SlideShare a Scribd company logo
อภิปรายผล
       ท่าทีการเปลี่ยนศาสนา
ผู้บอกข้อมูลรายหนึ่ง(อ้างถึงอัลเบิร์ต ไอน์สไตน ซึ่งเป็นนักวิทยาศาสตร์ ในความเข้ากัน
         ได้ระหว่างคำาสอนในพระพุทธศาสนากับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์) เน้นว่า
            สำาหรับชาวพุทธนั้นเป็นพุทธศาสนิกก็ดีอยู่แล้ว เพราะพระพุทธศาสนาเป็น
             ศาสนาที่มีเหตุผล และให้เสรีภาพ การศึกษาและปฏิบัติตามหลักคำาสอน
                             สามารถธำารงพระพุทธศาสนาต่อไปได้
การศึก ษาวิเ คราะห์ท ่า ทีข อง
         พระพุท ธศาสนาเรื่อ งการ
         เปลีย นศาสนา
             ่

  An Analytical Study of Buddhist Views on Religious
                      Conversions

                     พระมหามาติณ ถีน ิต ิ
วิท ยานิพ นธ์น ี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของการศึก ษาตามหลัก สูต ร
 ปริญ ญาศิล ปศาสตรมหาบัณ ฑิต (สาขาศาสนาเปรีย บ
                               เทีย บ)
          บัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลัย มหิด ล
                        พุท ธศัก ราช 2553
            ลิข สิท ธิ์ข องมหาวิท ยาลัย มหิด ล
อภิปรายผล
    การเปลี่ยนศาสนาเป็นสิงที่เป็นไปได้แต่ต้อง
                          ่
    ใช้เหตุผล ถ้าพิจารณาด้วยตนเองแล้วว่าดี ก็
    เปลี่ยน เพราะพระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า “รักอื่น
    เสมอด้วยตนเองไม่มี” ดังนั้นอย่ายึดเอา
    ศาสนาเป็นยาเสพติด หรือตามๆมาแบบ “เถน
    ส่องบาตร” หรือเปลี่ยนไปเพราะกิเลส
ABSTRACT

AN ANALYTICAL STUDY OF BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS CONVERSIONS
PHRAMAHAMARTI TRINITY     4937659 SHCR/M
THESIS ADVISORS: PARICHART SUWANBUBBHA, Ph.D., SARINTHIP
SATHIRASILAPIN, M.A., CHARNNARONG BOONNOON, Ph.D.


                                               ABSTRACT
               A.D. 2550 about the lack of change in terms of religion, ethics, unethical conversion
  occurs in Sri Lanka and other countries. The researcher is interested in an analytical study on the
   changing attitude of the Buddhist religion. Research indicates that the main Buddhist religious
  freedom of religion for people to use new formula . While focus on Nirvana Middle Way Noble
 Truths led to believe faith to convert Important respects, Buddhism is now being recognized as the
   Religion of Science. That is the teaching philosophy that is compatible with the primary science
Found that the attitude of the Buddhist religion as such does not change the principle purpose of the
guide or propagandize or coercion or bribery, or is the reward. Instead, one try and decide. To study
 group differences. To review the attitude of the modish conversion And lead to action and attitude
can be placed in the modish modern paradigm to understand the problems of comparative religion in
                                             Thai society.
                           Keywords: Buddhism Conversion 150 pages.
บทคัด ย่อ

การศึกษาวิเคราะห์ทาทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนศาสนา
                     ่
(AN ANALYTICAL STUDY OF BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS
    CONVERSIONS )
พระมหามาติณ ถีนิติ 4937659 SHCR/M
ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ : ปาริชาด สุวรรณบุบผา ,Ph.D.(Systematic
    Theology)., ศรินทิพย์ สถีรศิลปิน , อ.ม. (อักษรศาสตร์) ชาญณรงค์ บุญหนุน , อ.ด.
    (ปรัชญา)
                                               บทคัด ย่อ
                            ปี พ.ศ. 2550 เรื่องการเปลี่ยนศาสนาในเชิงขาด
    จริยธรรมunethical conversion ) เกิดขึ้นในประเทศศรีลังกาและประเทศอืนๆ ผู้วิจยจึง
                                                                        ่       ั
    สนใจทีจะศึกษาวิเคราะห์เรื่องท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา จากการ
            ่
    วิจัยพบว่าศาสนาพุทธใช้หลักเสรีภาพในการให้คนเข้านับถือศาสนาใช้วิธกาลามสูตร
                                                                          ี
    เน้นเหตุผลในเรื่อง นิพพาน ทางสายกลาง อริยสัจ มรรค นำาสูศรัทธาความเชือต่อการ
                                                                 ่          ่
    เปลี่ยนศาสนา ประการสำาคัญศาสนาพุทธปัจจุบันได้ถูกยอมรับเป็นศาสนาแห่ง
    วิทยาศาสตร์ กล่าวคือมีหลักคำาสอนปรัชญาทีมความเข้ากันได้กับหลักวิทยาศาสตร์
                                                  ่ ี
    พบว่าในศาสนาพุทธมีทาทีการเปลี่ยนศาสนาดังนี้ เช่น ไม่ใช้หลักการประสงค์ตอผล
                            ่                                                 ่
    ชวนเชื่อหรือชีนำาหรือกำาลังบีบบังคับหรือสินบนหรือให้สงตอบแทน แต่ให้เข้ามาทดล
                  ้                                        ิ่
    องและตัดสินใจเอง เพือศึกษากลุ่มทีแตกต่าง เพือทบทวนให้มความสมสมัยต่อท่าทีการ
                          ่             ่             ่        ี
    เปลี่ยนศาสนา และนำาไปสูการปฏิบัตและวางท่าทีได้ถูกต้องสมสมัยในยุคกระบวนทัศน์
                                          ิ
    ต่อปัญหาการเข้าใจศาสนาเปรียบเทียบในสังคมไทย
คำา สำา คัญ : การเปลี่ย นศาสนาของพระพุท ธศาสนา 150 หน้า
บทที่ 1
               ปรากฏการณ์เรื่องการเปลี่ยนศาสนาที่เกิดขึ้น       กล่าวได้ว่าเกิดขึ้นหลายลักษณะโดยสรุป ได้แก่ลักษณะการ
      เปลี่ยนศาสนาตามธรรมชาติหรือลักษณะพึงประสงค์    จากแรงจูงใจที่พบว่ามีลักษณะการชักนำาที่ไม่มจริยธรรมต่อ ี
     ศาสนา และมีผลต่อบรรทัดฐานของสังคม  สำาหรับในสังคมมนุษย์ ที่เนื่องด้วยการเปลี่ยนศาสนานั้นมีลักษณะหลาย
    อย่าง  เป็นการชักนำาที่น่าประหวั่นพรั่นพรึง     เรียกว่าการชักนำาให้เข้าศาสนาที่เป็นในเชิงบวก      กล่าวคือเปลี่ยนความ
    เชือไปสู่สถาบันศาสนาที่มีท่าทีที่เปิดกว้างเป็นหลัก    หรือเหตุที่การเปลี่ยนศาสนาเพราะความจำาเป็นของผูที่จะเปลี่ยนใน
       ่                                                                                                      ้
                                                        ทุก ๆ กรณี  เป็นต้น

              รัฐบาลศรีลังกาได้พบว่าเกิดการเปลี่ยนศาสนาแบบการชักนำาลักษณะที่ผิดศีลธรรมและจรรยา     แต่ศาสนา
     พุทธเป็นศาสนาแห่งเสรีภาพ โดยให้โอกาสมนุษย์เลือกได้ปฏิบัติได้   ศาสนานี้จึงถูกเรียกว่าเป็นศาสนาที่มีมโนทัศน์
                                     ปล่อยวาง    ชืออุบาลีมาขอเปลี่ยนศาสนาเป็นชาวพุทธ
                                                    ่
                                              วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย
                           เพือศึกษาหลักคำาสอนและทรรศนะของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
                              ่
                 การวิจัยภาคสนาม  ได้แก่การรวบรวมข้อมูลโดยการใช้คำาถามสัมภาษณ์
                                                 ขอบเขตของการวิจ ัย
                         รวมทั้งศึกษาทรรศนะเรื่องการเปลี่ยนศาสนาของนักวิชาการพระพุทธศาสนา
                             ได้ทราบแนวทางการศึกษาวิเคราะห์พระพุทธศาสนาและการเปลี่ยน
               กรณีการเปลี่ยนศาสนาและจริยธรรมการเปลี่ยน (งานวิจัยนี้ไม่เน้นการเปลี่ยนศาสนาของเผ่าชน)
                                              การเปลี่ยนศาสนาในประวัติศาสตร์ 
                                         การเปลี่ยนศาสนาในมุมมองของวิทยาศาสตร์ 
                                    การเปลี่ยนศาสนาแบบมีจริยธรรม ( Ethical Conversion)
                                          ลักษณะการเปลี่ยนศาสนาโดยวิธีเฉียบพลัน 
                                             ลักษณะการเปลี่ยนศาสนาโดยไม่มีสติ
                                         ลักษณะการเปลี่ยนศาสนามิใช่ด้วยระบบพวก  
                                         ลักษณะการเปลี่ยนศาสนายังคงเป็นสิงลึกกลับ
                                                                          ่
                 Unethical Conversions หมายถึง  การชักจูงให้ผอื่นเปลี่ยนศาสนาโดยขาดจริยธรรม
                                                                    ู้
    Conversion : James Hasting and Strachen หมายถึง การเปลี่ยนศาสนา (Converted) มีความหมายว่า   “การเปลี่ยน
                                            ศาสนาจากศาสนาหนึ่งไปสูศาสนาหนึ่ง”
                                                                       ่
เปลีย นศาสนา และ
                   ่
             ประวัต ิศ าสตร์ก ารเปลีย น                  ่
             ศาสนายุค พุท ธกาล
              
   ทรรศนะเรื่อ งการเปลี่ย นศาสนา และประวัต ิศ าสตร์ก ารเปลี่ย นศาสนา
   ยุค พุท ธกาล  “การเปลี่ย นศาสนา”
ความหมายการเปลี่ย นศาสนาโดยนัก วิช าการศาสนาตะวัน ออก ความ
  หมายการเปลี่ย นศาสนาโดยนัก วิช าการศาสนาตะวัน ตก
กรณีการเปลียนศาสนาและจริยธรรมการเปลี่ยน  2.)
           ่                                            ) การเปลี่ยนศาสนาในมุม
  มองของวิทยาศาสตร์  พบว่าตามเอกสารชิ้นนี้สรุปว่า  จริยธรรมการเปลี่ยน
  ศาสนานั้นเป็นเรื่องหนึ่งของเหตุการณ์ทางศีลธรรม    และคำานี้ไม่ผูกขาดใน
  ศาสนาใดศาสนาหนึ่ง         การเปลี่ย นศาสนาตามทรรศนะศาสนาคริส ต์
  ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาเทวนิยมมีศาสนิกมาก              การเปลี่ย นศาสนาตาม
  ทรรศนะศาสนาอิส ลาม ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาเทวนิยม มีประชากร
  ศาสนาเป็นอันดับที่ 2 ของโลก            มีเรื่องศรัทธาพระเจ้าเป็นสำาคัญ มี
  บทบัญญัติไว้ชดเจน ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องการเมืองการปกครอง
                 ั
  ในประเทศศาสนาอิสลาม  และศาสนาให้เสรีภาพที่จะเปลี่ยนมารับหรือจะออก
  ไปของศาสนาไว้ในพระคัมภีร์           ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งการเมืองการ
  ปกครอง           การสมรสระหว่างศาสนาคงให้นับถือศาสนาเดิมแบบมีเงื่อนไข
  บ้างได้    แต่ในทางปฏิบัติเรื่องนี้ไม่ชัดเจนแต่ละนิกายต่างกัน         "การ
  เปลี่ยนศาสนาของมุสลิมคนหนึ่งนั้น         ควรจำากัดให้เป็นโทษแบบตะอฺซร (คือ อยู่
                                                                         ี
บทที่ 2 ต่อ
               การเปลี่ย นศาสนาสมัย พุท ธกาลและประวัต ิพ ระพุท ธเจ้า
            ยุท ธวิธ ีก ารเปลี่ย นศาสนาของพระพุท ธเจ้า การเปลี่ย น
                         ศาสนาที่เ ปลี่ย นโดยพระพุท ธเจ้า
                  ข้อสังเกต       ในวรรณกรรมทีการวิจัยในหัวข้อนี้ได้วิจัยพบ
                                                 ่
  ด้วยท่าทีการเปลี่ยนศาสนา  โดยบุคคลที่ถูกเปลี่ยนศาสนาที่มีสาเหตุจากหลักการ
           ่
                                       ดังกล่าว
     หลัก เมตตา ( Agape) ของพระพุท ธเจ้า และสาวกนำา สู่ก ารเปลี่ย น
  ศาสนา     กล่าวคือคติในศาสนาพุทธมีว่า         ถ้ามีคนจะประหารท่าน เป็นต้น 
      ไม่เน้นการชักคนเข้าศาสนา  ในการเปลี่ยนแปลงศาสนาพุทธ            การ
  เปลี่ย นศาสนาสมัย หลัง พุท ธกาล   ที่ต่างกันคือ 300 ต่อมา มีความสำาคัญใน
                                   พุทธศาสนามา
   ทีเป็นทีนิยมในปัจจุบันเป็นต้น เป็นต้น การเปลี่ย นศาสนาสมัย กษัต ริย ์
      ่      ่
  อิส ลามปกครองอิน เดีย ท่า ทีก ารเปลี่ย นศาสนาต่อ หลัก อนหิง สกธรรม
          องค์ป ระกอบของประชากรและผลกระทบจากการเปลี่ย นศาสนา
        ศาสนา   การทีคนมีรายได้ไม่เพียงพอ 
                       ่                           ผลทางการเมือ งกับ การ
  เปลี่ย นศาสนา    จะเกิดขึ้นทั้งโดยตรงและโดยอ้อม          ในลักษณะที่ มีเรื่อง
  การเปลี่ยนศาสนารวมอยู่ด้วย         ผลทางวัฒ นธรรมกับ การเปลี่ย นศาสนา
                      ผลทางเศรษฐกิจ กับ การเปลี่ย นศาสนา
  เรือง หลักคำาสอนสำาคัญในพระพุทธศาสนาและการตีความทีเกี่ยวข้องกับการ
        ่                                                    ่
บทที่ 2 (ต่อ)
    การเปลี่ย นศาสนาสมัย พุท ธกาลและประวัต ิพ ระพุท ธเจ้า
                 ยุท ธวิธ ีก ารเปลี่ย นศาสนาของพระพุท ธเจ้า
          การเปลี่ย นศาสนาที่เ ปลี่ย นโดยพระพุท ธเจ้า

                   ข้อสังเกต       ในวรรณกรรมที่การวิจยในหัวข้อนี้ได้วิจยพบ
                                                      ั                 ั        ด้วยท่าที่การเปลี่ยนศาสนา  โดยบุคคลที่ถูกเปลี่ยนศาสนาที่มีสาเหตุ
         จากหลักการดังกล่าว
      หลัก เมตตา ( Agape) ของพระพุท ธเจ้า และสาวกนำา สู่ก ารเปลี่ย นศาสนา
     กล่าวคือคติในศาสนาพุทธมีว่า       ถ้ามีคนจะประหารท่าน เป็นต้น      ไม่เน้นการชักคนเข้าศาสนา  ในการเปลี่ยนแปลงศาสนาพุทธ
   การเปลี่ย นศาสนาสมัย หลัง พุท ธกาล
  ที่ตางกันคือ 300 ต่อมา มีความสำาคัญในพุทธศาสนามา
       ่
  ที่เป็นที่นยมในปัจจุบนเป็นต้น
             ิ         ั
 เป็นต้น     
                         การเปลี่ย นศาสนาสมัย กษัต ริย ์อ ิส ลามปกครองอิน เดีย

  ท่า ทีก ารเปลี่ย นศาสนาต่อ หลัก อนหิง สกธรรม
   องค์ป ระกอบของประชากรและผลกระทบจากการเปลี่ย นศาสนา
   ศาสนา
   การทีคนมีรายได้ไม่เพียงพอ 
         ่
  ผลทางการเมือ งกับ การเปลี่ย นศาสนา
   จะเกิดขึ้นทังโดยตรงและโดยอ้อม
               ้                      ในลักษณะที่ มีเรื่องการเปลียนศาสนารวมอยูด้วย
                                                                 ่            ่
                     ผลทางวัฒ นธรรมกับ การเปลีย นศาสนา
                                               ่
                        ผลทางเศรษฐกิจ กับ การเปลี่ย นศาสนา

    เรื่อง หลักคำาสอนสำาคัญในพระพุทธศาสนาและการตีความที่เกียวข้องกับการเปลียนศาสนา ต่อไป
                                                           ่               ่
บทที่ 3 หลัก คำา สอนสำา คัญ ใน
พระพุท ธศาสนาและการตีค วามที่
เกี่ย วข้อ งกับ การเปลี่ย นศาสนา
3.1 คำา นิย ามและหลัก คำา สอนและการตีค วามของพระพุท ธศาสนา
      3.1.1 ลัก ษณะการเปลีย นแนวคิด ในศาสนาพุท ธ
                                        ่
conversionที่วิทยานิพนธ์นกล่าวครอบคลุมถึงท่าทีการเปลี่ยนศาสนาในพระพุทธศาสนานีด้วย การเปลียนศาสนาคือ
                               ี้                                                                 ้            ่
      การเปลี่ยนวัฒนธรรมตามมาหรือก่อนการเปลี่ยนศาสนา ตามแนวคิดวัฒนธรรมสังคมมนุษย์อย่างหลีกไม่พ้นตาม
      ที่นกวิชาการเรื่องการเปลียนวัฒนธรรมกล่าวไว้ (Malinowski : 1958) แนวคิดการเปลียนศาสนา มีผลปรากฏให้
          ั                           ่                                                             ่
      คนเปลี่ยนศาสนามานับถือพระพุทธศาสนาแบบมีจริยธรรมได้ และการทำาให้ความคิดของตน มีความเข้ากันได้
      กับความเห็นอืนที่จะกล่าวในบทนี้
                        ่                         ส่วนอีกประเด็นสำาคัญที่คล้ายกันอีกสิงหนึงคือความเห็น
                                                                                         ่    ่                คือทัศนะที่มตอ
                                                                                                                           ี ่
      การเปลี่ยนศาสนาหรือภาษาอังกฤษเรียกว่า attitude จะกล่าวในบทที่ 4 สำาหรับสถานการณ์ทั่วไปเรืองศาสนา               ่
      เอง แนวคิดในการเปลียนศาสนาของพระพุทธศาสนามี 2 แนวคือ แนวการเปลียนศาสนาเชิงกายภาพ
                                  ่                                                             ่
      พระพุทธศาสนา(เปลียนเพราะซาบซึ้งในพระธรรมคำาสอน พุทธจริยาเป็นต้น)และแนวการเปลียนศาสนาเชิง
                             ่                                                                          ่
      มโนภาพพระพุทธศาสนา(การเปลียนศาสนามาด้วยสาเหตุที่ตรงกันข้ามกับกายภาพเช่น แฟชั่น ตามเขามา
                                              ่
      เป็นต้น) และประเภทการเปลี่ยนศาสนามี 2 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 ประเภทที่เปลี่ยนมาจากศาสนาอืน                    ่
      ประเภทที่ 2 ประเภททีเป็นคนพระพุทธศาสนาอยู่แล้ว แต่แอบแฝงตามเขามา อาจเป็นอืนได้ทหล่อแหลมต่อ
                                    ่                                                                 ่   ี่
      unethical converse แล้วยังยืนยันหรือมีความว่างเปล่า เชิงพระพุทธศาสนาแล้วกลับมายึดถือศาสนาพุทธอย่าง
      สมบูรณ์         เพราะการเข้าใจพระพุทธศาสนาดีขนในอีกระดับหนึง
                                                           ึ้                ่
      สรุปแล้วตีความการเข้ามาเปลี่ยนศาสนาในแนวคิดนีได้เป็นสองพวก้                      ให้เห็น
2.) และความเลือมใสมาก่อนสัจธรรมในการเปลียนศาสนา
                    ่                                 ่
3 ในอินเดีย ใน พ. ศ. 3.2 แนวคิด คำา สอนกฎแห่ง กรรมและการเปลีย นศาสนา               ่
      3.2.1 แนวคิด เรือ งกรรมและการเปลี่ย นศาสนา การเปลียนศาสนาแบบรับหน้าที่ทางศาสนา
                          ่                                                ่                                           การ
      เปลียนศาสนาเพียงรูปแบบ การเปลียนศาสนาเพราะสมรส
            ่                                   ่                          การเปลียนศาสนาเพราะหลงผิด การเปลียน
                                                                                     ่                                  ่
      ศาสนาตามประเพณี การเปลียนศาสนาตามวัฒนธรรม
                                          ่
3.3 หลัก กาลามสูต รและการเปลีย นศาสนา       ่
  จึงเป็นสิ่งที่เชื่อในหลักกาลามสูตร ในการตัดสินใจเปลียนศาสนา และอนึงกระบวนการทางพุทธไม่ซบซ้อน 4 การ
                                                              ่                  ่                           ั
      วิเคราะห์ความรู้ความเข้าใจของชาวพุทธเกี่ยวกับการเปลียนศาสนา ต่อไป
                                                                     ่
บทที่ 4
           การเปลีย นศาสนาตาม
                   ่
           ทรรศนะ และบุค คลทัว ไป
                              ่
 การเปลี่ย นศาสนาตามทรรศนะ และบุค คลทั่ว ไป
 2 กรณีคือ เปลี่ยนจากศาสนาอื่นมาเป็นศาสนาพุทธ และเปลี่ยนจาก
  ศาสนาพุทธไปเป็นศาสนาอื่น       4.1.1 ทรรศนะเรื่อ งการเปลี่ย น
  ศาสนา
 1. หลักที่มีลักษณะเป็นการให้ความแจ่มแจ้งเกียวกับความเป็นจริงของ
                                             ่
  ชีวิต เป็นสิ่งสำาคัญสูงสุด
 4.2 ทรรศนะในการสอนและวิธ ีก ารสอนต่อ การเปลี่ย นศาสนา

 4.2.1 กัล ยาณมิต รต่อ การเปลี่ย นศาสนา 4.3       ปรัช ญาของสัง คม
  ยุค ปัจ จุบ ัน ในเชิง เทววิท ยาพุท ธและการเปลี่ย นศาสนา
                  4.3.1 บุค คลทั่ว ไปและการเปลี่ย นศาสนา 4.4 การ
  ศึก ษาตีค วามคำา ศัพ ท์ใ นศาสนาในหลัก การเผยแพร่พ ระพุท ธ
  ศาสนาโดยสรุป ต่อ การเปลีย นศาสนา ่
 การทำาบาป การทำาบุญ การได้ไปสวรรค์ การตกนรก การทำาดี
  การไม่กระทำาชั่ว เป็นสิ่งที่ต้องตีความ 4.4.1 ทรรศนะการเผยแผ่ต ่อ
  การเปลี่ย นศาสนา
 2 ลักษณะคือ ลักษณะการสอนทั่วไป และ 2 ลักษณะสอนธรรมที่มีขอโต้้
  แย้ง มีรายละเอียดดังนี้นี้คือ
บทที่ 5 สรุป
   บทที่ 5
                     สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ
      –           สรุป

                   จากการวิจยพบข้อสรุปดังต่อไปนี้ ศาสนาพุทธมีการเปลียนศาสนาชนิดจริยธรรมอย่างเดียว และไม่มุ่งให้คนเข้าศาสนาอย่างชนิดอจริยธรรม ดั่งที่ประเทศศรีลังกา
                                 ั                                          ่
    ประสบปัญหาอยู่ ท่าทีศาสนาพุทธเปิดกว้างให้เวลาคิดตัดสินใจ ไม่มีชนชั้นวรรณะ ไม่เลือกกาลเวลา วัย เข้ามาได้ทุกเมื่อใครก็ได้ ไม่คัดเลือก ไม่มีคติ แม้คนพิการ คนใกล้
    จะตาย คนกำาลังประสบภัยร้ายแรงเช่นภัยซูนามิ ( tsunami ) ที่จงหวัดภูเก็ต ก็เข้ามาเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธได้ นอกเหนือจากวิธีตรรกวิทยา และพระพุทธศาสนามีท่าทีที่
                                                                          ั
    เป็นกัลยาณมิตรต่อการเปลียนศาสนา ในการนำาคนเข้าศาสนา การวิจยครั้งนี้เท่ากับการสังคายนาความคิด จุดยืนของผู้นับถือพระพุทธศาสนาในประเทศไทย และผู้นับถือ
                                    ่                                         ั
    พระพุทธศาสนา
                   ตัวอย่างแม่แบบในการนำาคนเข้าศาสนา เช่น กรณีพระอุบาลี ศาสนาเชน มาอ้อนวอนพระพุทธเจ้าเข้าศาสนาแต่ท่านต้องกระทำาถึง 3 ครั้ง กว่าการเข้าศาสนา
    พุทธได้สำาเร็จ       ไม่มีการให้หรือรับให้สินบน พระพุทธศาสนามีหลักศีลธรรมอย่างเคร่งครัด             แม้มีระเบียบตั้งไว้แล้วจะผ่อนผันให้ ยังไม่ทำาเช่นกรณีคนจะบวชในเรื่องพระมหา
    กัจจานะ       ศาสนาพุทธให้เสรีภาพกับคนนับถือศาสนา จะบวชจะสึก เมื่อนับถือแล้วไม่ชอบออกไปจากศาสนาพุทธ                         ไม่บังคับคู่สมรสหรือบุตร มานับถือศาสนาตามตนองที่
    นับถือพระพุทธศาสนาอยู่            ให้มีเสรีภาพ ( freedom of choice ) เคยมีตอนที่สามเณรราหุล(ฟ้าชายราหุล) ลูกพระพุทธเจ้าต้องการสมบัติตามคำาแนะนำาของแม่              พระพุทธเจ้าพา
    ไปวัดฟังธรรม ลูกเปลียนใจมานับถือพระพุทธศาสนา เพราะพระพุทธศาสนาให้นิพพานสมบัติแทนรับรัชทายาท กรณีอย่างนี้ไม่ชื่อว่าสินบน ไม่มีเจตนา ไม่มีสิ่งต่างตอบแทน
                               ่
    เป็นมูลค่าชีวิต ( wage value ) เพราะมีจริยธรรมแบบ Kant ในนิยามนี้ unethical conversion หมายถึงฝ่ายดีอย่างเดียว ( moral absolute )                    ตามที่ Kant กล่าวว่าจริยธรรม
    ดังกล่าวเป็นความดีสากล มีสัญชาน ( percept ) เป็นองค์ประกอบ หรือเป็นคุณธรรมฝ่ายดีอย่างเดียว แต่คุณธรรมดังกล่าวเป็นเพียงอย่างหนึ่งตามคติพระพุทธศาสนา[1]
    เท่านั้น
                   ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาพุทธของพระพุทธศาสนาสามารถแบ่งได้และมีการเปลียน 2 วิธี คือ ่
    ก.) แบบเข้าใจทันทีแบบ ( hasty understandings’ converted ) คือเข้าใจในศาสนาและหลักคำาสอนและพ้นทุกข์ทันที เมื่อฟังคำาสอนและนิพพานทันทีในชาติที่ได้พบพระพุทธ
    ศาสนา
   ข.) แบบไม่เข้าใจทันที ( non- hasty understandings converted ) เข้าใจคำาสอนในศาสนาพอสมควรและพ้นทุกข์ ในโอกาสต่อมาใน ชาตินั้นหรือชาติต่อไป กล่าวคือพบว่า
     การเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธมีหลักการแน่นอน ตั้งอยู่บนพื้นฐานมีจริยธรรมในการชักจูงแนะนำาให้คนมานับถือศาสนา
                   จึงได้ข้อสรุปในระดับหนึ่งว่า       ท่าทีที่พบในพระพุทธศาสนา ทั้งอดีตปัจจุบัน       พระพุทธศาสนา มิได้มีการแผ่ศาสนาแบบไม่มีจริยธรรมชนิด unethical
    converse เลย            ถ้ามีเป็นสัทธรรมปฏิรูปหรือนอกรีต ( pagan ) สอนผิด ใช้หลักคำาสอนผิด สำาหรับวรรณกรรมและภาควิจัยสนาม ที่ศึกษาวิเคราะห์แล้ว พบว่าหลักการ
    เปลียนพระพุทธศาสนามี 2 ระดับคือ
         ่
   ระดับรากหญ้า
   ระดับพระคัมภีร์
   ในระดับรากหญ้าใช้ฐานข้อมูลจาก วัดมหาธาตุยวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร
                                                              ุ                                  ส่วนระดับพระคัมภีร์ พระพุทธศาสนาที่ศึกษาจากวรรณกรรม ในการอ้างอิง                 พบว่า
    สิงสำาคัญในศาสนาพุทธเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม คนที่ได้เกิดมาพบพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้มีกรรมดี มี “บุญ” มาก่อน พระพุทธองค์ตรัสว่า พบพระพุทธะเจ้า พบพระ
      ่
    ธรรม พบพระสงฆ์ บรรลุอรหันต์นั้นเป็นของยาก จากพระธรรมบท สำาหรับในการเปลี่ยนศาสนานั้นสามารถแยกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
    1.) ประเภทใช้หลัก คำาสอนแม่บทการศึกษาวรรณกรรมคือ อริยสัจ อริยมรรค มัชฌิมาปฏิปทา นิพพาน
   2.) ประเภทรากหญ้า              grass root จากการวิจยได้คำาตอบ คือเพราะศรัทธา เลือมใส วาทกรรม พระนาคเสนและพระยามิลนทร์ คำาสอน เข้าใจง่าย พิสูจน์ได้ เป็น
                                                            ั                          ่                                               ิ
    วิทยาศาสตร์         มีเหตุผล        เถนส่องบาตร        แฟชั่น  เสพติด มีกัลยาณมิตร
    3.) ประเภทเปลี่ยนมาเป็นพระพุทธศาสนาตามหลักมนุษยนิยม (humanism) และวิทยาศาสตร์ ( scientism ) ไม่ยอมรับคำาสอนแต่รับแบบ ( agnostic Buddhism ) กล่าวคืออยู่
    ระหว่างความเชื่อในลัทธิครู 6[2] และลัทธิการเมืองแบบ ( neo-religion[3]) กล่าวคือ กลุ่มนี้ไม่คิดว่าการเข้าร่วมกับศาสนาใด จะสนองความต้องการทางกายและใจของตนได้
    เช่นบูชาแรงงานแทนสิ่งใดว่าแรงงานสิ่งนั้นดีที่สดแรงงานคือพระเจ้า แต่เชื่อว่านิพพานมีอยู่
                                                         ุ                                              ทำาตามหน้าที่พลเมืองดี ( Civics ) ที่เกิดให้ความคุ้มครองชีวิตปากท้องตนเองดี
    ที่สุด   เรื่องศาสนารัฐ และสังคม เมื่อเสียภาษีตามกฎหมายสิงที่กล่าวมาไม่ใช่สงสำาคัญ
                                                                       ่                 ิ่           บางครั้งเหมือนการปล่อยวางและสันโดษตามแนวพระพุทธศาสนาพุทธ แต่ทว่าตาม
    แนวพระพุทธศาสนา ต้องเข้าถึงพระรัตนตรัยด้วยจึงถือว่า ปล่อยวางสันโดษ                      ตามแนวพระพุทธศาสนาได้

                การที่คนเข้าศาสนาพุทธโดยไม่ใช้หลักกาลามสูตรพิจารณาก่อน อาจจะผิดหวัง และถือเป็นมีศาสนาแบบ ( naïve- self unethical conversion ) ได้ อาจจะ
    สงเคราะห์เข้าเป็น   ( unethically ) โดยอาการ ตามการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีการเปลียนศาสนา ของพระพุทธศาสนาได้เช่นกัน ซึ่งอาจจะเป็นอันตรายต่อประชากรศาสนา
                                                                                 ่
    เพราะเป็นการเกิดขึนของการเป็นคนไม่มีศาสนาแบบแอบแฝง ( latent religious well wisher ) รวมทั้งคนมีศาสนาแต่ทะเบียนราษฎร์
                      ้                                                                                                   แต่ตนเองไม่รู้ว่าสิ่งตนนับถือคืออะไร


ภาคผนวก ก
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
๒๕/๒๕ ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.ศาลายา
อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทรศัพท์ ๐๒-๘๐๐-๒๘๔๐-๗๘ ต่อ ๑๐๑๔
โทรสาร ๐๒-๔๔๑-๙๗๓๘
ที่ ศธ ๐๕๑๗.๑๒/๕๕๖๕
วันที่     ๒๔ มกราคม ๒๕๕๒
เรื่อง ขอความอนุเคราะห์เก็บข้อมูล
เรียน เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
        ด้วย พระมหามาติณ ถีนิติ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กำาลังทำาวิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์
ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา” โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาด สุวรรณบุบผา เป็น
อาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์
        ในการนี้ นักศึกษามีความประสงค์ใคร่ขอความอนุเคราะห์เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและ
สัมภาษณ์เจ้าคณะทุกคณะในวัดมหาธาตุฯ ช่วงเวลาที่ขอเข้าทำาการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม-
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เพื่อนำาข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบในการทำาวิทยานิพนธ์ดังกล่าว
        จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์ในการดังกล่าวด้วย จักขอบคุณยิ่ง
                                                       ขอแสดงความนับถือ
รับรองสำาเนาถูกต้อง                                    (รองศาสตราจารย์ ดร. สมบูรณ์ ศิริสรร
หิรัญ)
                                                       รองคณบดีฝ่ายบริหาร
อนุมัติแล้ว 24 กพ 53                                ลงชื่อแล้ว 24มค 53
พระธรรมสุธร์ อธิบดีสงฆ์ วัดมหาธาตุ กทม ฯ
             ี                                                     ปฏิบัติหน้าที่แทนคณบดีคณะ
สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์
ภาคผนวก ข
แนวคำา ถามสัม ภาษณ์
1. อยากทราบประสบการณ์ของท่านเกี่ยวกับความ รู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา เรื่องการเปลี่ยนศาสนา
     ครั้งพุทธกาลในประเด็นต่างๆ เช่น
     - บุคคลใดบ้างที่เปลี่ยนเข้านับถือพระพุทธศาสนา และเปลี่ยนเมื่อใด
     - สาเหตุและวิธีการ
     - อื่นๆ
2. เหตุใด/สาเหตุที่บุคคลทั่วไปหรือตัวท่านเองเปลี่ยนศาสนา
3. ท่านเอง หรือญาติของท่าน หรือคนรู้จักใกล้ชดเคยเปลี่ยนศาสนาหรือไม่
                                               ิ

           เปลี่ยน       โปรดให้เหตุผล..................................................................................................
          ไม่เปลี่ยน      โปรดให้เหตุผล..................................................................................................
4. ท่านคิดว่าอะไรคือ แนวคิดและท่าทีเรื่องการเปลี่ยนศาสนาที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุด
5. คนเปลี่ย นศาสนาคือ ใคร โปรดอธิบาย หรือให้นิยาม
 6. คนบางคนเปลี่ยนศาสนาเพราะหวังผลตอบแทนบางอย่างเช่น ทุนการศึกษา เงิน ท่านเห็นด้วยหรือไม่เพราะเหตุ
     ใด
7. ท่านคิดว่า คนเราควรเปลี่ยนศาสนาหรือไม่ เพราะเหตุใด
8. ท่านคิดว่า ในยุคปัจจุบัน การเปลี่ยนศาสนาก่อให้เกิดปัญหาใดหรือไม่                             ถ้ามีโปรดยกตัวอย่าง
    และอธิบาย เหตุผล
9. ศาสนาของท่านบังคับการนับถือศาสนาของคู่สมรสหรือไม่
10. เป็นไปได้หรือไม่ที่คนๆ หนึ่งจะไม่นับถือศาสนาอะไรเลย เพราะเหตุใด
11. ท่านให้ความหมายคำาว่า “คนไม่มีศาสนา” อย่างไร
12. โปรดให้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติม
ภาคผนวก ค
ตารางอภิป รายผลการสัม ภาษณ์
อภิปรายผล การสัมภาษณ์ จากวันที่ ๑ มกราคม 2553 - 28 กุมภาพันธ์ 2553 มีแบบคำาถาม 12
ข้อ จา ก ผู้ตอบ

         รวม 26 รายการ ดังมีจำานวนข้อที่มผู้ตอบและผูไม่ตอบ ดังต่อไปนี้
                                         ี          ้
ข้อที่    1 ตอบ                     22            ราย                    ไม่ตอบ    4       ราย
ข้อที่    2 ตอบ                     20            ราย                    ไม่ตอบ    6       ราย
ข้อที่    3 ตอบ                     22            ราย                    ไม่ตอบ    4       ราย
ข้อที่    4 ตอบ                     22            ราย                             ไม่ตอบ    4
         ราย
ข้อที่    5 ตอบ                     22            ราย                             ไม่ตอบ   4
         ราย
ข้อที่    6 ตอบ     24              ราย                                  ไม่ตอบ    2       ราย
ข้อที่    7 ตอบ     25              ราย                         ไม่ตอบ    1       ราย
ข้อที่    8 ตอบ     24              ราย                         ไม่ตอบ    2       ราย
ข้อที่    9 ตอบ     25              ราย                                  ไม่ตอบ            1
         ราย
ข้อที่    10 ตอบ                    25            ราย                    ไม่ตอบ            1
         ราย
ข้อที่    11 ตอบ                    23            ราย                    ไม่ตอบ            3
         ราย
ข้อที่    12 ตอบ                    24            ราย                    ไม่ตอบ            2
         ราย
รวม       12 ข้อ ตอบจำานวน           278 รายการ ไม่ตอบ รวม 34 รายการ
บทที่5 สรุป ต่อ
   ควรมีการส่งเสริมให้มีการวิจยอย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพอยู่แล้วให้คงทนถาวรต่อไป ด้วยวิธีการตรวจสอบในเชิง
                               ั
    ปฏิบตการทุกระยะ ในแนวทางการศึกษาวิจยทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ( Qualitative and Quantitative research ) ที่เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา
        ั ิ                                   ั
              •    ข้อ เสน อแนะเชิง นโยบาย
   1.)         เพิ่มทักษะการเรียนรู้ทางศาสนาชนิดเชิงลึกเช่น การเรียนรู้พระไตรปิฎก
   2.)         เรียนรู้ประวัตศาสนาศาสนาพระพุทธศาสนามีแบบเรียบนอย่าง
                              ิ                                                                                       ละเอียดลอออ่านเพิ่ม
    เติม 4.1.2
   3. )        เพิ่มสิทธิหน้าที่ ค่านิยมชาวพุทธให้มั่นคงขึ้น
   4.)         ให้การเรียนรู้ในระดับรากหญ้าเข้าใจพระพุทธศาสนามากกว่ารู้โดยอาศัย                     พระ หรือนักปราชญ์ เช่นที่นักศึกษาพระ
    ศาสนารู้เข้าใจพระศาสนา
   5.)         ส่งเสริมการเรียนรู้ในพระพุทธศาสนาชนิดต่อเนืองตลอดชีวิตแบบครบ
                                                              ่                                      วงจร
   6.)         ส่งให้ชาวพุทธไทยใช้หลัก (Buddhism work ethics) เป็นแนวเดียวกัน
   7.)         ใช้หลักคำาสอนนำาปรัชญา มิใช่หลักปรัชญานำาคำาสอน
   8.)         ใช้คำาสอนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตและการงานอย่างไม่มีขอบเขต เช่น                                           ประเทศ ญีปนใช้ได้ผล
                                                                                                                               ่ ุ่
    มาแล้วโดยไม่องชีวิตศาสนาก็ได้
                      ิ
   9.)          เพิ่มห้องสมุดสำาหรับพระพุทธศาสนาทุกแห่งทั่วประเทศในระดับหมูบาน
                                                                              ่ ้

                               5.3.2    ข้อ เสนอแนะเพื่อ การศึก ษาวิจ ัย ครั้ง ต่อ ไป

                               ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาวิจยครั้งต่อไป
                                                             ั                เห็นควรเสนอแนะให้ทำาการวิจยเชื่อมโยงเพื่อหาข้อยุตเพิ่มเติม
                                                                                                        ั                      ิ
    ในการพัฒนาองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ            ผ่านระบบการศึกษาและระบบอื่น อย่างทุกขั้นตอนทุกระยะ เพื่อหาค่าความแตกต่างจากกลุมที่ ่
    แปลกออกไป หาข้อบกพร่องดูมแนวความคิดตรงกัน ในเรื่องคำาสอนและความเข้าใจ มิใช่นับถือศาสนาเพราะเพียงเพื่อพัฒนาศักยภาพ ใน
                                   ี
    สมาชิกสังคมคือ ดีก ว่า ตัว ผึง แต่ม ิใ ช่เ ป็น ตัว ต่อ
                                 ้                          การพัฒนาศาสนาและสังคม ในทุกศาสนาที่เรียกว่าการเรียนรู้เรื่องศาสนาเปรียบเทียบ
    ชนิด ( unbiased ) กล่าวคือ ให้ทุกคนมีความตระหนักแน่ ในสิ่งทีตนเป็นและตนทำา
                                                                      ่                   ที่ปราศจากมานะและอัตตาใน Buddhism working
    ethics โดยสิ้นเชิงตลอดเวลาของการวิจัย และการทำางานเพื่อศึกษาติดตามแนวโน้มเรื่องการเปลียนศาสนาชนิดขาดจริยธรรม ที่ไม่น่าพึง
                                                                                               ่
    ประสงค์ ( undesirable and unethical ) เพราะศาสนาคือความรักความศรัทธาและความเชื่อมิใช่การเมือง

    [1] ในศาสนาพุทธกล่าว่า คุณธรรมที 2 คือกุศล และอกุศลกล่าวไว้ในพระธรรมบท ภาค 1 เพราะนั้นในพุทธเมือกล่าวถึงคุณธรรมต้องแยกก่อน
                                                                                                          ่
    แต่ว่าในปรัชญาตะวันตกคุณธรรมคือความดีเท่านั้น
   [2] ก.)ปูรณกัสสปะ บุญบาปไม่มีจริง( อกิริยทิฐิ) ข.) มักขลิโคสาละ ไม่มเหตุอะไร (อเหตุกทิฐ) ค.)อชิตเกสกัมพล เห็นว่าบาปบุญไม่มี (นัตถิกทิฐิ-
                                                                          ี
    อุจเฉททิฐิ) ง.) ปกุธกัจจายนะ สรรพสิ่งเป็นนิรันดร์ (สัสตทิฐิ ) จ.)นิครนถ์นาฏบุตรลัทธิทรมานตน (อเนกันตวาท) ความจริงมีหลายแง่) ฉ.) สัญ
    ชัยมีความเห็นลื่นไหล เอาแน่อะไรไม่ได้ (อมราวิกเขปิกาทิฐ)   ิ
   [3] ศาสนาใหม่คออะไรก็ได้ที่คนนิยมมีกลุมทำาตามแต่ไม่ครบองค์การศาสนาของยูเอ็น Violet Linderbeck
                     ื                      ่
   บทที่5 สรุป ต่อ
                        ผลของข้อมูลที่สำาคัญเรื่อง ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาคือมีคำาตอบที่เด่นที่สุดมี 7
   ประเด็นคือ ศาสนาพุทธให้เสรีภาพ การศึกษาทำาให้คนในศาสนาเจริญและก้าวหน้าทางสมอง และเหตุผลในการมีชวิตอยู่ใน
                                                                                                         ี
    สังคมมากกว่านี้ได้ วาทะกรรมในเรื่องพระยามิลินทปัญหา หากมีคนนอกรีต คือคนไม่มีศาสนาเกิดขึ้นเป็นภัยต่อประเทศชาติ
      ความยากจน ศาสนาไหนก็เหมือนกัน ถ้าบังคับให้เปลี่ยนศาสนามีเรื่องแนวคิดการเปลี่ยนศาสนา รวม 7 ประเด็นนี้ที่
    สำาคัญมากตามวิจัยจากประชากรตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้

               สิ่งที่ค้นพบในการศึกษามีสาเหตุที่ต้องปรับคือ การศึกษาสำาคัญที่สดเพื่อพัฒนาความเข้าใจในศาสนา มิให้เห็นวัตถุ
                                                                                     ุ
    เป็นนามธรรมในพระพุทธศาสนา เช่นการมีแนวคิดแบบพระพุทธพาณิชย์อันเป็นเรื่องดาบสองคมเป็นต้นซึงยอมรับว่าดีงาม แต่จะ
                                                                                                               ่
    ต้องสำารวจตนเองเสมอว่ามุมมองของตนเองนั้นไกล               จากหลักคำาสอนเดิมของพระพุทธศาสนาหรือไม่             ถ้าสงสัยตนเองควร
    สำารวจจุดยืนของตนเองก่อน จนกว่าพบแล้ว ถ้าไม่พบหรือสงสัยกลับไปทบทวนตนเองเสียใหม่ เพื่อให้เป้าหมายสุดท้ายใน
    พระพุทธศาสนา ต่อการนับถือศาสนานั้นได้สมฤทธิผล กว่าสิงที่ตนเองทำาอยู่นั้นได้
                                                     ั               ่                            ใช้ทางสายกลางแนวพระพุทธศาสนา
    หรือไม่ หรือโดยใช้มรรค ใช้อริยสัจ เป็นเครื่องมือ ( machine tool ) เข้าเกี่ยวข้องกับการกระทำาของตนเอง ต่อ
    พระพุทธศาสนาดูว่าได้มากกว่า 50% หรือไม่            ถ้าสำารวจแล้วเกินดี        ถ้าสำารวจแล้วตำ่ากว่าควรปรับปรุงตนเอง ต่อคติ
    ความเชือในศาสนาพุทธเพิ่มขึ้น มิฉะนั้นความเห็นผิดจะครอบงำาตนเองได้ โดยการศึกษาและปฏิบัติตามพระดำารัสและหลักคำา
              ่
    สอน ของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด จึงจะถูกต้อและเหมาะสม ทั้งนี้เพือ มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัติ
                                                                                ่
    ในโอกาสต่อไป
   1. ควรมีการศึกษาเรืองพระพุทธศาสนา กับปัญหาการเปลี่ยนศาสนา ในลักษณะปฏิบัติการ หรือทบทวนบทบาทของผูนับถือ
                            ่                                                                                                   ้
    พระพุทธศาสนา อย่าได้หลงผิดในคำาสอนที่ปฏิบัติกันอยู่
   ควรให้คำาแนะนำาส่งเสริมให้       ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธอยู่แล้ว ไต้ตระหนักถึงคุณค่าของ
    ตัวศาสนาทีตนเองสังกัดอยู่ ที่จะสามารถนำาไปรองรับในการพัฒนาตนเองและสังเคราะห์เข้ากับชีวิตได้อย่างกลมกลืน แลได้
                    ่
    คุณภาพชีวิตศาสนาที่ดี และสามารถนำาพาสังคมของตนเองเข้ากันได้ กับศาสนาอื่นได้
           3. ควรศึกษาบทบาทของจุดยอดบรมธรรมเรื่องนิพพาน                ในพระพุทธสาสนาเพื่อตอบปัญหาว่าการเกิดและการตายหน
    เดียว และหลายหนนั้นสิ่งไหนควรไม่ควร และแสวงค่านิยมต่าง ๆ ที่ทันสมัยเสมอ เกี่ยวกับศาสนาของตนเอง และเข้ากัน
    ได้กับสังคมและศาสนาอื่นอย่างไม่มอุปสรรค และกระทำาความเข้าใจ ในทุกขั้นตอนแห่งการเรียนรู้ศาสนาให้กระจ่างแจ้ง ถึง
                                           ี
    หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เรื่องการจะเปลี่ยนหรือไม่เปลี่ยนศาสนานั้น เมื่อมีเหตุจำาเป็น ผู้นบถือศาสนาพุทธสามารถ มี
                                                                                                          ั
    ความข้ากันได้กับศาสนาอื่น และใช้หลักธรรมคำาสอนให้เต็มที มากกว่าการรู้ แต่ไม่ไดใช้แม้เมือคราวจำาเป็นมาถึง และแม้
                                                                                                        ่
    โลกจะหมุนเปลี่ยนแปลง ไปตามกระแสวัตถุนิยมรุนแรงเพียงใด ในระดับไหนก็ตาม ผู้ที่เข้าถึงท่าทีของศาสนาพุทธ หรือ
    คือผู้นับถือศาสนาพุทธ         จะไม่หวั่นไหวไปตามกระแสแห่งโลกาภิวัตน์ โดยสินเชิงเลย   ้
            4. ส่งเสริมให้ชาวพุทธมีความแหลมคม หรือจุดยืนในหลักปฏิบัติเรื่องคำาสอนที่ลึกซึงยิ่งขึ้น ในด้านปรัชญาศาสนา
                                                                                                    ้
    พุทธ        ทำาตนตระหนักรู้ทุกขณะลมหายใจจนกว่าจะสินชีวิต้          มิใช่เพียงทำาตามค่านิยมพระพุทธศาสนา เพราะเห็นเป็นเพียง
    ค่านิยมพระพุทธศาสนาเท่านั้น หรือตามเขาไป โดยตนเองไม่ได้พิสูจน์ในหลักคำาสอน หรือให้หยุดคิดใคร่ครวญ เสีย
    ก่อนว่า วิจารณญาณเชิงพระพุทธศาสนา มีความมากน้อยเพียงใด ก่อนการกระทำาอะไรลงไปในชีวิตประจำาวัน                             ทั้งในค่า
    นิยมเชิงพระพุทธศาสนา และทัศนคติเชิงพระพุทธศาสนาว่าถูกหรือผิดตามหลักคำาสอนแม่บทหรือไม่                        หรือว่าทั้งหมดที่ทำาไป
    ในฐานะเป็นชาวพระพุทธศาสนานั้น เป็นหลักคำาสอนในศาสนาพุทธที่แท้จริงหรือไม่ ด้วยการศึกษาใฝ่รู้อย่างมีแบบมีแผนให้
    เป็นไปแบบต่อเนื่องตลอดชีวิต
   5.3 ข้อ เสนอแนะ


ประวัต ิผ ู้ว ิจ ัย
ชื่อ                        พระมหามาติณ ถีนิติ
วัน เดือ น ปี เกิด                          เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494
สถานที่เ กิด                                กรุงเทพ ฯ ประเทศไทย
ประวัต ก ารศึก ษา
        ิ                   มัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมสาธิต มศว. ประสานมิตร กรุงเทพฯ
นธ. เอก ธศ. เอก จูฬอภิธรรมเอก เปรียญธรรม 3 ประโยค
พ.ม. ( จิตรกรรม )
ศศ.บ (ศาสนวิทยา) มหิดล
Dip-in-Jour.,MIOJ., ประเทศอังกฤษ
MIOJ,(pro-Member Institute of Journalists)by Royal charter, London, England.
Oxford Council Scholarship to CFE, Oxford. England.
Extra-mural student ,Oxford University, Oxford. England.
ทุน การศึก ษาที่ร ับ ทุนผูช่วยสอน ปี 2551 เทอม 1 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
                          ้
 ประสบการณ์ใ นการทำา งาน
          กรรมการตรวจสอบธรรมสนามหลวง
        อดีตครูสอนปริยัติธรรม สังกัดสำานักเรียนวัดมหาธาตุฯ วิชา พรบ. คณะสงฆ์ 2505
        ช่วยงานฝ่ายต่างประเทศ (แขกเมือง)ประจำาผูปฎิบัติหน้าที่สังฆราชสมเด็จพุฒาจารย์วัดมหาธาตุฯ
                                                    ้
        หนังสือเกียรติบัตรผูทำาคุณประโยชน์แด่วิทยาลัยศาสนศึกษา
                             ้
        มหาวิทยาลัยมหิดล จาก ร.ศ. ดร. พินิจ รัตนกุล ผู้อำานวยการ
        หนังสือเกียรติบัตร ผูอบรม นักโทษ กรมควบคุมความประพฤติ
                               ้
        กระทรวงยุติธรรม จากรองปลัดกระททรวงยุติธรรม
        อดีตครูสอนศีลธรรม ร.ร. วัดดอนตะเคียน ต. บางสะพาน อ. บางสะพาน น้อย จ. ประจวบคีรีขันธ์
        จดหมายถึง ศ. ศิวรักษ์ บรรณาธิการสังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เรื่อง Smoke control Act อังกฤษ (2512)
        เขียนเรื่องลอร์ดบุดดา นิตยสาร พ.ส.ล. พ.ศ..2525(งานวิจัยสังคมศาสนา)
        เขียนเรื่อง บ้านทุ่งไร่ละ6 ล้าน ในนิตยสารฟ้า นายอาจินต์ ปัญจพรรค์ 2520(งานวิจัยเชิงสังคม)
        เขียนเรื่องล้มลงและสลบไปในนิตยสาร มาเลเรีย 2520-2525(งานวิจัยสังคมชนบท)
สถานที่อ ยู่ : เลขที่ 52 แขวงบางยีเรือ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600
                                  ่
          โทร :02-465-08-66
          โทร: 08-944-319-20
e-mail address: martintrinity50@yahoo.com

More Related Content

What's hot

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
Pa'rig Prig
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
Pa'rig Prig
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
ppompuy pantham
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
Padvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
ThanaponSuwan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
Bom Anuchit
 

What's hot (20)

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 

Similar to งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2

งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2Martin Trinity
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
Martin Trinity
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาlinda471129101
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
Mum Mumum
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
freelance
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
Taraya Srivilas
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
Warinthorn Limpanakorn
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
Padvee Academy
 

Similar to งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2 (20)

งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
San
SanSan
San
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
ปรัชญาจำเป็นต่อศาสนศึกษาหรือไม่
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 

More from Satheinna Khetmanedaja

Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121
Satheinna Khetmanedaja
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
Satheinna Khetmanedaja
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 

More from Satheinna Khetmanedaja (6)

Communude
CommunudeCommunude
Communude
 
Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
Comunud eenglish collective
Comunud eenglish collectiveComunud eenglish collective
Comunud eenglish collective
 
อัลบั้มรูป
อัลบั้มรูปอัลบั้มรูป
อัลบั้มรูป
 

งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2

  • 1. อภิปรายผล ท่าทีการเปลี่ยนศาสนา ผู้บอกข้อมูลรายหนึ่ง(อ้างถึงอัลเบิร์ต ไอน์สไตน ซึ่งเป็นนักวิทยาศาสตร์ ในความเข้ากัน ได้ระหว่างคำาสอนในพระพุทธศาสนากับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์) เน้นว่า สำาหรับชาวพุทธนั้นเป็นพุทธศาสนิกก็ดีอยู่แล้ว เพราะพระพุทธศาสนาเป็น ศาสนาที่มีเหตุผล และให้เสรีภาพ การศึกษาและปฏิบัติตามหลักคำาสอน สามารถธำารงพระพุทธศาสนาต่อไปได้
  • 2. การศึก ษาวิเ คราะห์ท ่า ทีข อง พระพุท ธศาสนาเรื่อ งการ เปลีย นศาสนา ่ An Analytical Study of Buddhist Views on Religious Conversions พระมหามาติณ ถีน ิต ิ วิท ยานิพ นธ์น ี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของการศึก ษาตามหลัก สูต ร ปริญ ญาศิล ปศาสตรมหาบัณ ฑิต (สาขาศาสนาเปรีย บ เทีย บ) บัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลัย มหิด ล พุท ธศัก ราช 2553 ลิข สิท ธิ์ข องมหาวิท ยาลัย มหิด ล
  • 3. อภิปรายผล  การเปลี่ยนศาสนาเป็นสิงที่เป็นไปได้แต่ต้อง ่ ใช้เหตุผล ถ้าพิจารณาด้วยตนเองแล้วว่าดี ก็ เปลี่ยน เพราะพระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า “รักอื่น เสมอด้วยตนเองไม่มี” ดังนั้นอย่ายึดเอา ศาสนาเป็นยาเสพติด หรือตามๆมาแบบ “เถน ส่องบาตร” หรือเปลี่ยนไปเพราะกิเลส
  • 4. ABSTRACT AN ANALYTICAL STUDY OF BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS CONVERSIONS PHRAMAHAMARTI TRINITY 4937659 SHCR/M THESIS ADVISORS: PARICHART SUWANBUBBHA, Ph.D., SARINTHIP SATHIRASILAPIN, M.A., CHARNNARONG BOONNOON, Ph.D. ABSTRACT A.D. 2550 about the lack of change in terms of religion, ethics, unethical conversion occurs in Sri Lanka and other countries. The researcher is interested in an analytical study on the changing attitude of the Buddhist religion. Research indicates that the main Buddhist religious freedom of religion for people to use new formula . While focus on Nirvana Middle Way Noble Truths led to believe faith to convert Important respects, Buddhism is now being recognized as the Religion of Science. That is the teaching philosophy that is compatible with the primary science Found that the attitude of the Buddhist religion as such does not change the principle purpose of the guide or propagandize or coercion or bribery, or is the reward. Instead, one try and decide. To study group differences. To review the attitude of the modish conversion And lead to action and attitude can be placed in the modish modern paradigm to understand the problems of comparative religion in Thai society. Keywords: Buddhism Conversion 150 pages.
  • 5. บทคัด ย่อ การศึกษาวิเคราะห์ทาทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนศาสนา ่ (AN ANALYTICAL STUDY OF BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS CONVERSIONS ) พระมหามาติณ ถีนิติ 4937659 SHCR/M ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ : ปาริชาด สุวรรณบุบผา ,Ph.D.(Systematic Theology)., ศรินทิพย์ สถีรศิลปิน , อ.ม. (อักษรศาสตร์) ชาญณรงค์ บุญหนุน , อ.ด. (ปรัชญา) บทคัด ย่อ ปี พ.ศ. 2550 เรื่องการเปลี่ยนศาสนาในเชิงขาด จริยธรรมunethical conversion ) เกิดขึ้นในประเทศศรีลังกาและประเทศอืนๆ ผู้วิจยจึง ่ ั สนใจทีจะศึกษาวิเคราะห์เรื่องท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา จากการ ่ วิจัยพบว่าศาสนาพุทธใช้หลักเสรีภาพในการให้คนเข้านับถือศาสนาใช้วิธกาลามสูตร ี เน้นเหตุผลในเรื่อง นิพพาน ทางสายกลาง อริยสัจ มรรค นำาสูศรัทธาความเชือต่อการ ่ ่ เปลี่ยนศาสนา ประการสำาคัญศาสนาพุทธปัจจุบันได้ถูกยอมรับเป็นศาสนาแห่ง วิทยาศาสตร์ กล่าวคือมีหลักคำาสอนปรัชญาทีมความเข้ากันได้กับหลักวิทยาศาสตร์ ่ ี พบว่าในศาสนาพุทธมีทาทีการเปลี่ยนศาสนาดังนี้ เช่น ไม่ใช้หลักการประสงค์ตอผล ่ ่ ชวนเชื่อหรือชีนำาหรือกำาลังบีบบังคับหรือสินบนหรือให้สงตอบแทน แต่ให้เข้ามาทดล ้ ิ่ องและตัดสินใจเอง เพือศึกษากลุ่มทีแตกต่าง เพือทบทวนให้มความสมสมัยต่อท่าทีการ ่ ่ ่ ี เปลี่ยนศาสนา และนำาไปสูการปฏิบัตและวางท่าทีได้ถูกต้องสมสมัยในยุคกระบวนทัศน์ ิ ต่อปัญหาการเข้าใจศาสนาเปรียบเทียบในสังคมไทย คำา สำา คัญ : การเปลี่ย นศาสนาของพระพุท ธศาสนา 150 หน้า
  • 6. บทที่ 1 ปรากฏการณ์เรื่องการเปลี่ยนศาสนาที่เกิดขึ้น กล่าวได้ว่าเกิดขึ้นหลายลักษณะโดยสรุป ได้แก่ลักษณะการ เปลี่ยนศาสนาตามธรรมชาติหรือลักษณะพึงประสงค์    จากแรงจูงใจที่พบว่ามีลักษณะการชักนำาที่ไม่มจริยธรรมต่อ ี ศาสนา และมีผลต่อบรรทัดฐานของสังคม  สำาหรับในสังคมมนุษย์ ที่เนื่องด้วยการเปลี่ยนศาสนานั้นมีลักษณะหลาย อย่าง  เป็นการชักนำาที่น่าประหวั่นพรั่นพรึง     เรียกว่าการชักนำาให้เข้าศาสนาที่เป็นในเชิงบวก      กล่าวคือเปลี่ยนความ เชือไปสู่สถาบันศาสนาที่มีท่าทีที่เปิดกว้างเป็นหลัก    หรือเหตุที่การเปลี่ยนศาสนาเพราะความจำาเป็นของผูที่จะเปลี่ยนใน ่ ้ ทุก ๆ กรณี  เป็นต้น   รัฐบาลศรีลังกาได้พบว่าเกิดการเปลี่ยนศาสนาแบบการชักนำาลักษณะที่ผิดศีลธรรมและจรรยา     แต่ศาสนา พุทธเป็นศาสนาแห่งเสรีภาพ โดยให้โอกาสมนุษย์เลือกได้ปฏิบัติได้   ศาสนานี้จึงถูกเรียกว่าเป็นศาสนาที่มีมโนทัศน์ ปล่อยวาง    ชืออุบาลีมาขอเปลี่ยนศาสนาเป็นชาวพุทธ ่ วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย เพือศึกษาหลักคำาสอนและทรรศนะของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน ่ การวิจัยภาคสนาม  ได้แก่การรวบรวมข้อมูลโดยการใช้คำาถามสัมภาษณ์ ขอบเขตของการวิจ ัย รวมทั้งศึกษาทรรศนะเรื่องการเปลี่ยนศาสนาของนักวิชาการพระพุทธศาสนา ได้ทราบแนวทางการศึกษาวิเคราะห์พระพุทธศาสนาและการเปลี่ยน กรณีการเปลี่ยนศาสนาและจริยธรรมการเปลี่ยน (งานวิจัยนี้ไม่เน้นการเปลี่ยนศาสนาของเผ่าชน)   การเปลี่ยนศาสนาในประวัติศาสตร์    การเปลี่ยนศาสนาในมุมมองของวิทยาศาสตร์  การเปลี่ยนศาสนาแบบมีจริยธรรม ( Ethical Conversion) ลักษณะการเปลี่ยนศาสนาโดยวิธีเฉียบพลัน  ลักษณะการเปลี่ยนศาสนาโดยไม่มีสติ ลักษณะการเปลี่ยนศาสนามิใช่ด้วยระบบพวก   ลักษณะการเปลี่ยนศาสนายังคงเป็นสิงลึกกลับ ่ Unethical Conversions หมายถึง  การชักจูงให้ผอื่นเปลี่ยนศาสนาโดยขาดจริยธรรม ู้ Conversion : James Hasting and Strachen หมายถึง การเปลี่ยนศาสนา (Converted) มีความหมายว่า   “การเปลี่ยน ศาสนาจากศาสนาหนึ่งไปสูศาสนาหนึ่ง” ่
  • 7. เปลีย นศาสนา และ ่ ประวัต ิศ าสตร์ก ารเปลีย น ่ ศาสนายุค พุท ธกาล   ทรรศนะเรื่อ งการเปลี่ย นศาสนา และประวัต ิศ าสตร์ก ารเปลี่ย นศาสนา ยุค พุท ธกาล  “การเปลี่ย นศาสนา” ความหมายการเปลี่ย นศาสนาโดยนัก วิช าการศาสนาตะวัน ออก ความ หมายการเปลี่ย นศาสนาโดยนัก วิช าการศาสนาตะวัน ตก กรณีการเปลียนศาสนาและจริยธรรมการเปลี่ยน  2.) ่ ) การเปลี่ยนศาสนาในมุม มองของวิทยาศาสตร์  พบว่าตามเอกสารชิ้นนี้สรุปว่า  จริยธรรมการเปลี่ยน ศาสนานั้นเป็นเรื่องหนึ่งของเหตุการณ์ทางศีลธรรม    และคำานี้ไม่ผูกขาดใน ศาสนาใดศาสนาหนึ่ง การเปลี่ย นศาสนาตามทรรศนะศาสนาคริส ต์ ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาเทวนิยมมีศาสนิกมาก การเปลี่ย นศาสนาตาม ทรรศนะศาสนาอิส ลาม ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาเทวนิยม มีประชากร ศาสนาเป็นอันดับที่ 2 ของโลก มีเรื่องศรัทธาพระเจ้าเป็นสำาคัญ มี บทบัญญัติไว้ชดเจน ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องการเมืองการปกครอง ั ในประเทศศาสนาอิสลาม  และศาสนาให้เสรีภาพที่จะเปลี่ยนมารับหรือจะออก ไปของศาสนาไว้ในพระคัมภีร์  ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งการเมืองการ ปกครอง  การสมรสระหว่างศาสนาคงให้นับถือศาสนาเดิมแบบมีเงื่อนไข บ้างได้ แต่ในทางปฏิบัติเรื่องนี้ไม่ชัดเจนแต่ละนิกายต่างกัน  "การ เปลี่ยนศาสนาของมุสลิมคนหนึ่งนั้น ควรจำากัดให้เป็นโทษแบบตะอฺซร (คือ อยู่ ี
  • 8. บทที่ 2 ต่อ การเปลี่ย นศาสนาสมัย พุท ธกาลและประวัต ิพ ระพุท ธเจ้า          ยุท ธวิธ ีก ารเปลี่ย นศาสนาของพระพุท ธเจ้า การเปลี่ย น ศาสนาที่เ ปลี่ย นโดยพระพุท ธเจ้า   ข้อสังเกต ในวรรณกรรมทีการวิจัยในหัวข้อนี้ได้วิจัยพบ ่ ด้วยท่าทีการเปลี่ยนศาสนา  โดยบุคคลที่ถูกเปลี่ยนศาสนาที่มีสาเหตุจากหลักการ ่ ดังกล่าว หลัก เมตตา ( Agape) ของพระพุท ธเจ้า และสาวกนำา สู่ก ารเปลี่ย น ศาสนา     กล่าวคือคติในศาสนาพุทธมีว่า ถ้ามีคนจะประหารท่าน เป็นต้น  ไม่เน้นการชักคนเข้าศาสนา  ในการเปลี่ยนแปลงศาสนาพุทธ   การ เปลี่ย นศาสนาสมัย หลัง พุท ธกาล   ที่ต่างกันคือ 300 ต่อมา มีความสำาคัญใน พุทธศาสนามา   ทีเป็นทีนิยมในปัจจุบันเป็นต้น เป็นต้น การเปลี่ย นศาสนาสมัย กษัต ริย ์ ่ ่ อิส ลามปกครองอิน เดีย ท่า ทีก ารเปลี่ย นศาสนาต่อ หลัก อนหิง สกธรรม องค์ป ระกอบของประชากรและผลกระทบจากการเปลี่ย นศาสนา    ศาสนา   การทีคนมีรายได้ไม่เพียงพอ  ่ ผลทางการเมือ งกับ การ เปลี่ย นศาสนา    จะเกิดขึ้นทั้งโดยตรงและโดยอ้อม ในลักษณะที่ มีเรื่อง การเปลี่ยนศาสนารวมอยู่ด้วย ผลทางวัฒ นธรรมกับ การเปลี่ย นศาสนา      ผลทางเศรษฐกิจ กับ การเปลี่ย นศาสนา   เรือง หลักคำาสอนสำาคัญในพระพุทธศาสนาและการตีความทีเกี่ยวข้องกับการ ่ ่
  • 9. บทที่ 2 (ต่อ) การเปลี่ย นศาสนาสมัย พุท ธกาลและประวัต ิพ ระพุท ธเจ้า                ยุท ธวิธ ีก ารเปลี่ย นศาสนาของพระพุท ธเจ้า    การเปลี่ย นศาสนาที่เ ปลี่ย นโดยพระพุท ธเจ้า   ข้อสังเกต ในวรรณกรรมที่การวิจยในหัวข้อนี้ได้วิจยพบ ั ั ด้วยท่าที่การเปลี่ยนศาสนา  โดยบุคคลที่ถูกเปลี่ยนศาสนาที่มีสาเหตุ จากหลักการดังกล่าว หลัก เมตตา ( Agape) ของพระพุท ธเจ้า และสาวกนำา สู่ก ารเปลี่ย นศาสนา      กล่าวคือคติในศาสนาพุทธมีว่า ถ้ามีคนจะประหารท่าน เป็นต้น  ไม่เน้นการชักคนเข้าศาสนา  ในการเปลี่ยนแปลงศาสนาพุทธ   การเปลี่ย นศาสนาสมัย หลัง พุท ธกาล   ที่ตางกันคือ 300 ต่อมา มีความสำาคัญในพุทธศาสนามา ่   ที่เป็นที่นยมในปัจจุบนเป็นต้น ิ ั  เป็นต้น      การเปลี่ย นศาสนาสมัย กษัต ริย ์อ ิส ลามปกครองอิน เดีย ท่า ทีก ารเปลี่ย นศาสนาต่อ หลัก อนหิง สกธรรม องค์ป ระกอบของประชากรและผลกระทบจากการเปลี่ย นศาสนา    ศาสนา    การทีคนมีรายได้ไม่เพียงพอ  ่ ผลทางการเมือ งกับ การเปลี่ย นศาสนา    จะเกิดขึ้นทังโดยตรงและโดยอ้อม ้ ในลักษณะที่ มีเรื่องการเปลียนศาสนารวมอยูด้วย ่ ่     ผลทางวัฒ นธรรมกับ การเปลีย นศาสนา ่        ผลทางเศรษฐกิจ กับ การเปลี่ย นศาสนา เรื่อง หลักคำาสอนสำาคัญในพระพุทธศาสนาและการตีความที่เกียวข้องกับการเปลียนศาสนา ต่อไป ่ ่
  • 10. บทที่ 3 หลัก คำา สอนสำา คัญ ใน พระพุท ธศาสนาและการตีค วามที่ เกี่ย วข้อ งกับ การเปลี่ย นศาสนา 3.1 คำา นิย ามและหลัก คำา สอนและการตีค วามของพระพุท ธศาสนา 3.1.1 ลัก ษณะการเปลีย นแนวคิด ในศาสนาพุท ธ ่ conversionที่วิทยานิพนธ์นกล่าวครอบคลุมถึงท่าทีการเปลี่ยนศาสนาในพระพุทธศาสนานีด้วย การเปลียนศาสนาคือ ี้ ้ ่ การเปลี่ยนวัฒนธรรมตามมาหรือก่อนการเปลี่ยนศาสนา ตามแนวคิดวัฒนธรรมสังคมมนุษย์อย่างหลีกไม่พ้นตาม ที่นกวิชาการเรื่องการเปลียนวัฒนธรรมกล่าวไว้ (Malinowski : 1958) แนวคิดการเปลียนศาสนา มีผลปรากฏให้ ั ่ ่ คนเปลี่ยนศาสนามานับถือพระพุทธศาสนาแบบมีจริยธรรมได้ และการทำาให้ความคิดของตน มีความเข้ากันได้ กับความเห็นอืนที่จะกล่าวในบทนี้ ่ ส่วนอีกประเด็นสำาคัญที่คล้ายกันอีกสิงหนึงคือความเห็น ่ ่ คือทัศนะที่มตอ ี ่ การเปลี่ยนศาสนาหรือภาษาอังกฤษเรียกว่า attitude จะกล่าวในบทที่ 4 สำาหรับสถานการณ์ทั่วไปเรืองศาสนา ่ เอง แนวคิดในการเปลียนศาสนาของพระพุทธศาสนามี 2 แนวคือ แนวการเปลียนศาสนาเชิงกายภาพ ่ ่ พระพุทธศาสนา(เปลียนเพราะซาบซึ้งในพระธรรมคำาสอน พุทธจริยาเป็นต้น)และแนวการเปลียนศาสนาเชิง ่ ่ มโนภาพพระพุทธศาสนา(การเปลียนศาสนามาด้วยสาเหตุที่ตรงกันข้ามกับกายภาพเช่น แฟชั่น ตามเขามา ่ เป็นต้น) และประเภทการเปลี่ยนศาสนามี 2 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 ประเภทที่เปลี่ยนมาจากศาสนาอืน ่ ประเภทที่ 2 ประเภททีเป็นคนพระพุทธศาสนาอยู่แล้ว แต่แอบแฝงตามเขามา อาจเป็นอืนได้ทหล่อแหลมต่อ ่ ่ ี่ unethical converse แล้วยังยืนยันหรือมีความว่างเปล่า เชิงพระพุทธศาสนาแล้วกลับมายึดถือศาสนาพุทธอย่าง สมบูรณ์ เพราะการเข้าใจพระพุทธศาสนาดีขนในอีกระดับหนึง ึ้ ่ สรุปแล้วตีความการเข้ามาเปลี่ยนศาสนาในแนวคิดนีได้เป็นสองพวก้ ให้เห็น 2.) และความเลือมใสมาก่อนสัจธรรมในการเปลียนศาสนา ่ ่ 3 ในอินเดีย ใน พ. ศ. 3.2 แนวคิด คำา สอนกฎแห่ง กรรมและการเปลีย นศาสนา ่ 3.2.1 แนวคิด เรือ งกรรมและการเปลี่ย นศาสนา การเปลียนศาสนาแบบรับหน้าที่ทางศาสนา ่ ่ การ เปลียนศาสนาเพียงรูปแบบ การเปลียนศาสนาเพราะสมรส ่ ่ การเปลียนศาสนาเพราะหลงผิด การเปลียน ่ ่ ศาสนาตามประเพณี การเปลียนศาสนาตามวัฒนธรรม ่ 3.3 หลัก กาลามสูต รและการเปลีย นศาสนา ่   จึงเป็นสิ่งที่เชื่อในหลักกาลามสูตร ในการตัดสินใจเปลียนศาสนา และอนึงกระบวนการทางพุทธไม่ซบซ้อน 4 การ ่ ่ ั วิเคราะห์ความรู้ความเข้าใจของชาวพุทธเกี่ยวกับการเปลียนศาสนา ต่อไป ่
  • 11. บทที่ 4 การเปลีย นศาสนาตาม ่ ทรรศนะ และบุค คลทัว ไป ่  การเปลี่ย นศาสนาตามทรรศนะ และบุค คลทั่ว ไป  2 กรณีคือ เปลี่ยนจากศาสนาอื่นมาเป็นศาสนาพุทธ และเปลี่ยนจาก ศาสนาพุทธไปเป็นศาสนาอื่น 4.1.1 ทรรศนะเรื่อ งการเปลี่ย น ศาสนา  1. หลักที่มีลักษณะเป็นการให้ความแจ่มแจ้งเกียวกับความเป็นจริงของ ่ ชีวิต เป็นสิ่งสำาคัญสูงสุด  4.2 ทรรศนะในการสอนและวิธ ีก ารสอนต่อ การเปลี่ย นศาสนา  4.2.1 กัล ยาณมิต รต่อ การเปลี่ย นศาสนา 4.3 ปรัช ญาของสัง คม ยุค ปัจ จุบ ัน ในเชิง เทววิท ยาพุท ธและการเปลี่ย นศาสนา  4.3.1 บุค คลทั่ว ไปและการเปลี่ย นศาสนา 4.4 การ ศึก ษาตีค วามคำา ศัพ ท์ใ นศาสนาในหลัก การเผยแพร่พ ระพุท ธ ศาสนาโดยสรุป ต่อ การเปลีย นศาสนา ่  การทำาบาป การทำาบุญ การได้ไปสวรรค์ การตกนรก การทำาดี การไม่กระทำาชั่ว เป็นสิ่งที่ต้องตีความ 4.4.1 ทรรศนะการเผยแผ่ต ่อ การเปลี่ย นศาสนา  2 ลักษณะคือ ลักษณะการสอนทั่วไป และ 2 ลักษณะสอนธรรมที่มีขอโต้้ แย้ง มีรายละเอียดดังนี้นี้คือ
  • 12. บทที่ 5 สรุป  บทที่ 5  สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ – สรุป   จากการวิจยพบข้อสรุปดังต่อไปนี้ ศาสนาพุทธมีการเปลียนศาสนาชนิดจริยธรรมอย่างเดียว และไม่มุ่งให้คนเข้าศาสนาอย่างชนิดอจริยธรรม ดั่งที่ประเทศศรีลังกา ั ่ ประสบปัญหาอยู่ ท่าทีศาสนาพุทธเปิดกว้างให้เวลาคิดตัดสินใจ ไม่มีชนชั้นวรรณะ ไม่เลือกกาลเวลา วัย เข้ามาได้ทุกเมื่อใครก็ได้ ไม่คัดเลือก ไม่มีคติ แม้คนพิการ คนใกล้ จะตาย คนกำาลังประสบภัยร้ายแรงเช่นภัยซูนามิ ( tsunami ) ที่จงหวัดภูเก็ต ก็เข้ามาเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธได้ นอกเหนือจากวิธีตรรกวิทยา และพระพุทธศาสนามีท่าทีที่ ั เป็นกัลยาณมิตรต่อการเปลียนศาสนา ในการนำาคนเข้าศาสนา การวิจยครั้งนี้เท่ากับการสังคายนาความคิด จุดยืนของผู้นับถือพระพุทธศาสนาในประเทศไทย และผู้นับถือ ่ ั พระพุทธศาสนา  ตัวอย่างแม่แบบในการนำาคนเข้าศาสนา เช่น กรณีพระอุบาลี ศาสนาเชน มาอ้อนวอนพระพุทธเจ้าเข้าศาสนาแต่ท่านต้องกระทำาถึง 3 ครั้ง กว่าการเข้าศาสนา พุทธได้สำาเร็จ ไม่มีการให้หรือรับให้สินบน พระพุทธศาสนามีหลักศีลธรรมอย่างเคร่งครัด แม้มีระเบียบตั้งไว้แล้วจะผ่อนผันให้ ยังไม่ทำาเช่นกรณีคนจะบวชในเรื่องพระมหา กัจจานะ ศาสนาพุทธให้เสรีภาพกับคนนับถือศาสนา จะบวชจะสึก เมื่อนับถือแล้วไม่ชอบออกไปจากศาสนาพุทธ ไม่บังคับคู่สมรสหรือบุตร มานับถือศาสนาตามตนองที่ นับถือพระพุทธศาสนาอยู่ ให้มีเสรีภาพ ( freedom of choice ) เคยมีตอนที่สามเณรราหุล(ฟ้าชายราหุล) ลูกพระพุทธเจ้าต้องการสมบัติตามคำาแนะนำาของแม่ พระพุทธเจ้าพา ไปวัดฟังธรรม ลูกเปลียนใจมานับถือพระพุทธศาสนา เพราะพระพุทธศาสนาให้นิพพานสมบัติแทนรับรัชทายาท กรณีอย่างนี้ไม่ชื่อว่าสินบน ไม่มีเจตนา ไม่มีสิ่งต่างตอบแทน ่ เป็นมูลค่าชีวิต ( wage value ) เพราะมีจริยธรรมแบบ Kant ในนิยามนี้ unethical conversion หมายถึงฝ่ายดีอย่างเดียว ( moral absolute ) ตามที่ Kant กล่าวว่าจริยธรรม ดังกล่าวเป็นความดีสากล มีสัญชาน ( percept ) เป็นองค์ประกอบ หรือเป็นคุณธรรมฝ่ายดีอย่างเดียว แต่คุณธรรมดังกล่าวเป็นเพียงอย่างหนึ่งตามคติพระพุทธศาสนา[1] เท่านั้น  ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาพุทธของพระพุทธศาสนาสามารถแบ่งได้และมีการเปลียน 2 วิธี คือ ่  ก.) แบบเข้าใจทันทีแบบ ( hasty understandings’ converted ) คือเข้าใจในศาสนาและหลักคำาสอนและพ้นทุกข์ทันที เมื่อฟังคำาสอนและนิพพานทันทีในชาติที่ได้พบพระพุทธ ศาสนา  ข.) แบบไม่เข้าใจทันที ( non- hasty understandings converted ) เข้าใจคำาสอนในศาสนาพอสมควรและพ้นทุกข์ ในโอกาสต่อมาใน ชาตินั้นหรือชาติต่อไป กล่าวคือพบว่า การเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธมีหลักการแน่นอน ตั้งอยู่บนพื้นฐานมีจริยธรรมในการชักจูงแนะนำาให้คนมานับถือศาสนา  จึงได้ข้อสรุปในระดับหนึ่งว่า ท่าทีที่พบในพระพุทธศาสนา ทั้งอดีตปัจจุบัน พระพุทธศาสนา มิได้มีการแผ่ศาสนาแบบไม่มีจริยธรรมชนิด unethical converse เลย ถ้ามีเป็นสัทธรรมปฏิรูปหรือนอกรีต ( pagan ) สอนผิด ใช้หลักคำาสอนผิด สำาหรับวรรณกรรมและภาควิจัยสนาม ที่ศึกษาวิเคราะห์แล้ว พบว่าหลักการ เปลียนพระพุทธศาสนามี 2 ระดับคือ ่  ระดับรากหญ้า  ระดับพระคัมภีร์  ในระดับรากหญ้าใช้ฐานข้อมูลจาก วัดมหาธาตุยวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร ุ ส่วนระดับพระคัมภีร์ พระพุทธศาสนาที่ศึกษาจากวรรณกรรม ในการอ้างอิง พบว่า สิงสำาคัญในศาสนาพุทธเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม คนที่ได้เกิดมาพบพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้มีกรรมดี มี “บุญ” มาก่อน พระพุทธองค์ตรัสว่า พบพระพุทธะเจ้า พบพระ ่ ธรรม พบพระสงฆ์ บรรลุอรหันต์นั้นเป็นของยาก จากพระธรรมบท สำาหรับในการเปลี่ยนศาสนานั้นสามารถแยกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ  1.) ประเภทใช้หลัก คำาสอนแม่บทการศึกษาวรรณกรรมคือ อริยสัจ อริยมรรค มัชฌิมาปฏิปทา นิพพาน  2.) ประเภทรากหญ้า grass root จากการวิจยได้คำาตอบ คือเพราะศรัทธา เลือมใส วาทกรรม พระนาคเสนและพระยามิลนทร์ คำาสอน เข้าใจง่าย พิสูจน์ได้ เป็น ั ่ ิ วิทยาศาสตร์ มีเหตุผล เถนส่องบาตร แฟชั่น เสพติด มีกัลยาณมิตร  3.) ประเภทเปลี่ยนมาเป็นพระพุทธศาสนาตามหลักมนุษยนิยม (humanism) และวิทยาศาสตร์ ( scientism ) ไม่ยอมรับคำาสอนแต่รับแบบ ( agnostic Buddhism ) กล่าวคืออยู่ ระหว่างความเชื่อในลัทธิครู 6[2] และลัทธิการเมืองแบบ ( neo-religion[3]) กล่าวคือ กลุ่มนี้ไม่คิดว่าการเข้าร่วมกับศาสนาใด จะสนองความต้องการทางกายและใจของตนได้ เช่นบูชาแรงงานแทนสิ่งใดว่าแรงงานสิ่งนั้นดีที่สดแรงงานคือพระเจ้า แต่เชื่อว่านิพพานมีอยู่ ุ ทำาตามหน้าที่พลเมืองดี ( Civics ) ที่เกิดให้ความคุ้มครองชีวิตปากท้องตนเองดี ที่สุด เรื่องศาสนารัฐ และสังคม เมื่อเสียภาษีตามกฎหมายสิงที่กล่าวมาไม่ใช่สงสำาคัญ ่ ิ่ บางครั้งเหมือนการปล่อยวางและสันโดษตามแนวพระพุทธศาสนาพุทธ แต่ทว่าตาม แนวพระพุทธศาสนา ต้องเข้าถึงพระรัตนตรัยด้วยจึงถือว่า ปล่อยวางสันโดษ ตามแนวพระพุทธศาสนาได้   การที่คนเข้าศาสนาพุทธโดยไม่ใช้หลักกาลามสูตรพิจารณาก่อน อาจจะผิดหวัง และถือเป็นมีศาสนาแบบ ( naïve- self unethical conversion ) ได้ อาจจะ สงเคราะห์เข้าเป็น ( unethically ) โดยอาการ ตามการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีการเปลียนศาสนา ของพระพุทธศาสนาได้เช่นกัน ซึ่งอาจจะเป็นอันตรายต่อประชากรศาสนา ่ เพราะเป็นการเกิดขึนของการเป็นคนไม่มีศาสนาแบบแอบแฝง ( latent religious well wisher ) รวมทั้งคนมีศาสนาแต่ทะเบียนราษฎร์ ้ แต่ตนเองไม่รู้ว่าสิ่งตนนับถือคืออะไร  
  • 13. ภาคผนวก ก คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕/๒๕ ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐๒-๘๐๐-๒๘๔๐-๗๘ ต่อ ๑๐๑๔ โทรสาร ๐๒-๔๔๑-๙๗๓๘ ที่ ศธ ๐๕๑๗.๑๒/๕๕๖๕ วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๒ เรื่อง ขอความอนุเคราะห์เก็บข้อมูล เรียน เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ด้วย พระมหามาติณ ถีนิติ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กำาลังทำาวิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์ ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา” โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาด สุวรรณบุบผา เป็น อาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ ในการนี้ นักศึกษามีความประสงค์ใคร่ขอความอนุเคราะห์เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและ สัมภาษณ์เจ้าคณะทุกคณะในวัดมหาธาตุฯ ช่วงเวลาที่ขอเข้าทำาการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม- กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เพื่อนำาข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบในการทำาวิทยานิพนธ์ดังกล่าว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์ในการดังกล่าวด้วย จักขอบคุณยิ่ง ขอแสดงความนับถือ รับรองสำาเนาถูกต้อง (รองศาสตราจารย์ ดร. สมบูรณ์ ศิริสรร หิรัญ) รองคณบดีฝ่ายบริหาร อนุมัติแล้ว 24 กพ 53 ลงชื่อแล้ว 24มค 53 พระธรรมสุธร์ อธิบดีสงฆ์ วัดมหาธาตุ กทม ฯ ี ปฏิบัติหน้าที่แทนคณบดีคณะ สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์
  • 14. ภาคผนวก ข แนวคำา ถามสัม ภาษณ์ 1. อยากทราบประสบการณ์ของท่านเกี่ยวกับความ รู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา เรื่องการเปลี่ยนศาสนา ครั้งพุทธกาลในประเด็นต่างๆ เช่น - บุคคลใดบ้างที่เปลี่ยนเข้านับถือพระพุทธศาสนา และเปลี่ยนเมื่อใด - สาเหตุและวิธีการ - อื่นๆ 2. เหตุใด/สาเหตุที่บุคคลทั่วไปหรือตัวท่านเองเปลี่ยนศาสนา 3. ท่านเอง หรือญาติของท่าน หรือคนรู้จักใกล้ชดเคยเปลี่ยนศาสนาหรือไม่ ิ เปลี่ยน โปรดให้เหตุผล.................................................................................................. ไม่เปลี่ยน โปรดให้เหตุผล.................................................................................................. 4. ท่านคิดว่าอะไรคือ แนวคิดและท่าทีเรื่องการเปลี่ยนศาสนาที่ถูกต้องเหมาะสมที่สุด 5. คนเปลี่ย นศาสนาคือ ใคร โปรดอธิบาย หรือให้นิยาม 6. คนบางคนเปลี่ยนศาสนาเพราะหวังผลตอบแทนบางอย่างเช่น ทุนการศึกษา เงิน ท่านเห็นด้วยหรือไม่เพราะเหตุ ใด 7. ท่านคิดว่า คนเราควรเปลี่ยนศาสนาหรือไม่ เพราะเหตุใด 8. ท่านคิดว่า ในยุคปัจจุบัน การเปลี่ยนศาสนาก่อให้เกิดปัญหาใดหรือไม่ ถ้ามีโปรดยกตัวอย่าง และอธิบาย เหตุผล 9. ศาสนาของท่านบังคับการนับถือศาสนาของคู่สมรสหรือไม่ 10. เป็นไปได้หรือไม่ที่คนๆ หนึ่งจะไม่นับถือศาสนาอะไรเลย เพราะเหตุใด 11. ท่านให้ความหมายคำาว่า “คนไม่มีศาสนา” อย่างไร 12. โปรดให้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติม
  • 15. ภาคผนวก ค ตารางอภิป รายผลการสัม ภาษณ์ อภิปรายผล การสัมภาษณ์ จากวันที่ ๑ มกราคม 2553 - 28 กุมภาพันธ์ 2553 มีแบบคำาถาม 12 ข้อ จา ก ผู้ตอบ รวม 26 รายการ ดังมีจำานวนข้อที่มผู้ตอบและผูไม่ตอบ ดังต่อไปนี้ ี ้ ข้อที่ 1 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 2 ตอบ 20 ราย ไม่ตอบ 6 ราย ข้อที่ 3 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 4 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 5 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 6 ตอบ 24 ราย ไม่ตอบ 2 ราย ข้อที่ 7 ตอบ 25 ราย ไม่ตอบ 1 ราย ข้อที่ 8 ตอบ 24 ราย ไม่ตอบ 2 ราย ข้อที่ 9 ตอบ 25 ราย ไม่ตอบ 1 ราย ข้อที่ 10 ตอบ 25 ราย ไม่ตอบ 1 ราย ข้อที่ 11 ตอบ 23 ราย ไม่ตอบ 3 ราย ข้อที่ 12 ตอบ 24 ราย ไม่ตอบ 2 ราย รวม 12 ข้อ ตอบจำานวน 278 รายการ ไม่ตอบ รวม 34 รายการ
  • 16. บทที่5 สรุป ต่อ  ควรมีการส่งเสริมให้มีการวิจยอย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพอยู่แล้วให้คงทนถาวรต่อไป ด้วยวิธีการตรวจสอบในเชิง ั ปฏิบตการทุกระยะ ในแนวทางการศึกษาวิจยทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ( Qualitative and Quantitative research ) ที่เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา ั ิ ั • ข้อ เสน อแนะเชิง นโยบาย  1.) เพิ่มทักษะการเรียนรู้ทางศาสนาชนิดเชิงลึกเช่น การเรียนรู้พระไตรปิฎก  2.) เรียนรู้ประวัตศาสนาศาสนาพระพุทธศาสนามีแบบเรียบนอย่าง ิ ละเอียดลอออ่านเพิ่ม เติม 4.1.2  3. ) เพิ่มสิทธิหน้าที่ ค่านิยมชาวพุทธให้มั่นคงขึ้น  4.) ให้การเรียนรู้ในระดับรากหญ้าเข้าใจพระพุทธศาสนามากกว่ารู้โดยอาศัย พระ หรือนักปราชญ์ เช่นที่นักศึกษาพระ ศาสนารู้เข้าใจพระศาสนา  5.) ส่งเสริมการเรียนรู้ในพระพุทธศาสนาชนิดต่อเนืองตลอดชีวิตแบบครบ ่ วงจร  6.) ส่งให้ชาวพุทธไทยใช้หลัก (Buddhism work ethics) เป็นแนวเดียวกัน  7.) ใช้หลักคำาสอนนำาปรัชญา มิใช่หลักปรัชญานำาคำาสอน  8.) ใช้คำาสอนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตและการงานอย่างไม่มีขอบเขต เช่น ประเทศ ญีปนใช้ได้ผล ่ ุ่ มาแล้วโดยไม่องชีวิตศาสนาก็ได้ ิ  9.) เพิ่มห้องสมุดสำาหรับพระพุทธศาสนาทุกแห่งทั่วประเทศในระดับหมูบาน ่ ้   5.3.2 ข้อ เสนอแนะเพื่อ การศึก ษาวิจ ัย ครั้ง ต่อ ไป   ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาวิจยครั้งต่อไป ั เห็นควรเสนอแนะให้ทำาการวิจยเชื่อมโยงเพื่อหาข้อยุตเพิ่มเติม ั ิ ในการพัฒนาองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ ผ่านระบบการศึกษาและระบบอื่น อย่างทุกขั้นตอนทุกระยะ เพื่อหาค่าความแตกต่างจากกลุมที่ ่ แปลกออกไป หาข้อบกพร่องดูมแนวความคิดตรงกัน ในเรื่องคำาสอนและความเข้าใจ มิใช่นับถือศาสนาเพราะเพียงเพื่อพัฒนาศักยภาพ ใน ี สมาชิกสังคมคือ ดีก ว่า ตัว ผึง แต่ม ิใ ช่เ ป็น ตัว ต่อ ้ การพัฒนาศาสนาและสังคม ในทุกศาสนาที่เรียกว่าการเรียนรู้เรื่องศาสนาเปรียบเทียบ ชนิด ( unbiased ) กล่าวคือ ให้ทุกคนมีความตระหนักแน่ ในสิ่งทีตนเป็นและตนทำา ่ ที่ปราศจากมานะและอัตตาใน Buddhism working ethics โดยสิ้นเชิงตลอดเวลาของการวิจัย และการทำางานเพื่อศึกษาติดตามแนวโน้มเรื่องการเปลียนศาสนาชนิดขาดจริยธรรม ที่ไม่น่าพึง ่ ประสงค์ ( undesirable and unethical ) เพราะศาสนาคือความรักความศรัทธาและความเชื่อมิใช่การเมือง  [1] ในศาสนาพุทธกล่าว่า คุณธรรมที 2 คือกุศล และอกุศลกล่าวไว้ในพระธรรมบท ภาค 1 เพราะนั้นในพุทธเมือกล่าวถึงคุณธรรมต้องแยกก่อน ่ แต่ว่าในปรัชญาตะวันตกคุณธรรมคือความดีเท่านั้น  [2] ก.)ปูรณกัสสปะ บุญบาปไม่มีจริง( อกิริยทิฐิ) ข.) มักขลิโคสาละ ไม่มเหตุอะไร (อเหตุกทิฐ) ค.)อชิตเกสกัมพล เห็นว่าบาปบุญไม่มี (นัตถิกทิฐิ- ี อุจเฉททิฐิ) ง.) ปกุธกัจจายนะ สรรพสิ่งเป็นนิรันดร์ (สัสตทิฐิ ) จ.)นิครนถ์นาฏบุตรลัทธิทรมานตน (อเนกันตวาท) ความจริงมีหลายแง่) ฉ.) สัญ ชัยมีความเห็นลื่นไหล เอาแน่อะไรไม่ได้ (อมราวิกเขปิกาทิฐ) ิ  [3] ศาสนาใหม่คออะไรก็ได้ที่คนนิยมมีกลุมทำาตามแต่ไม่ครบองค์การศาสนาของยูเอ็น Violet Linderbeck ื ่
  • 17. บทที่5 สรุป ต่อ  ผลของข้อมูลที่สำาคัญเรื่อง ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาคือมีคำาตอบที่เด่นที่สุดมี 7  ประเด็นคือ ศาสนาพุทธให้เสรีภาพ การศึกษาทำาให้คนในศาสนาเจริญและก้าวหน้าทางสมอง และเหตุผลในการมีชวิตอยู่ใน ี สังคมมากกว่านี้ได้ วาทะกรรมในเรื่องพระยามิลินทปัญหา หากมีคนนอกรีต คือคนไม่มีศาสนาเกิดขึ้นเป็นภัยต่อประเทศชาติ ความยากจน ศาสนาไหนก็เหมือนกัน ถ้าบังคับให้เปลี่ยนศาสนามีเรื่องแนวคิดการเปลี่ยนศาสนา รวม 7 ประเด็นนี้ที่ สำาคัญมากตามวิจัยจากประชากรตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้   สิ่งที่ค้นพบในการศึกษามีสาเหตุที่ต้องปรับคือ การศึกษาสำาคัญที่สดเพื่อพัฒนาความเข้าใจในศาสนา มิให้เห็นวัตถุ ุ เป็นนามธรรมในพระพุทธศาสนา เช่นการมีแนวคิดแบบพระพุทธพาณิชย์อันเป็นเรื่องดาบสองคมเป็นต้นซึงยอมรับว่าดีงาม แต่จะ ่ ต้องสำารวจตนเองเสมอว่ามุมมองของตนเองนั้นไกล จากหลักคำาสอนเดิมของพระพุทธศาสนาหรือไม่ ถ้าสงสัยตนเองควร สำารวจจุดยืนของตนเองก่อน จนกว่าพบแล้ว ถ้าไม่พบหรือสงสัยกลับไปทบทวนตนเองเสียใหม่ เพื่อให้เป้าหมายสุดท้ายใน พระพุทธศาสนา ต่อการนับถือศาสนานั้นได้สมฤทธิผล กว่าสิงที่ตนเองทำาอยู่นั้นได้ ั ่ ใช้ทางสายกลางแนวพระพุทธศาสนา หรือไม่ หรือโดยใช้มรรค ใช้อริยสัจ เป็นเครื่องมือ ( machine tool ) เข้าเกี่ยวข้องกับการกระทำาของตนเอง ต่อ พระพุทธศาสนาดูว่าได้มากกว่า 50% หรือไม่ ถ้าสำารวจแล้วเกินดี ถ้าสำารวจแล้วตำ่ากว่าควรปรับปรุงตนเอง ต่อคติ ความเชือในศาสนาพุทธเพิ่มขึ้น มิฉะนั้นความเห็นผิดจะครอบงำาตนเองได้ โดยการศึกษาและปฏิบัติตามพระดำารัสและหลักคำา ่ สอน ของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด จึงจะถูกต้อและเหมาะสม ทั้งนี้เพือ มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัติ ่ ในโอกาสต่อไป  1. ควรมีการศึกษาเรืองพระพุทธศาสนา กับปัญหาการเปลี่ยนศาสนา ในลักษณะปฏิบัติการ หรือทบทวนบทบาทของผูนับถือ ่ ้ พระพุทธศาสนา อย่าได้หลงผิดในคำาสอนที่ปฏิบัติกันอยู่  ควรให้คำาแนะนำาส่งเสริมให้ ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธอยู่แล้ว ไต้ตระหนักถึงคุณค่าของ  ตัวศาสนาทีตนเองสังกัดอยู่ ที่จะสามารถนำาไปรองรับในการพัฒนาตนเองและสังเคราะห์เข้ากับชีวิตได้อย่างกลมกลืน แลได้ ่ คุณภาพชีวิตศาสนาที่ดี และสามารถนำาพาสังคมของตนเองเข้ากันได้ กับศาสนาอื่นได้  3. ควรศึกษาบทบาทของจุดยอดบรมธรรมเรื่องนิพพาน ในพระพุทธสาสนาเพื่อตอบปัญหาว่าการเกิดและการตายหน เดียว และหลายหนนั้นสิ่งไหนควรไม่ควร และแสวงค่านิยมต่าง ๆ ที่ทันสมัยเสมอ เกี่ยวกับศาสนาของตนเอง และเข้ากัน ได้กับสังคมและศาสนาอื่นอย่างไม่มอุปสรรค และกระทำาความเข้าใจ ในทุกขั้นตอนแห่งการเรียนรู้ศาสนาให้กระจ่างแจ้ง ถึง ี หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เรื่องการจะเปลี่ยนหรือไม่เปลี่ยนศาสนานั้น เมื่อมีเหตุจำาเป็น ผู้นบถือศาสนาพุทธสามารถ มี ั ความข้ากันได้กับศาสนาอื่น และใช้หลักธรรมคำาสอนให้เต็มที มากกว่าการรู้ แต่ไม่ไดใช้แม้เมือคราวจำาเป็นมาถึง และแม้ ่ โลกจะหมุนเปลี่ยนแปลง ไปตามกระแสวัตถุนิยมรุนแรงเพียงใด ในระดับไหนก็ตาม ผู้ที่เข้าถึงท่าทีของศาสนาพุทธ หรือ คือผู้นับถือศาสนาพุทธ จะไม่หวั่นไหวไปตามกระแสแห่งโลกาภิวัตน์ โดยสินเชิงเลย ้  4. ส่งเสริมให้ชาวพุทธมีความแหลมคม หรือจุดยืนในหลักปฏิบัติเรื่องคำาสอนที่ลึกซึงยิ่งขึ้น ในด้านปรัชญาศาสนา ้ พุทธ ทำาตนตระหนักรู้ทุกขณะลมหายใจจนกว่าจะสินชีวิต้ มิใช่เพียงทำาตามค่านิยมพระพุทธศาสนา เพราะเห็นเป็นเพียง ค่านิยมพระพุทธศาสนาเท่านั้น หรือตามเขาไป โดยตนเองไม่ได้พิสูจน์ในหลักคำาสอน หรือให้หยุดคิดใคร่ครวญ เสีย ก่อนว่า วิจารณญาณเชิงพระพุทธศาสนา มีความมากน้อยเพียงใด ก่อนการกระทำาอะไรลงไปในชีวิตประจำาวัน ทั้งในค่า นิยมเชิงพระพุทธศาสนา และทัศนคติเชิงพระพุทธศาสนาว่าถูกหรือผิดตามหลักคำาสอนแม่บทหรือไม่ หรือว่าทั้งหมดที่ทำาไป ในฐานะเป็นชาวพระพุทธศาสนานั้น เป็นหลักคำาสอนในศาสนาพุทธที่แท้จริงหรือไม่ ด้วยการศึกษาใฝ่รู้อย่างมีแบบมีแผนให้ เป็นไปแบบต่อเนื่องตลอดชีวิต  5.3 ข้อ เสนอแนะ  
  • 18. ประวัต ิผ ู้ว ิจ ัย ชื่อ พระมหามาติณ ถีนิติ วัน เดือ น ปี เกิด เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 สถานที่เ กิด กรุงเทพ ฯ ประเทศไทย ประวัต ก ารศึก ษา ิ มัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมสาธิต มศว. ประสานมิตร กรุงเทพฯ นธ. เอก ธศ. เอก จูฬอภิธรรมเอก เปรียญธรรม 3 ประโยค พ.ม. ( จิตรกรรม ) ศศ.บ (ศาสนวิทยา) มหิดล Dip-in-Jour.,MIOJ., ประเทศอังกฤษ MIOJ,(pro-Member Institute of Journalists)by Royal charter, London, England. Oxford Council Scholarship to CFE, Oxford. England. Extra-mural student ,Oxford University, Oxford. England. ทุน การศึก ษาที่ร ับ ทุนผูช่วยสอน ปี 2551 เทอม 1 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ้ ประสบการณ์ใ นการทำา งาน กรรมการตรวจสอบธรรมสนามหลวง อดีตครูสอนปริยัติธรรม สังกัดสำานักเรียนวัดมหาธาตุฯ วิชา พรบ. คณะสงฆ์ 2505 ช่วยงานฝ่ายต่างประเทศ (แขกเมือง)ประจำาผูปฎิบัติหน้าที่สังฆราชสมเด็จพุฒาจารย์วัดมหาธาตุฯ ้ หนังสือเกียรติบัตรผูทำาคุณประโยชน์แด่วิทยาลัยศาสนศึกษา ้ มหาวิทยาลัยมหิดล จาก ร.ศ. ดร. พินิจ รัตนกุล ผู้อำานวยการ หนังสือเกียรติบัตร ผูอบรม นักโทษ กรมควบคุมความประพฤติ ้ กระทรวงยุติธรรม จากรองปลัดกระททรวงยุติธรรม อดีตครูสอนศีลธรรม ร.ร. วัดดอนตะเคียน ต. บางสะพาน อ. บางสะพาน น้อย จ. ประจวบคีรีขันธ์ จดหมายถึง ศ. ศิวรักษ์ บรรณาธิการสังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เรื่อง Smoke control Act อังกฤษ (2512) เขียนเรื่องลอร์ดบุดดา นิตยสาร พ.ส.ล. พ.ศ..2525(งานวิจัยสังคมศาสนา) เขียนเรื่อง บ้านทุ่งไร่ละ6 ล้าน ในนิตยสารฟ้า นายอาจินต์ ปัญจพรรค์ 2520(งานวิจัยเชิงสังคม) เขียนเรื่องล้มลงและสลบไปในนิตยสาร มาเลเรีย 2520-2525(งานวิจัยสังคมชนบท) สถานที่อ ยู่ : เลขที่ 52 แขวงบางยีเรือ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 ่ โทร :02-465-08-66 โทร: 08-944-319-20 e-mail address: martintrinity50@yahoo.com