SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
โครงงานเรื่อง ภูมิคุ้มกันแห่งความพอเพียงจัดทำโดยนางสาวศจี  คุณทวงค์เสนอพ่อครู คเชนทร์  กองพิลาโรงเรียนฝางวิทยายน
ที่มาและความสำคัญ ด้วยกระแสพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง  เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยกายทำนาปี และประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมใกล้บ้าน ฐานะส่วนใหญ่มีความเป็นอยู่ยากจน ดังนั้น ผู้จัดทำจึงหาแนวทางจัดทำโครงงาน”การทำบัญชีครัวเรือน” เพื่อปลูกฝังประชาชนในเรื่องการประหยัดอดออมอย่างยั่งยืน
ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ทำให้รู้และเข้าใจในระบบการเงิน และระเบียบการบริหารเกี่ยวกับเงินเป็นอย่างดี รวมทั้งวิธีการออม การทำบัญชีครัวเรือน และที่สำคัญคือการสร้างนิสัยให้รู้จักการออมเงิน เพื่ออนาคตที่มั่นคง
การออมให้คุณประโยชน์แก่เราอย่างไร ออมให้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาชีวิตของเรา ไม่ว่าจะเป็นการ ออมเงินและออมทรัพยากรอื่น รวมทั้งการออมชีวิต  หากจะแยกให้เห็นเป็นเรื่อง ๆ ก็สามารถแยกได้ คือ ด้านเศรษฐกิจ เป็นกิจที่ช่วยให้ชีวิตดำรงอยู่และเปิดโอกาสให้คนได้พัฒนาชีวิตคนให้เจริญ ให้สูงขึ้นได้ การประกอบอาชีพ เช่น การปลูกพืชผัก เพื่อบริโภคโดยเฉพาะปัจจุบัน การจะมีเงินได้ก็เป็นเรื่องยาก ดังนั้น เมื่อได้มาก็ต้องรู้จักประหยัดรู้จักออม เพื่อแลกเปลี่ยนสิ่งของปัจจัยในการดำรงชีพต่อไป ด้านสังคม ในกระบวนการออม ถ้ารวมกลุ่มการออมตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน หมู่บ้าน ตำบล ถึงจังหวัด ที่ปฏิบัติกันอยู่ขณะนี้ เห็นได้ชัดว่า มีผลดีด้านสังคม คือ เป็นกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ให้คนคิดถึงกัน เอื้ออาทรต่อกัน หรือรักกันมากขึ้น ถ้าได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังก็จะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัว และชุมชนได้ทางหนึ่ง ด้านวัฒนธรรม กิจกรรมที่คนส่วนใหญ่ถือปฏิบัติกันอย่างแพร่หลาย มีสาระทั้งที่เป็นความรู้ ความคิด การปฏิบัติที่มีแบบแผนแน่นอน และทำอย่างต่อเนื่อง และให้ผลเป็นความดีแก่ผู้ปฏิบัติ เราจัดว่าเป็นวัฒนธรรม พฤติกรรมการออม กิจกรรมการออม ผลการออมมีลักษณะเช่นว่านี้ จึงจัดว่าเป็นวัฒนธรรมสำคัญของชุมชนได้อย่างหนึ่ง ด้านการศึกษา การออมเป็นเรื่องของการเรียนรู้ การฝึกตนเอง ผู้ทำการออม หรือเป็นสมาชิกกลุ่มเพื่อออมเพราะต้องรู้หลักคิด หลักการและหลักปฏิบัติ ตลอดถึงผลลัพธ์ที่พึงได้ และจะพบว่าตนเองเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ทั้งด้านการรู้ การคิด การพูด และการทำ ด้านทรัพยากรธรรมชาติแวดล้อม ดิน น้ำ ป่า เขา สัตว์ พืชที่เราได้เห็น อยู่รอบ ๆ ตัวเรา บ้านเรา ชุมชนเรา คือ ชีวิตเรา เพราะว่า เราต้องอาศัยดิน น้ำ ป่า เขา พืช สัตว์เหล่านั้น จึงมีชีวิตอยู่ได้การใช้เงินเพื่อจัดการทรัพยากรให้คงอยู่ในภาวะปกติ จึงเป็นเรื่องต้องคิดต้องทำด้านการพัฒนาชีวิต การออมเป็นเรื่องการรู้ การคิด และ การทำ การออมที่เริ่มด้วยการเรียนรู้เรื่องสัจจะ คือ ความจริงที่รู้ ที่คิด ที่พูด ที่ทำ ของตนเอง ว่าจะต้องพูดจริง ทำจริง คิดจริง และรู้จริงนั้น นับเป็นการเรียนรู้เพื่อรู้จักตนเอง รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างคนกับผู้คนในครอบครัว เป็นต้น
การทำบัญชีครัวเรือน การทำบัญชีเป็นกิจกรรมเรียนรู้อย่างหนึ่ง  การทำบัญชี จึงเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ การศึกษา การฝึกตน เพื่อให้เกิดการปฏิบัติพัฒนาความรู้ ความคิด และการปฏิบัติที่ถูกต้อง ก่อความเจริญทั้งในด้านอาชีพหรือเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมการทำบัญชี คือ การจดบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขปัจจัยในการดำรงชีวิตของเรา ในครอบครัวของเรา ชุมชนของเรา และประเทศของเราข้อมูลที่ได้จากการบันทึกจะเป็นตัวบ่งชี้อดีตปัจจุบันและอนาคตของชีวิตเรา เราสามารถนำข้อมูลอดีตมาบอกปัจจุบันและอนาคตของเราได้ ข้อมูลที่ได้ที่บันทึกไว้ จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนชีวิตและกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิต ในครอบครัว ในชุมชน ในประเทศของเราได้ บัญชีครัวเรือน มิได้หมายถึง การทำบัญชีหรือบันทึกรายรับรายจ่ายประจำวันเท่านั้น แต่อาจหมายถึงการบันทึกข้อมูลด้านอื่น ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เป็นต้น ของเราได้ด้วย
การออม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ให้ทุกคน ทุกชุมชนดำเนินชีวิตไปในทางสายกลาง ซึ่งเป็นแนวทางที่ปราชญ์ทั้งปลาย เขาสอนกันมานาน เช่น พระพุทธเจ้าก็สอนเรื่องนี้ที่เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทาหรือ มัชเฌนธรรม คือ มรรคมีองค์ 8 มีสัมมาทิฐิ คือ ความเห็นถูกเห็นชอบ เป็นต้น หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ พอดี ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน ผลกระทบทั้งจากภายนอกและภายใน เป้าประสงค์ คือ ให้เกิดความสมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากภายนอกได้เป็นอย่างดี 4.     เงื่อนไข โดย  4.1 จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม  4.2 ดำเนินชีวิตด้วยความอดทนมีความเพียร มีสติ และความรอบคอบ  4.3จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และดำเนินการทุกขั้นตอน
วิธีการในการออมเงินสามารถทำได้ดังนี้ 1.  ลง ทุนซื้อกระปุกออมสินมาวางไว้ในที่ที่พบเห็นบ่อยครั้ง เช่น โต๊ะทำงาน ข้างเครื่องคอมพิวเตอร์ บนหัวเตียง ข้างรูปสุดที่รัก หรือแม้แต่หน้าห้องอาบน้ำ เป็นต้น เลือกเอาที่ใดที่หนึ่ง เพื่อเป็นการฝึกนิสัยการออม โดยจะได้ไม่ลืมใช้เงินอย่างฟุ้มเฟือยและหยอดออมสินทุกครั้งที่มีเงินเหลือ 2.  หัดรู้จักคำว่า “ความจำเป็น” กับ “น่ารัก” เพราะของทุกอย่างล้วนมีระดับความจำเป็นไม่เท่ากัน การซื้อโดยคำนึงแต่คำว่าน่ารักแล้วอยากได้อย่างเดียวนั้นไม่พอดังนั้นจึงควร คิดพิจารณาก่อนหยิบยื่นตรงแคชเชียร์ทุกครั้ง  3.  วิธีนี้สำหรับคนที่ชอบจดชอบเขียนคือทำ “แบบบันทึกรายรับรายจ่าย” อาจทำเป็นสมุดเล่มเล็กเพื่อพกพาไปได้ทุกที่ จ่ายอะไรไปก็จดไว้ ได้มายังไงก็จดไป  4.  หากรู้ตัวว่าต้องไปในที่ๆมีแต่ของฟุ่มเฟือย แพงหูฉีกจนแม้แต่เกิดใหม่ซักกี่ชาติก็ไม่สามารถหาตังค์มาซื้อได้ ให้ท่านยืนสงบนิ่งซักแป๊บ แล้วเงินทั้งหมดออกจากกระเป๋า จะได้ไม่ต้องพกให้เมื่อย 5.  ซื้อ กระเป๋าที่มีช่องลับเยอะๆสำหรับพกไปเดินห้างสรรพสินค้าที่มีแต่ของสุรุ่ย สุร่าย เอาไว้ซ่อนเงินแล้วเวลาเกิดอยากได้อะไร พอเปิดกระเป๋าก็จะหาไม่เจอ ไม่ต้องจ่าย ไม่ต้องซื้อ  (แต่ต้องไม่ซ่อนจนลืมที่ซ่อนนะ) 6.  เอา เงินไปฝากธนาคารแบบฝากประจำ อันนี้เป็นวิธีที่หลายคนนิยม ปลอดภัยสุดๆ 7.  ฝึก ทำงานพิเศษ หารายได้ด้วยตนเองโดยไม่ง้อแบเงินขอพ่อแม่ให้ลำบากท่าน วิธีนี้เหมาะที่สุดสำหรับนักศึกษาทั้งที่เรียนอยู่และจบทำงานแล้ว  8.  ซื้อของลดราคา สามารถหาได้ง่ายตามศูนย์การค้าทั่วไป (แม้แต่คนเขียนยังชอบ) อย่าหลงคำโฆษณาชวนเชื่อจากปากโฆษกขี้โว (ขี้โม้) โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกชอบชวนคุยและพวกที่ยิ่งคุยเข้าหูเราก็ยิ่งต้องระวังกันใหญ่ ฝากเงินไว้ที่เพื่อน นัดเวลาเอาเงินคืน ถือเป็น ATM เคลื่อนที่ไปในตัว แต่มีข้อแม้ว่าต้องเป็นเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อเราจริงๆ 11. อยู่ว่างๆร้องเพลง "คนมีตังค์" ดังๆ ได้ทั้งความสนุก สู้ชีวิต เผลอๆได้ (เศษ) ตังค์จริงๆด้วย 12.เรียนรู้กับหลักดำเนินชีวิตที่ในปัจจุบันกำลังนิยมมากคือ “เศรษฐกิจพอเพียง” ในข้อนี้สำคัญมากเพราะเป็นสิ่งที่ในหลวงของเราทรงย้ำเตือนคนไทยมากว่าหลายปี เป็นสิ่งที่ทุกคนควรอย่างยิ่งที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันไม่ให้ขาด

More Related Content

What's hot

เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2Vilaporn Khankasikam
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
โครงการ Is3
โครงการ Is3โครงการ Is3
โครงการ Is3Need2556
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 

What's hot (18)

เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
โครงการ Is3
โครงการ Is3โครงการ Is3
โครงการ Is3
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

Wickham's dedication ceremony
Wickham's dedication ceremonyWickham's dedication ceremony
Wickham's dedication ceremonyovenb1rd
 
Satya Das' Slides
Satya Das' SlidesSatya Das' Slides
Satya Das' SlidesABParty
 
ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN
ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN
ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN Jacinto Cabrera Rodríguez
 
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS I
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS IENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS I
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS IJacinto Cabrera Rodríguez
 
PROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENES
PROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENESPROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENES
PROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENESJacinto Cabrera Rodríguez
 
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS III
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS IIIENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS III
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS IIIJacinto Cabrera Rodríguez
 

Viewers also liked (7)

Wickham's dedication ceremony
Wickham's dedication ceremonyWickham's dedication ceremony
Wickham's dedication ceremony
 
Satya Das' Slides
Satya Das' SlidesSatya Das' Slides
Satya Das' Slides
 
ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN
ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN
ENTORNOS DE DESARROLLO: ECLIPSE - INSTALACIÓN
 
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS I
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS IENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS I
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS I
 
Tema 3
Tema 3Tema 3
Tema 3
 
PROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENES
PROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENESPROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENES
PROGRAMACIÓN ANDROID: MULTIMEDIA - LAS IMÁGENES
 
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS III
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS IIIENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID  - CONTROLES BÁSICOS III
ENTORNOS DE DESARROLLO: ANDROID - CONTROLES BÁSICOS III
 

Similar to งานนำเสนอ1.2

งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2nukedza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNathpong Tanpan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

Similar to งานนำเสนอ1.2 (20)

งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
Econ
EconEcon
Econ
 

งานนำเสนอ1.2

  • 1. โครงงานเรื่อง ภูมิคุ้มกันแห่งความพอเพียงจัดทำโดยนางสาวศจี คุณทวงค์เสนอพ่อครู คเชนทร์ กองพิลาโรงเรียนฝางวิทยายน
  • 2. ที่มาและความสำคัญ ด้วยกระแสพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยกายทำนาปี และประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมใกล้บ้าน ฐานะส่วนใหญ่มีความเป็นอยู่ยากจน ดังนั้น ผู้จัดทำจึงหาแนวทางจัดทำโครงงาน”การทำบัญชีครัวเรือน” เพื่อปลูกฝังประชาชนในเรื่องการประหยัดอดออมอย่างยั่งยืน
  • 3. ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ทำให้รู้และเข้าใจในระบบการเงิน และระเบียบการบริหารเกี่ยวกับเงินเป็นอย่างดี รวมทั้งวิธีการออม การทำบัญชีครัวเรือน และที่สำคัญคือการสร้างนิสัยให้รู้จักการออมเงิน เพื่ออนาคตที่มั่นคง
  • 4. การออมให้คุณประโยชน์แก่เราอย่างไร ออมให้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและการพัฒนาชีวิตของเรา ไม่ว่าจะเป็นการ ออมเงินและออมทรัพยากรอื่น รวมทั้งการออมชีวิต  หากจะแยกให้เห็นเป็นเรื่อง ๆ ก็สามารถแยกได้ คือ ด้านเศรษฐกิจ เป็นกิจที่ช่วยให้ชีวิตดำรงอยู่และเปิดโอกาสให้คนได้พัฒนาชีวิตคนให้เจริญ ให้สูงขึ้นได้ การประกอบอาชีพ เช่น การปลูกพืชผัก เพื่อบริโภคโดยเฉพาะปัจจุบัน การจะมีเงินได้ก็เป็นเรื่องยาก ดังนั้น เมื่อได้มาก็ต้องรู้จักประหยัดรู้จักออม เพื่อแลกเปลี่ยนสิ่งของปัจจัยในการดำรงชีพต่อไป ด้านสังคม ในกระบวนการออม ถ้ารวมกลุ่มการออมตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน หมู่บ้าน ตำบล ถึงจังหวัด ที่ปฏิบัติกันอยู่ขณะนี้ เห็นได้ชัดว่า มีผลดีด้านสังคม คือ เป็นกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ให้คนคิดถึงกัน เอื้ออาทรต่อกัน หรือรักกันมากขึ้น ถ้าได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังก็จะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัว และชุมชนได้ทางหนึ่ง ด้านวัฒนธรรม กิจกรรมที่คนส่วนใหญ่ถือปฏิบัติกันอย่างแพร่หลาย มีสาระทั้งที่เป็นความรู้ ความคิด การปฏิบัติที่มีแบบแผนแน่นอน และทำอย่างต่อเนื่อง และให้ผลเป็นความดีแก่ผู้ปฏิบัติ เราจัดว่าเป็นวัฒนธรรม พฤติกรรมการออม กิจกรรมการออม ผลการออมมีลักษณะเช่นว่านี้ จึงจัดว่าเป็นวัฒนธรรมสำคัญของชุมชนได้อย่างหนึ่ง ด้านการศึกษา การออมเป็นเรื่องของการเรียนรู้ การฝึกตนเอง ผู้ทำการออม หรือเป็นสมาชิกกลุ่มเพื่อออมเพราะต้องรู้หลักคิด หลักการและหลักปฏิบัติ ตลอดถึงผลลัพธ์ที่พึงได้ และจะพบว่าตนเองเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ทั้งด้านการรู้ การคิด การพูด และการทำ ด้านทรัพยากรธรรมชาติแวดล้อม ดิน น้ำ ป่า เขา สัตว์ พืชที่เราได้เห็น อยู่รอบ ๆ ตัวเรา บ้านเรา ชุมชนเรา คือ ชีวิตเรา เพราะว่า เราต้องอาศัยดิน น้ำ ป่า เขา พืช สัตว์เหล่านั้น จึงมีชีวิตอยู่ได้การใช้เงินเพื่อจัดการทรัพยากรให้คงอยู่ในภาวะปกติ จึงเป็นเรื่องต้องคิดต้องทำด้านการพัฒนาชีวิต การออมเป็นเรื่องการรู้ การคิด และ การทำ การออมที่เริ่มด้วยการเรียนรู้เรื่องสัจจะ คือ ความจริงที่รู้ ที่คิด ที่พูด ที่ทำ ของตนเอง ว่าจะต้องพูดจริง ทำจริง คิดจริง และรู้จริงนั้น นับเป็นการเรียนรู้เพื่อรู้จักตนเอง รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างคนกับผู้คนในครอบครัว เป็นต้น
  • 5. การทำบัญชีครัวเรือน การทำบัญชีเป็นกิจกรรมเรียนรู้อย่างหนึ่ง  การทำบัญชี จึงเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ การศึกษา การฝึกตน เพื่อให้เกิดการปฏิบัติพัฒนาความรู้ ความคิด และการปฏิบัติที่ถูกต้อง ก่อความเจริญทั้งในด้านอาชีพหรือเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมการทำบัญชี คือ การจดบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขปัจจัยในการดำรงชีวิตของเรา ในครอบครัวของเรา ชุมชนของเรา และประเทศของเราข้อมูลที่ได้จากการบันทึกจะเป็นตัวบ่งชี้อดีตปัจจุบันและอนาคตของชีวิตเรา เราสามารถนำข้อมูลอดีตมาบอกปัจจุบันและอนาคตของเราได้ ข้อมูลที่ได้ที่บันทึกไว้ จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนชีวิตและกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิต ในครอบครัว ในชุมชน ในประเทศของเราได้ บัญชีครัวเรือน มิได้หมายถึง การทำบัญชีหรือบันทึกรายรับรายจ่ายประจำวันเท่านั้น แต่อาจหมายถึงการบันทึกข้อมูลด้านอื่น ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เป็นต้น ของเราได้ด้วย
  • 6. การออม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ให้ทุกคน ทุกชุมชนดำเนินชีวิตไปในทางสายกลาง ซึ่งเป็นแนวทางที่ปราชญ์ทั้งปลาย เขาสอนกันมานาน เช่น พระพุทธเจ้าก็สอนเรื่องนี้ที่เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทาหรือ มัชเฌนธรรม คือ มรรคมีองค์ 8 มีสัมมาทิฐิ คือ ความเห็นถูกเห็นชอบ เป็นต้น หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ พอดี ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน ผลกระทบทั้งจากภายนอกและภายใน เป้าประสงค์ คือ ให้เกิดความสมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากภายนอกได้เป็นอย่างดี 4. เงื่อนไข โดย 4.1 จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม 4.2 ดำเนินชีวิตด้วยความอดทนมีความเพียร มีสติ และความรอบคอบ 4.3จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และดำเนินการทุกขั้นตอน
  • 7. วิธีการในการออมเงินสามารถทำได้ดังนี้ 1. ลง ทุนซื้อกระปุกออมสินมาวางไว้ในที่ที่พบเห็นบ่อยครั้ง เช่น โต๊ะทำงาน ข้างเครื่องคอมพิวเตอร์ บนหัวเตียง ข้างรูปสุดที่รัก หรือแม้แต่หน้าห้องอาบน้ำ เป็นต้น เลือกเอาที่ใดที่หนึ่ง เพื่อเป็นการฝึกนิสัยการออม โดยจะได้ไม่ลืมใช้เงินอย่างฟุ้มเฟือยและหยอดออมสินทุกครั้งที่มีเงินเหลือ 2. หัดรู้จักคำว่า “ความจำเป็น” กับ “น่ารัก” เพราะของทุกอย่างล้วนมีระดับความจำเป็นไม่เท่ากัน การซื้อโดยคำนึงแต่คำว่าน่ารักแล้วอยากได้อย่างเดียวนั้นไม่พอดังนั้นจึงควร คิดพิจารณาก่อนหยิบยื่นตรงแคชเชียร์ทุกครั้ง 3. วิธีนี้สำหรับคนที่ชอบจดชอบเขียนคือทำ “แบบบันทึกรายรับรายจ่าย” อาจทำเป็นสมุดเล่มเล็กเพื่อพกพาไปได้ทุกที่ จ่ายอะไรไปก็จดไว้ ได้มายังไงก็จดไป 4. หากรู้ตัวว่าต้องไปในที่ๆมีแต่ของฟุ่มเฟือย แพงหูฉีกจนแม้แต่เกิดใหม่ซักกี่ชาติก็ไม่สามารถหาตังค์มาซื้อได้ ให้ท่านยืนสงบนิ่งซักแป๊บ แล้วเงินทั้งหมดออกจากกระเป๋า จะได้ไม่ต้องพกให้เมื่อย 5. ซื้อ กระเป๋าที่มีช่องลับเยอะๆสำหรับพกไปเดินห้างสรรพสินค้าที่มีแต่ของสุรุ่ย สุร่าย เอาไว้ซ่อนเงินแล้วเวลาเกิดอยากได้อะไร พอเปิดกระเป๋าก็จะหาไม่เจอ ไม่ต้องจ่าย ไม่ต้องซื้อ (แต่ต้องไม่ซ่อนจนลืมที่ซ่อนนะ) 6. เอา เงินไปฝากธนาคารแบบฝากประจำ อันนี้เป็นวิธีที่หลายคนนิยม ปลอดภัยสุดๆ 7. ฝึก ทำงานพิเศษ หารายได้ด้วยตนเองโดยไม่ง้อแบเงินขอพ่อแม่ให้ลำบากท่าน วิธีนี้เหมาะที่สุดสำหรับนักศึกษาทั้งที่เรียนอยู่และจบทำงานแล้ว 8. ซื้อของลดราคา สามารถหาได้ง่ายตามศูนย์การค้าทั่วไป (แม้แต่คนเขียนยังชอบ) อย่าหลงคำโฆษณาชวนเชื่อจากปากโฆษกขี้โว (ขี้โม้) โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกชอบชวนคุยและพวกที่ยิ่งคุยเข้าหูเราก็ยิ่งต้องระวังกันใหญ่ ฝากเงินไว้ที่เพื่อน นัดเวลาเอาเงินคืน ถือเป็น ATM เคลื่อนที่ไปในตัว แต่มีข้อแม้ว่าต้องเป็นเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อเราจริงๆ 11. อยู่ว่างๆร้องเพลง "คนมีตังค์" ดังๆ ได้ทั้งความสนุก สู้ชีวิต เผลอๆได้ (เศษ) ตังค์จริงๆด้วย 12.เรียนรู้กับหลักดำเนินชีวิตที่ในปัจจุบันกำลังนิยมมากคือ “เศรษฐกิจพอเพียง” ในข้อนี้สำคัญมากเพราะเป็นสิ่งที่ในหลวงของเราทรงย้ำเตือนคนไทยมากว่าหลายปี เป็นสิ่งที่ทุกคนควรอย่างยิ่งที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันไม่ให้ขาด