้น แตความหมายโดยเฉพาะของคํานี้ เปนอยางไรนั้น ผูศึกษาไดรวบรวมมาไวแลวดังนี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2555 : 17) ใหความหมายไววา จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอ ประพฤติปฏิบัติ กฎ ศีลธรรม พระราชวรมุนี (ประยุทธ ประยุตโต) (2531 : 10) ไดอธิบายความหมายของจริยธรรม ไววา จริยธรรม หมายถึง การดําเนินชีวิต ความเปนอยู การยังชีวิตใหเปนไป การครอง ชีพ การใชชีวิต การเคลื่อนไหวของชีวิตทุกแง ทุกดาน ทุกระดับ ทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ ทั้งดานสวนตัว ดานสังคม ดานอารมณ ดานจิต ดานปญญา หรือหมายถึง แนว ทางการดําเนินชีวิตทั้งหมดของบุคคลในสังคม สาโรช บัวศรี (2526 : 18-20) ใหคําอธิบายคําวา จริยธรรม ไวอยางนี้ ศรี จริยธรรม หมายถึง ศีลธรรมและคุณธรรม ศีลธรรม หมายถึง การละเวนการฆาหรือการเบียดเบียน คุณธรรม หมายถึง ความเมตตากรุณา
  • 5. เอกสารที่เกี่ยวของกับนิทาน นิทานเปนแนวทางสําคัญอีกอยางหนึ่งที่จะชวยใหนักเรียนเกิดความ เขาใจในสิ่งที่สอนไดงายๆ โดยเฉพาะการสรางแรงบันดาลใหเยาวชนใน ดานตางๆ ซึ่งโดยมากจะเนนการปลูกฝงใหเกิดคุณธรรมจริยธรรมอันดี ดี ผานนิทานแตละเรื่อง ดังนั้นผูศึกษาจึงไดคนควาเอกสารที่เกี่ยวของกับ นิทานดังนี้ 1. ความหมายของนิทาน ฉวีวรรณ คูหาภินันท (2542 : 157) ใหความหมายนิทานไววา นิทาน คือ หาภิ ท เรื่องราวที่เลาสืบตอกันมาเปนเวลาชานาน ดวยมุขปาฐะ คือ การเลากัน จากปากตอปากเรื่อยมา ถือไดวาเปนวรรณกรรมปากเปลา นิทานมักขึ้น ตอนดวยคําวา กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว หรือครั้งหนึ่งนานมาแลว เนื้อ เรื่องมักจะมีอภินิหารตางๆ เพื่อเราความสนใจ เนื่องจากเปนเรื่องเลาสืบ กันมา เนื้อเรื่องเดียวกันจึงมีหลายสํานวนและผิดเพี้ยนกันไป นิทานมีทั้ง นิทานสมัยเกาและนิทานสมัยใหม คือ นิทานที่แตงขึ้นมาใหม
  • 6. วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2542 : 138) ไดกลาวไววา นิทาน หมายถึง เรื่องราวที่เลาตอๆกัน ดิ มาเปนเวลานาน เพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลินและใหความรู เพื่อใหเปนคนดี คนดี อยูในสังคมไดอยางมีสุข และบางครั้งก็สอดแทรกคติหรือคุณธรรมเพื่อสอนใจลง ไปดวย ในระหวางการเลาเรื่องใหเด็กฟงอาจมีการสนทนาโตตอบ อภิปราย ซักถาม แสดงขอคิดเห็นและแสดงทาทางประกอบเรื่องราวก็ได ขึ้นอยูกับ จุดมุงหมายของการเลานิทาน สมศักดิ์ ปริปุรณะ (2542 : 64) ไดสรุปความหมายของนิทานไว ดังนี้ 1.เปนเรื่องที่ผูกขึ้น 2.เปนเรื่องเลาที่ใชวาจาเปนสื่อถายทอดหรือเขียนทํานองการเลาดวยปากเปลา 3.เปนบทประพันธที่มีการเลาแบบเปนกันเอง ทํานองการเลาเปนวาจา 4.เปนเรื่องเลาที่มีจุดประสงคหลักเพื่อความบันเทิงใจ และมีสิ่งสอนใจเปน จุดประสงครอง ดังนั้น จึงสรุปไดวา นิทาน คือเรื่องที่เลากันมา สามารถแตงขึ้นเองไดตลอดเวลา ซึ่งเลาไวก็เพื่อมุงหมายใหผูรับฟงเกิดความสนุกสนาน และมีขอคิดใหผูฟง 
  • 7. 2. ประเภทของนิทาน เกริก ยุนพันธ (2539 : 48-75) ไดสรุปสําคัญของการแบงประเภทของนิทานไววา ประเภทของนิทานมี ธ านมี วิธีการกําหนดตางกันไมมีเกณฑตายตัว แตทนิยมกันมาก คือ การแบงนิทานออกเปนประเภทตาม ี่ รูปแบบของนิทาน ซึงแบงออกเปน 5 ประเภท ดังนี้ ่ 2.1 นิทานปรัมปรา (Fairy Tales or Household Tales) 2.2 ตํานานหรือนิทานทองถิ่น (Legends) 2.3 เทพนิยาย (Myths) 2.4 นิทานเกี่ยวกับสัตว (Animal Tales) ว 2.5 นิทานตลกขบขัน (Jest. Humourous, Merry Tales ความหมายความสามัคคี ความสามัคคีเปนคุณธรรมที่ดีอยางหนึ่ง ซึงเปนรากฐานสําคัญที่จะทําใหคนทํางานไดอยางมี ่ งมี ประสิทธิภาพและประสบความสําเร็จ เปนคุณธรรมที่ทาใหการทํางานเปนกลุมลุลวงไปในทางที่ดี ํ ความสามัคคีกอใหเกิดความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน รูจักการรวมมือกันเพื่อทํางานอยางใดอยางหนึ่งให ให สําเร็จตามที่ตองการ ดังนั้นการที่เราจะทํางานกลุมไดดีก็ตองมีความสามัคคีในหมูคณะ และตองทํา เขาใจในความหมายของความสามัคคีอยางตรงไปตรงมาอยางนี้
  • 8. ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 829) ใหความหมายไววา ความสามัคคี หมายถึง ความพรอมเพียงกัน,ความปรองดองกัน, ความ รวมใจกันปฏิบัติงานใหบรรลุ และการไมเอารัดเอาเปรียบกัน กรมวิชาการ (2534 : 239-296) ใหความหมายของความสามัคคีคือ การรวมกําลังเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อทํางานอยางใด อยางหนึ่งใหสําเร็จสมประสงคตามความตองการของกลุมหรือสังคมและกําลังที่รวมกันนั้น เปนไปไดทั้งกําลังกาย กําลัง  ความคิด กําลังความคิดเห็น กําลังความรู กําลังทรัพย โดยใชความสามารถเหลานี้รวมกันปฏิบัติงานดวยความกลมเกลียว โดยไมมีการทะเลาะคิดทําลาย หรือแกงแยงชิงดีกัน โดยพิจารณาไดจากพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสามัคคีดังตอไปนี้ คือ 1.สมาชิกทุกคนพรอมใจกันปฏิบัติงาน โดยไมมการบังคับ ี 2.เมื่อมีความผิดพลาดบกพรองเกิดขึ้น สมาชิกรวมกันรับผิดชอบโดยไมโยนความผิดใหแกกันและกัน และรวมมือกัน แกปญหา 3.เมื่องานสําเร็จลง สมาชิกตางยินดีถือเปนความสําเร็จรวมกันของกลุมและตางยกยองใหเกียรติกัน โดยเฉพาะผูมสวน ี ชวยเหลือกลุมอยางมาก 4.เมื่อกลุมตองการความชวยเหลือ สมาชิกพรอมที่จะเสียสละโดยไมมการเกียงกัน ี 5.ความสามัคคีที่ควรไดรับการสงเสริม คือ การรวมมือในสิ่งทีสรางสรรคสังคมใหดีขึ้น (อาภา ถนัดชาง. 2531 : 49-51) ่ สําหรับกรมวิชาการ (2534 : 39) ไดกลาวถึงองคประกอบของจริยธรรมดานความสามัคคีไวอีกวา มีคุณธรรมดานอื่นรวมอยู รวมอยู ดวยคือ ความไมเห็นแกตัว ความมีน้ําใจ เปนธรรมและระเบียบวินัย จากการใหความหมายของความสามัคคีขางตน ก็สามารถสรุปไดวา ความสามัคคี หมายถึง การแสดงออกของคนในกลุม เดียวกัน แสดงออกในทางเดียวกัน รวมตัวกันทํางานอยางใดอยางหนึ่งใหสําเร็จลุลวงไป โดยไมเอาเปรียบซึ่งกันและกัน การรวมกําลังนี้ หมายถึงถึงกําลังทางกาย กําลังทางความคิด กําลังความรู กําลังสติปญญา กําลังทรัพย เปนตน รวมกันเพื่อ สรางสิงใดสิงหนึ่ง หรือรวมกันเพื่อสรางประโยชนตางๆ ่ ่
  • 9. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับคุณธรรม จริยธรรม ไพรัตน อยูสมบูรณ (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง พัฒนาการของพฤติกรรมจริยธรรมและ ณ นิสัยรัการอานของเด็กกอนวัยเรียน ผลการวิจัยพบวา มีปฏิสัมพันธระหวางลักษณะของผูเลา นิทานกอนนอนในดานนิสัยในการอานของเด็กกอนวัยเรียน ศุภวาร วรสูตร (2538 : บทคัดยอ) ทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาการใชบทบาทสมมุติในการ ร พัฒนาลักษณะที่พึงประสงคของเด็กวัยอนุบาล ผลการวิจัยปรากฏวา เด็กวัยอนุบาลที่ไดรับ การสอนโดยใชบทบาทสมมุติที่มีลักษณะพึงประสงคเกี่ยวกับการไมแกลงเพื่อน และการมี และการมี น้ําใจตอเพื่อนสูงกวาเด็กวัยอนุบาลทีไดรับการสอนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ่ นั ระดับ .01 2. งานวิจยที่เกี่ยวของกับนิทาน ั วิจิตรา อุดมมุจลินทร (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการใชกิจกรรมเลานิทานทีมีตอการ นทร ่ พัฒนาความรู และเขาใจความหมายของคําศัพทในเด็กกลุมอาการดาวนระดับกอน ประถมศึกษา ผลการวิจัยพบวา ความสามารถในการพัฒนาความรูและความเขาใจ ความหมายของคําศัพทในเด็กกลุมอาการดาวนกอนประถมศึกษา หลังใชกิจกรรมการเลา นิทานเพิมขึ้นกวากอนการใชกิจกรรมเลานิทานอยางมีนัยสําคัญที่ .01 ่ ที
  • 10. กรุณา ศรีแสน (2548: บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการใชหนังสือ การตูนตัวแบบตอการพัฒนาพฤติกรรมจริยธรรมของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาลัยขอนแกน (ศึกษาศาสตร) เลือกกลุมตัวอยางจากนักเรียนที่มีคะแนนต่ํา โดยนําคะแนนมาเรียง จากนอยไปหามาก แลวนําคะแนนมาจับคูกันและใชวิธีสุมอยางงาย แยกแตละคูใหอยูในกลุมทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 10 คน  ผลการวิจัยพบวา 1) พฤติกรรมจริยธรรมของนักเรียนกลุมทดลอง สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01 2) พฤติกรรมจริยธรรมของนักเรียนกลุมทดลองหลังการทดลองสูง กวาการทดลองอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .01