SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน แผนที่ความคิดสร้างจินตนาการ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวพิชชา รื่นอารมณ์ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน
ทาอย่างไรจึงจะแก้ปัญหาขยะในทะเล
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชชา รื่นอารมณ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลกนี้ไม่อาจดารงอยู่ได้หากไม่มีผืนมหาสมุทรที่กินพื้น
ที่ ร้ อ ย ล ะ 70 ข อ ง ด า ว เ ค ร า ะ ห์ ที่ ชื่ อ ว่ า
โลก มหาสมุทรเป็ นแหล่งผลิตออกซิเจนให้เราหายใจ เป็ นแหล่งอาหาร
อีกทั้งยังเป็นบ้านและแหล่งอนุบาลสิ่งมีชีวิตนับร้อยนับพันลึกลงไปใต้ทะเล นอ
ก จ า ก นี้ แ ล้ว ม ห า ส มุ ท ร ยัง ป ก ป้ อ ง เ ร า จ า ก ภัย ธ ร ร ม ช า ติต่างๆ
ดอกไม้ทะเลและปะการังนั้นเป็นเกราะกาบังเราจากพายุและคลื่นทะเล
สถานที่อันกว้างใหญ่แห่งนี้เต็มไปด้วยที่เรื่องราวน่าอัศจรรย์ใจ
บ้านของสัตว์ทะเลน้อยใหญ่มากกว่าร้อยละ 80 สายพันธุ์ เช่น วาฬ โลมา ฉลาม
พะยูน เต่า และปลากระเบน ข้อมูลจาก World Register of Marine
Species ระบุว่าผืนมหาสมุทรนั้นมีสัตว์ที่อาศัยอยู่กว่า 240,470 สายพันธุ์
เ ชื่ อ กัน ว่ า ยั ง มี สัต ว์ ท ะ เ ล อี ก จ า น ว น ม า ก ที่ ยั ง ไ ม่ ถู ก ค้ น พ บ
และปัจจุบันก็ยังมีการสารวจพบสิ่งมีชีวิตใหม่ๆอยู่ตลอดเวลา
อย่างไรก็ต าม มห าสมุทรใน วัน นี้ ไ ม่เ ห มื อน เดิมอี ก ต่ อ ไ ป
เพราะในทุกๆวันเราได้รับข่าวร้ายเกี่ยวกับการทาลายล้างมหาสมุทร ภัยคุกคา
มที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรนั้นเกิดมีตั้งแต่มลพิษพลาสติกไปจนถึงการรั่วไหลของ
น้ามันดิบ คร่าชีวิตสิ่งมีชีวิตในทะเลไปอย่างเงียบๆ หลายครั้งที่เราพบนกทะเล
โลมาและเต่า เกยตื้นอยู่บริเวณชายหาดทั้งในประเทศ ไทย อินโดนีเซีย
แ ล ะ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์
จากสาเหตุการกินขยะพลาสติกที่อยู่ในทะเลและทางผู้จัดทาโครงงาน
ได้เล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และอยากที่จะช่วยให้ทะเลกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง
จึ ง เ ป็ น เ ห ตุ ผ ล ที่ ผู้ จัด ท า โ ค ร ง ง า น ตัด สิ น ใ จ เ ลื อ ก หั ว ข้ อ นี้
เ พ ร า ะ ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ ผู้ จั ด ท า จ ะ ไ ด้ ช่ ว ย ท ะ เ ล เ ท่ า นั้ น
แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ต่อให้คนที่ได้มาอ่านโครงงานนี้ทาให้ทุ
กคนตระหนักและช่วยกันดูแลทะเลให้น่าอยู่
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงผลเสียของการทิ้งขยะลงทะเล
2.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้
3.สามารถอธิบายถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับทะเลในปัจจุบันได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.ขยะทาลายทะเลอย่างไร
2.ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
3.สาเหตุที่เราต้องช่วยกันปกป้องมหาสมุทร
4.วิธีช่วยลดขยะในทะเลง่ายๆ
หลักการและทฤษฎี
�ขยะ ทาลายทะเลอย่างไร?�
ขยะที่พบมากที่สุดในทะเลก็คงจะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกจาก"พลาสติก"
พลาสติก คือ "เพชฌฆาต" ของสิ่งมีชีวิตในท้องทะเล
หลังผ่าพิสูจน์พบเศษพลาสติกในท้องของมันจานวนมาก
นอกจากนี้ยังมี “ไมโครพลาสติก” วายร้ายที่มองไม่เห็นเพราะมีขนาดเล็กกว่า
5
มิลลิเมตรเข้าร่วมทาลายท้องทะเลอีกด้วยโดยไมโครพลาสติกนั้นเกิดขึ้นจากสอ
งแหล่งหลักๆ ด้วยกัน คือ
1. ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม และในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง เช่น
ยาสีฟัน สครับหน้า ยากันแดด โฟม อาบน้า และ ผงซักฟอก เป็นต้น
(ปัจจุบันได้ห้ามใช้ในหลาย ๆ ประเทศ)
2.เกิดมาจากการย่อยสลายหรือแตกตัวของพลาสติกขนาดใหญ่พลาสติกที่มีขน
าดใหญ่เมื่อไหลลงสู่แม่น้าและทะเลแล้ว
จะเกิดการสลายตัวหรือการแตกเป็นชิ้นเล็กเกิดขึ้นเมื่อได้รับอิทธิพลจากแสงอุ
ลตราไวโอเล็ต
และอุณหภูมิที่สูงจากดวงอาทิตย์ทาให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจนทาให้เ
กิดการเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของพลาสติก และเกิดการแตกตัวเกิดขึ้น
ปัจจุบันพบการแพร่กระจายของไมโครพลาสติกไปทุกพื้นที่ของทะเลและมหา
สมุทร แม้กระทั่งในสัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลลึกที่มีความลึกมาก 10 กิโลเมตรก็ยั
งพบว่า มีไมโครพลาสติกปนเปื้อน
ถามว่า ไมโครพลาสติกมีผลกระทบอย่างไรต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล??
พลาสติกมีส่วนผสมทางเคมีที่ใช้ในการกาหนดคุณสมบัติ (additive
chemicals) ที่จะถูกปล่อยออกมาเมื่อเกิดการย่อยสลาย
ที่อาจสะสมและเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่รับไมโครพลาสติกเข้าไป
ซึ่งจากการศึกษาในสัตว์หลายชนิด
พบมีการสะสมของสารพิษที่มาจากพลาสติกเกือบทั่วโลก, พื้นที่ผิวของไมโคร
พลาสติกจะเป็นพื้นที่ให้สารมลพิษหรือแบคทีเรียมายึดเกาะและสะสมได้
เมื่อสิ่งมีชีวิตรับเข้าไปจะส่งผลกระทบได้ต่อสิ่งมีชีวิตนั้น, ไมโครพลาสติ
กส่งผลกระทบต่อทางกายภาพ หรือทางชีววิทยาต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล เช่น
การพบว่ามีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของแพลงตอนสัตว์บางชนิด
รวมทั้งมีผลกระทบที่อาจเกิดกับมนุษย์ที่เป็นผู้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์จาก
ทะเล
แม้กระทั่งในสัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลที่มีความลึกถึง 10 กิโลเมตร
ก็ยังพบว่า มีไมโครพลาสติกปนเปื้อนเช่นกัน
กว่า "ขยะ" ในทะเลจะย่อยสลาย กว่า "มนุษย์" จะเปลี่ยนพฤติกรรม
ขยะแต่ละชนิดอาจใช้ระยะเวลาย่อยสลายเป็นเวลาหลายสิบหลายร้อยปี ทีเดียว
Cr.http://www.judprakai.com/life/503
Cr.https://news.thaipbs.or.th/infographic/66
�ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน�
�ขยะส่งผลกระทบเสี่ยงสัตว์ทะเลสูญพันธุ์
รายงานจากองค์กรอนุรักษ์ท้องทะเล (Ocean Conservancy) ระบุว่า
หลายประเทศในอาเซียนทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลมากสุดในโลก
โดยขยะพลาสติกกว่า 8 ล้านตัน มาจากประเทศจีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
เวียดนาม และไทย หากยังไม่มีการแก้ไขจะทาให้ขยะเพิ่มขึ้นอย่างเท่าตัว
และอาจส่งผลกระทบต่อสัตว์ทะเลเสี่ยงสูญพันธุ์มากขึ้น
ด้านรายงานสถานการณ์สัตว์ทะเลหายากเสี่ยงสูญพันธุ์
จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) พบว่า เต่าทะเล พะยูน โลมา
และวาฬ ซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
มีแนวโน้มการเกยตื้นเพิ่มขึ้น โดยผลสารวจ 3 ปีย้อนหลัง พบว่า
สัตว์ทะเลเกยตื้นเฉลี่ยปีละ 400 ตัว แบ่งเป็นเต่าทะเล 54% โลมาและวาฬ
41% และพะยูน 5%
ด้านสถิติในช่วงปี 2546-2560 พบสัตว์ทะเลหายากเกยตื้นรวม 3,702 ตัว
โดยช่วงที่พบมากสุด คือปี 2560 จานวน 566 ครั้ง และปี 2559 จานวน 449
ครั้ง
�ขยะพลาสติกจุดจบชีวิตสัตว์ทะเล
ขยะทะเลมีทั้งขยะที่เกิดจากการท่องเที่ยว การทาประมง
ภาคอุตสาหกรรม การเดินเรือพาณิชย์
รวมถึงการทิ้งขยะลงทะเลโดยผิดกฎหมาย
โดยแหล่งที่มาของขยะทะเลส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมบนฝั่ง เช่น ชุมชน
แหล่งทิ้งขยะบนฝั่ง บริเวณท่าเรือ และการท่องเที่ยวชายหาด
และจากกิจกรรมในทะเล เช่น การขนส่งทางทะเล การประมง
และการท่องเที่ยวทางทะเล เป็นต้น
ขยะพลาสติกเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้สัตว์ทะเลเหล่านี้ต้องจบชีวิตลงอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเต่าทะเลที่เกยตื้นจากผลกระทบของขยะทะเล เช่น
การเกี่ยวพันของอวน มีสัดส่วนสูงถึง 20-40%
และเกิดจากการกลืนขยะทะเลเข้าไปสะสมอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
มีสัดส่วน 2-3%
ทั้งนี้
ปฏิเสธไม่ได้ว่าขยะทะเลส่วนใหญ่เกิดจากน้ามือของมนุษย์ทั้งทางตรงและทาง
อ้อม เช่น ถุงพลาสติก ขวด ภาชนะใส่อาหาร และวัสดุสาหรับบรรจุหีบห่อ
รวมทั้งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เช่น สายรัด แผ่นพลาสติก เครื่องมือประมง
เช่น แห อวน ลอบ เป็นต้น
�เรากาลังเผชิญกับ “การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่”
เมื่อเร็วๆนี้ องค์การสหประชาชาติเปิดเผยรายงานที่ระบุว่า สปีชีส์กว่า 1
ล้านสายพันธุ์กาลังเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงต่อ
การสูญพันธุ์ใหญ่ ครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
ซึ่งรายงานจากคณะทางานระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพแ
ละนิเวศบริการ (IPBES)
นี้ทาให้เรากังวลต่อความหลากหลายทางชีวภาพของโลก ดอกเตอร์รัสเซล
นอร์แมน ผู้อานวยการบริหารจากกรีนพีซ นิวซีแลนด์
ให้ความเห็นเกี่ยวกับความกังวลในครั้งนี้ว่า
“เราทราบดีว่าจะเกิดสถานการณ์ที่เลวร้าย
แต่เราคาดไม่ถึงว่าจะเลวร้ายขนาดนี้ เรากาลังเผชิญกับ
การสูญพันธุ์ใหญ่ครั้งที่ 6 ในประวัติศาสตร์โลก ซึ่งมนุษย์เรามีส่วนกับเรื่องนี้
ตอนนี้สิ่งที่เราทาไว้กับธรรมชาติได้ย้อนกลับมาทาร้ายพวกเราแล้ว”
ปลาและหอยกินพลาสติกชิ้นเล็ก ๆ เข้าไป
พลาสติกเหล่านั้นจะเข้าไปสะสมในตัวปลา
หลังจากนั้นพวกมันถูกกินโดยปลาใหญ่ ลาพังพลาสติกนั้นก็เป็นพิษอยู่แล้ว
แต่ก็ยังดูดซับสารเคมีที่เป็นพิษจานวนมากจากมหาสมุทรเข้าไปอีก
ปลาเหล่านี้ถูกจับและกินโดยมนุษย์พร้อมกับพลาสติกและสารเคมีที่สะสมอยู่ใน
ตัวมัน
โดยพื้นฐานแล้วก็คือคุณกาลังกินพลาสติกที่คุณเป็นคนทิ้งลงไปในมหาสมุทรนั่
นเอง
3 เหตุผล ที่เราต้องช่วยกันปกป้ องมหาสมุทรโลก��
1. เพิ่มเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล = เพิ่มชีวิตสัตว์ทะเล!�
จากผลวิจัยระบุว่า “เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล”
จะช่วยให้ชีวมวลของสัตว์ทะเลและพืชเพิ่มขึ้นถึง 4
เท่า และยังขยายพื้นที่ออกเป็นวงกว้าง นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็นแหล่งเพาะพั
นธุ์ของเหล่าสัตว์ทะเลที่ถูกคุกคามอีกด้วย เช่น วาฬและเต่าทะเล
ยิ่งไปกว่านั้น
เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลยังช่วยปกป้ องห่วงโซ่อาหารใต้ทะเลและสร้าง
ความยั่งยืนในกับความหลากหลายทางชีวภาพ
และสิ่งสาคัญอีกข้อของเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลนี้ก็คือ
จะช่วยสร้างความยืดหยุ่นให้กับสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทรในการต่อสู้กับผลกระทบ
จากวิกฤตสภาพภูมิอากาศและสภาวะความเป็นกรดในมหาสมุทร
2.เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล
ทาให้ฝูงปลาในทะเลเพิ่มขึ้นและเศรษฐกิจที่ดีขึ้น�
จากการวิจัยของเนชั่นแนล
จีโอกราฟฟิกร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า
เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลจะช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจในระดับชุมชน โดยเข
ตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลนี้มีส่วนช่วยฟื้นฟูการท่องเที่ยวและการทาประม
งนอกเขตคุ้มครอง
โดยต้นทุนสาหรับการพัฒนาเขตคุ้มครองทางทะเลสามารถเห็นผลไดภายในเว
ลา 5 ปี ซึ่งถือเป็นระยะเวลาที่สั้นมาก
ตัวอย่างเช่น
ในสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ชิลี นิวซีแลนด์ และเกาะปาเลา ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่
ามีความเป็นไปได้ในเชิงนโยบายที่จะกาหนดพื้นที่ขนาดใหญ่ที่ห้ามไม่ให้อุตส
าหกรรมเช่น อุตสาหกรรมการประมง เหมืองแร่และการขุดเจาะน้ามัน
เข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ได้
นอกจากประเทศเหล่านี้แล้วยังมีแคนาดาที่เพิ่งประกาศจากัดพื้นที่สาหรับอุตสา
หกรรมเหล่านี้อีกด้วย
ดังนั้น
การกาหนดเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลในน่านน้าสากลก็เปรียบเสมือนก
ารนาไปสู่การกระจายเขตคุ้มครองให้กับทรัพยากรใต้ทะเลทั่วๆกัน
ซึ่งรัฐใกล้ชายฝั่งไปจนถึงประเทศหลายประเทศในกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ก็จะไ
ด้รับผลประโยชน์จากการกาหนดเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลอีกด้วย
3.เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลจะช่วยปกป้ องเราจากผลกระทบของวิกฤต
สภาพภูมิอากาศ�
เชื่อหรือไม่ว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของโลกมากกว่าครึ่ง
ถูกกักเก็บไว้ในซากของสัตว์ทะเล! ทั้งนี้ไม่เพียงแต่บริเวณที่มีพรุน้าเค็ม
ป่าชายเลน และผืนสาหร่ายและหญ้าทะเล
ที่ทาหน้าที่กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แต่ยังช่วยชะลอผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
แม้กระทั่งอุจจาระของวาฬหรือสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นๆเช่นแพลงก์ตอนพืชซึ่งอา
ศัยอยู่ในน่านน้าสากลเองก็มีส่วนช่วยในการดูดซับและแยกก๊าซคาร์บอนไดออ
กไซด์จากบรรยากาศลงสู่มหาสมุทร
ช่วยทะเลกันนน��
�5 วิธีบอกรักและปกป้ องมหาสมุทร
1.สนใจและทาความเข้าใจในประเด็นทะเลและมหาสมุทร
มีข้อมูลน่าสนใจมากมายเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทรที่ให้เราได้ลองศึกษา
ไม่ว่าจะเป็นประเด็นภัยคุกคามจากมนุษย์หรือแม้กระทั่งความมหัศจรรย์ของม
หาสมุทร หากยังนึกไม่ออกว่ามหาสมุทรนั้นน่าอัศจรรย์ใจเพียงใด
ลองดูปลาหมึกหลากสีตัวนี้ ซึ่งถูกค้นพบใกล้ๆกับประเทศฟิลิปปินส์
2.ลดใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ลดใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง เปลี่ยนมาลองใช้ภาชนะใช้ซ้า
“พลาสติกไม่ใช่สิ่งมหัศจรรย์ ที่จะย่อยสลายหาไปไหนได้
เพราะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งคือตัวการก่อมลพิษในทะเลและเป็นอันตรายต่
อสัตว์ทะเล รวมถึงสัตว์บนบกด้วยนะ
แต่ไม่เป็นไร มาลองใช้ชีวิตตามฮาวทูลดใช้พลาสติกกันสักหน่อย
หรือลองลดพลาสติกที่ไม่จาเป็นเช่น ถุงพลาสติก หลอด แก้วพลาสติก
ถ้าลองแล้วเวิร์คก็ชวนเพื่อนๆหรือคนที่เรารักมาลดใช้พลาสติกไปด้วยกันเลย!
3.ฉลาดเลือก ฉลาดซื้ออาหารทะเล
เลือกซื้อปลา อาหารทะเล จากการประมงยั่งยืนและรู้ที่มา © Bente
Stachowske / Greenpeace
หากคุณเป็นคนหนึ่งที่รักการกินอาหารทะเล
ไม่ว่าจะเป็นอาหารทะเลสดๆหรืออาหารทะเลบรรจุกระป๋ อง
การเลือกซื้ออาหารทะเลที่ยั่งยืนเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยปกป้องมหาสมุท
รได้
หลีกเลี่ยงการกินอาหารทะเลจากแบรนด์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องการการประมงเกินข
นาด การทาลายทรัพยากรในทะเลและการใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม
ตรวจสอบความยั่งยืนของแบรนด์อาหารทะเลต่างๆได้ที่รายงานของกรีนพีซ ร
ายงานการจัดอันดับความยั่งยืนปลาทูน่ากระป๋องปี พ.ศ.2561
4.สนับสนุนหลักสูตรเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทรให้กับเยาวชน
ความรู้นั้นเป็นสิ่งสาคัญและความรู้เกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทรก็เป็ นสิ่งสาคัญ
ที่เยาวชนคนรุ่นใหม่ควรศึกษาไว้
ไม่ใช่เพีงแค่ประเด็นทะเลและมหาสมุทรเท่านั้น
แต่อาจเป็นประเด็นสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ในโลกก็ได้
โรงเรียนควรมีหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เยาวชน และครอบครัว
ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสถานการณ์
ความสาคัญจาเป็นที่พวกเขาต้องปกป้ องสิ่งแวดล้อมบนโลกต่อไป
เ ด็กๆถือป้ ายรูปสัตว์ทะเลที่ชอบเพื่อรณรงค์ปกป้ องมหาสมุทรโลกแ ละสัตว์ที่พวกเ ขารัก © Luis Liwanag / Greenpeace
เมื่อเยาวชนเหล่านี้เติบโตไปขึ้นไปในระดับมัธยมหรือมหาวิทยาลัย
พวกเขาจะสามารถเป็นผู้นา เป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจในการปกป้องมหาสมุทร
ซึ่งเราหวังว่าวิธีการนี้จะเปลี่ยนแปลงและสามารถอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้ในระย
ะยาว
5.เรียกร้องให้รัฐบาลสนับสนุน “สนธิสัญญาทะเลหลวง”
โดยองค์การสหประชาชาติ
สนธิสัญญาทะเลหลวง
เป็นสนธิสัญญาใหม่ที่จะช่วยปกป้องมหาสมุทรของเราให้พ้นจากภัยคุกคามทุก
รูปแบบ
รัฐบาลจากหลายประเทศเริ่มทางานเกี่ยวกับสนธิสัญญาฉบับนี้ร่วมกับองค์การ
สหประชาชาติ โดยหวังว่าจะสามารถปกป้องมหาสมุทร 1 ใน 3 ส่วนของโลก
โดยไม่อนุญาตให้ทาประมงขนาดใหญ หรือทาเหมืองใต้ทะเล
รวมถึงการทาอุตสาหกรรมแบบทาลายล้างทุกรูปแบบ
�วิธีช่วยลดขยะในทะเล7วิธี
วิธีสุดแสนจะง่าย ที่คุณสามารถทาได้เพื่อลดขยะพลาสติก
ถึงเวลาแล้วที่พลาสติกจะต้องหมดไป!
1.กฏข้อแรกก็คือห้ามทิ้ง!
สิ่งของไม่ใช้แล้ว อย่าเพิ่งทิ้งค่ะ ลองนามาดัดแปลงเป็นของ D.I.Y กันดู
เช่น กระถางต้นไม้จากขวดน้าพลาสติก หรือเสื้อยืดตัวเก่าที่ไม่ได้ใส่แล้วมาตัด
เป็นถุงผ้าไว้ชอปปิง เป็นต้น ซึ่งนอกจากวิธีนี้จะช่วยลดปริมาณขยะได้แล้ว
ยังเป็นการฝึกความคิดสร้างสรรค์ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อีกด้วยค่ะ
2.ไม่เอานะเกรงใจ ไม่ดีหรอกเกรงใจ
รู้จักปฏิเสธ ไม่รับหลอดพลาสติก ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน
หรือเมื่อคุณสั่งเครื่องดื่มตามร้านอาหารใด ๆ ก็ตาม
หรืออาจเปลี่ยนมาใช้หลอดสแตนเลสหรือหลอดซิลิโคนที่สามารถนากลับมาใช้
ใหม่ได้แทน
หลอดพลาสติกมักเป็นสินค้าแบบใช้ครั้งเดียวที่ไม่จาเป็น มันใช้เวลานานถึง
200 ปีในการย่อยสลาย แต่มันจะไม่มีวันหมดไปจากโลก
เพราะพลาสติกเหล่านี้เพียงแค่แตกตัวเป็นพลาสติกชิ้นเล็กๆ
หรือไมโครพลาสติก และที่แย่ไปกว่านั้น
พลาสติกเหล่านี้จะปล่อยสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม
และสุดท้ายก็จะย้อนกลับมาหาตัวเราเอง
3. ประวัติศาสตร์จะไม่ซ้า ประวัติศาสตร์จะต้องเปลี่ยน
ถึงเวลาแล้วที่จะเปลี่ยนอาหารกลางวันแบบเดิม ๆ
ของคุณ ที่เต็มไปด้วยพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง
เปลี่ยนมาแพ็คอาหารกลางวันของคุณในภาชนะและขวดที่สามารถนากลับมาใ
ช้ใหม่ได้ เช่น กล่องข้าวและขวดน้าซิลิโคนที่สามารถพับได้
หรือห่อขนมแซนวิชด้วย Beewax Wrap เป็นต้น ไม่ว่าจะนาไปจากบ้าน
หรือไปซื้ออาหาร เครื่องดื่มที่ไหนก็ตาม
4.ช่วยเก็บผ้าเช็ดหน้าของฉันหน่อยได้ไหม เพราะฉันทามันตก
“ทิชชูเปียก” กลายเป็นสิ่งจาเป็นและขาดไม่ได้สาหรับใครหลาย ๆ คน
เพราะมันแสนจะสะดวกสบายและใช้ง่าย ตามรายงานของสถาบัน
EarthWatch พบว่าทิชชูเปียกเป็นต้นเหตุของการที่ระบบท่อน้าเสียอุดตัน
และทิชชูเปียกกว่า 9.3
ล้านแผ่นถูกใช้ในการล้างเครื่องสาอางหรือใช้เช็ดมือแทนการล้างมือ
แต่ทราบหรือเปล่าคะว่าเจ้าทิชชูเปียกนี้ใช้เวลานานกว่า 100
ปีในการย่อยสลายทางชีวภาพเลยทีเดียว
ที่เป็นแบบนั้นก็เพราะมันทามาจากโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนประกอบของใยพลาส
ติก และผ่านกระบวนการทางเคมี
จึงไม่สามารถย่อยสลายได้อย่างรวดเร็วเหมือนทิชชูหรือผ้าทั่วไป
เมื่อถูกใช้และทิ้งจึงกลายเป็นขยะที่ไม่ต่างอะไรกับขยะพลาสติก
หากเราเปลี่ยนมาใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนก็จะเป็นการช่วยลดขยะพลาสติกไปได้อีก
ทางหนึ่ง นอกจากนี้ผ้าเช็ดหน้ายังสามารถซักและนามากลับใช้ซ้าได้เรื่อย ๆ
ด้วยค่ะ
5.แล้วฉันเลือกอะไรได้ไหม เลือกให้เธอไม่ไปได้หรือเปล่า
เราอาจจะไม่สามารถเลือกให้ใครอยู่กับเราตลอดไปได้ แต่เราสามารถฉลาดเลื
อก ฉลาดซื้อได้ โดยเลือกซื้อสินค้าขนาดใหญ่ เพื่อที่จะได้มีใช้ไปนาน ๆ
และไม่ต้องซื้อใหม่บ่อย หรือเลือกซื้อแบบการเติม (Refill) ตามร้าน refill
ทั่วไปที่เริ่มมีมากขึ้นในปัจจุบัน
เพื่อลดการซื้อของในบรรจุภัณฑ์ใหม่ สิ่งนี้จะเป็นการช่วยลดขยะพลาสติกได้เ
ป็นอย่างดี หรือบางท่านอาจจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีแพจเกจเป็นกระดาษ
แต่ต้องระลึกไว้เสมอว่า เพจเกจกระดาษนั้นไม่มีการเคลือบพลาสติกใดๆ
ทั้งสิ้น เพื่อจะไม่เป็นการทาลายธรรมชาติ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
6.ถุงผ้านี้ๆๆๆๆ ใช้แล้วดีๆๆๆๆ ทุกอย่างมีๆๆๆๆ
ขาชอปทั้งหลายฟังทางนี้ เนื่องจากขณะนี้ตามห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ
เริ่มทยอยกันงดแจกถุงพลาสติกให้กับคนที่มาชอปปิงแล้ว
หากคุณต้องการถุงจะต้องจ่ายเงินเพิ่มเพื่อซื้อ
จะเป็นการดีกว่าไหมถ้าคุณพกถุงผ้าของคุณไปเอง
ทีนี้ก็จะได้ชอปปิ้งอย่างสบายใจกันแล้ว
7. บอกลากันสักทีจะดีไหม ยื้อก็เหมือนเราจะยิ่งเหนื่อย
ได้เวลาบอกลาหมากฝรั่งแล้ว หลาย ๆ
คนอาจจะชอบเคี้ยวหมากฝรั่งด้วยสาเหตุต่าง ๆ กันไป เช่น เพื่อดับกลิ่นปาก
เพื่อสุขภาพฟัน เพื่อความเพลิดเพลิน
แต่บางคนอาจยังไม่รู้ถึงภัยของเจ้าหมากฝรั่งตัวร้ายนี้
เพราะมันทามาจากพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่ไม่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรร
มชาติ หรือก็คือพลาสติกนั่นเอง
ขอบคุณภาพโดย Ryan McGuire จาก Pixabay © Ryan McGuire
นี่คือวิธีง่าย ๆ ที่เรานาเสนอ
แล้วคุณล่ะคะมีวิธีอื่นอีกไหมที่จะช่วยลดขยะพลาสติก
แถมมมม!!!
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-0บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโค
รงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารราย
งาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เข้าใจถึงปัญหาขยะในทะเล
2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้
3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4.ทุกคนตระหนักถึงผลกระทบของขยะมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
บรรณานุกรม
https://www.greenpeace.org/thailand/
https://www.bltbangkok.com/
Cr.http://www.judprakai.com/life/503
https://news.thaipbs.or.th/infographic/66

More Related Content

Similar to Com

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Bliss_09
 
โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611
theerajet
 
ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุมประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
oncpmkk19042542
 

Similar to Com (20)

โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2559 project 13
2559 project 132559 project 13
2559 project 13
 
2559 project 13
2559 project 132559 project 13
2559 project 13
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
10
1010
10
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611โครงงานคอม 611
โครงงานคอม 611
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุมประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 
2557 โครงงานภาษาอาเซียน
2557 โครงงานภาษาอาเซียน2557 โครงงานภาษาอาเซียน
2557 โครงงานภาษาอาเซียน
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

Com

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน แผนที่ความคิดสร้างจินตนาการ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชชา รื่นอารมณ์ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. ชื่อโครงงาน ทาอย่างไรจึงจะแก้ปัญหาขยะในทะเล ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชชา รื่นอารมณ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลกนี้ไม่อาจดารงอยู่ได้หากไม่มีผืนมหาสมุทรที่กินพื้น ที่ ร้ อ ย ล ะ 70 ข อ ง ด า ว เ ค ร า ะ ห์ ที่ ชื่ อ ว่ า โลก มหาสมุทรเป็ นแหล่งผลิตออกซิเจนให้เราหายใจ เป็ นแหล่งอาหาร อีกทั้งยังเป็นบ้านและแหล่งอนุบาลสิ่งมีชีวิตนับร้อยนับพันลึกลงไปใต้ทะเล นอ ก จ า ก นี้ แ ล้ว ม ห า ส มุ ท ร ยัง ป ก ป้ อ ง เ ร า จ า ก ภัย ธ ร ร ม ช า ติต่างๆ ดอกไม้ทะเลและปะการังนั้นเป็นเกราะกาบังเราจากพายุและคลื่นทะเล สถานที่อันกว้างใหญ่แห่งนี้เต็มไปด้วยที่เรื่องราวน่าอัศจรรย์ใจ บ้านของสัตว์ทะเลน้อยใหญ่มากกว่าร้อยละ 80 สายพันธุ์ เช่น วาฬ โลมา ฉลาม พะยูน เต่า และปลากระเบน ข้อมูลจาก World Register of Marine Species ระบุว่าผืนมหาสมุทรนั้นมีสัตว์ที่อาศัยอยู่กว่า 240,470 สายพันธุ์ เ ชื่ อ กัน ว่ า ยั ง มี สัต ว์ ท ะ เ ล อี ก จ า น ว น ม า ก ที่ ยั ง ไ ม่ ถู ก ค้ น พ บ และปัจจุบันก็ยังมีการสารวจพบสิ่งมีชีวิตใหม่ๆอยู่ตลอดเวลา อย่างไรก็ต าม มห าสมุทรใน วัน นี้ ไ ม่เ ห มื อน เดิมอี ก ต่ อ ไ ป เพราะในทุกๆวันเราได้รับข่าวร้ายเกี่ยวกับการทาลายล้างมหาสมุทร ภัยคุกคา มที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรนั้นเกิดมีตั้งแต่มลพิษพลาสติกไปจนถึงการรั่วไหลของ น้ามันดิบ คร่าชีวิตสิ่งมีชีวิตในทะเลไปอย่างเงียบๆ หลายครั้งที่เราพบนกทะเล โลมาและเต่า เกยตื้นอยู่บริเวณชายหาดทั้งในประเทศ ไทย อินโดนีเซีย แ ล ะ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ จากสาเหตุการกินขยะพลาสติกที่อยู่ในทะเลและทางผู้จัดทาโครงงาน ได้เล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และอยากที่จะช่วยให้ทะเลกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง จึ ง เ ป็ น เ ห ตุ ผ ล ที่ ผู้ จัด ท า โ ค ร ง ง า น ตัด สิ น ใ จ เ ลื อ ก หั ว ข้ อ นี้ เ พ ร า ะ ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ ผู้ จั ด ท า จ ะ ไ ด้ ช่ ว ย ท ะ เ ล เ ท่ า นั้ น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้นี้ต่อให้คนที่ได้มาอ่านโครงงานนี้ทาให้ทุ กคนตระหนักและช่วยกันดูแลทะเลให้น่าอยู่ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงผลเสียของการทิ้งขยะลงทะเล 2.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้
  • 3. 3.สามารถอธิบายถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับทะเลในปัจจุบันได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.ขยะทาลายทะเลอย่างไร 2.ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.สาเหตุที่เราต้องช่วยกันปกป้องมหาสมุทร 4.วิธีช่วยลดขยะในทะเลง่ายๆ หลักการและทฤษฎี �ขยะ ทาลายทะเลอย่างไร?� ขยะที่พบมากที่สุดในทะเลก็คงจะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกจาก"พลาสติก" พลาสติก คือ "เพชฌฆาต" ของสิ่งมีชีวิตในท้องทะเล หลังผ่าพิสูจน์พบเศษพลาสติกในท้องของมันจานวนมาก นอกจากนี้ยังมี “ไมโครพลาสติก” วายร้ายที่มองไม่เห็นเพราะมีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตรเข้าร่วมทาลายท้องทะเลอีกด้วยโดยไมโครพลาสติกนั้นเกิดขึ้นจากสอ งแหล่งหลักๆ ด้วยกัน คือ 1. ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม และในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง เช่น ยาสีฟัน สครับหน้า ยากันแดด โฟม อาบน้า และ ผงซักฟอก เป็นต้น (ปัจจุบันได้ห้ามใช้ในหลาย ๆ ประเทศ) 2.เกิดมาจากการย่อยสลายหรือแตกตัวของพลาสติกขนาดใหญ่พลาสติกที่มีขน าดใหญ่เมื่อไหลลงสู่แม่น้าและทะเลแล้ว จะเกิดการสลายตัวหรือการแตกเป็นชิ้นเล็กเกิดขึ้นเมื่อได้รับอิทธิพลจากแสงอุ ลตราไวโอเล็ต และอุณหภูมิที่สูงจากดวงอาทิตย์ทาให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับออกซิเจนทาให้เ กิดการเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของพลาสติก และเกิดการแตกตัวเกิดขึ้น ปัจจุบันพบการแพร่กระจายของไมโครพลาสติกไปทุกพื้นที่ของทะเลและมหา สมุทร แม้กระทั่งในสัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลลึกที่มีความลึกมาก 10 กิโลเมตรก็ยั งพบว่า มีไมโครพลาสติกปนเปื้อน
  • 4. ถามว่า ไมโครพลาสติกมีผลกระทบอย่างไรต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล?? พลาสติกมีส่วนผสมทางเคมีที่ใช้ในการกาหนดคุณสมบัติ (additive chemicals) ที่จะถูกปล่อยออกมาเมื่อเกิดการย่อยสลาย ที่อาจสะสมและเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่รับไมโครพลาสติกเข้าไป ซึ่งจากการศึกษาในสัตว์หลายชนิด พบมีการสะสมของสารพิษที่มาจากพลาสติกเกือบทั่วโลก, พื้นที่ผิวของไมโคร พลาสติกจะเป็นพื้นที่ให้สารมลพิษหรือแบคทีเรียมายึดเกาะและสะสมได้ เมื่อสิ่งมีชีวิตรับเข้าไปจะส่งผลกระทบได้ต่อสิ่งมีชีวิตนั้น, ไมโครพลาสติ กส่งผลกระทบต่อทางกายภาพ หรือทางชีววิทยาต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล เช่น การพบว่ามีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของแพลงตอนสัตว์บางชนิด รวมทั้งมีผลกระทบที่อาจเกิดกับมนุษย์ที่เป็นผู้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์จาก ทะเล แม้กระทั่งในสัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลที่มีความลึกถึง 10 กิโลเมตร ก็ยังพบว่า มีไมโครพลาสติกปนเปื้อนเช่นกัน กว่า "ขยะ" ในทะเลจะย่อยสลาย กว่า "มนุษย์" จะเปลี่ยนพฤติกรรม ขยะแต่ละชนิดอาจใช้ระยะเวลาย่อยสลายเป็นเวลาหลายสิบหลายร้อยปี ทีเดียว Cr.http://www.judprakai.com/life/503
  • 5. Cr.https://news.thaipbs.or.th/infographic/66 �ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน� �ขยะส่งผลกระทบเสี่ยงสัตว์ทะเลสูญพันธุ์ รายงานจากองค์กรอนุรักษ์ท้องทะเล (Ocean Conservancy) ระบุว่า หลายประเทศในอาเซียนทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลมากสุดในโลก โดยขยะพลาสติกกว่า 8 ล้านตัน มาจากประเทศจีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และไทย หากยังไม่มีการแก้ไขจะทาให้ขยะเพิ่มขึ้นอย่างเท่าตัว และอาจส่งผลกระทบต่อสัตว์ทะเลเสี่ยงสูญพันธุ์มากขึ้น ด้านรายงานสถานการณ์สัตว์ทะเลหายากเสี่ยงสูญพันธุ์ จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) พบว่า เต่าทะเล พะยูน โลมา และวาฬ ซึ่งเป็นดัชนีชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ มีแนวโน้มการเกยตื้นเพิ่มขึ้น โดยผลสารวจ 3 ปีย้อนหลัง พบว่า สัตว์ทะเลเกยตื้นเฉลี่ยปีละ 400 ตัว แบ่งเป็นเต่าทะเล 54% โลมาและวาฬ 41% และพะยูน 5% ด้านสถิติในช่วงปี 2546-2560 พบสัตว์ทะเลหายากเกยตื้นรวม 3,702 ตัว โดยช่วงที่พบมากสุด คือปี 2560 จานวน 566 ครั้ง และปี 2559 จานวน 449 ครั้ง �ขยะพลาสติกจุดจบชีวิตสัตว์ทะเล ขยะทะเลมีทั้งขยะที่เกิดจากการท่องเที่ยว การทาประมง ภาคอุตสาหกรรม การเดินเรือพาณิชย์ รวมถึงการทิ้งขยะลงทะเลโดยผิดกฎหมาย โดยแหล่งที่มาของขยะทะเลส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมบนฝั่ง เช่น ชุมชน แหล่งทิ้งขยะบนฝั่ง บริเวณท่าเรือ และการท่องเที่ยวชายหาด และจากกิจกรรมในทะเล เช่น การขนส่งทางทะเล การประมง และการท่องเที่ยวทางทะเล เป็นต้น ขยะพลาสติกเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้สัตว์ทะเลเหล่านี้ต้องจบชีวิตลงอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเต่าทะเลที่เกยตื้นจากผลกระทบของขยะทะเล เช่น
  • 6. การเกี่ยวพันของอวน มีสัดส่วนสูงถึง 20-40% และเกิดจากการกลืนขยะทะเลเข้าไปสะสมอยู่ในระบบทางเดินอาหาร มีสัดส่วน 2-3% ทั้งนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าขยะทะเลส่วนใหญ่เกิดจากน้ามือของมนุษย์ทั้งทางตรงและทาง อ้อม เช่น ถุงพลาสติก ขวด ภาชนะใส่อาหาร และวัสดุสาหรับบรรจุหีบห่อ รวมทั้งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เช่น สายรัด แผ่นพลาสติก เครื่องมือประมง เช่น แห อวน ลอบ เป็นต้น �เรากาลังเผชิญกับ “การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่” เมื่อเร็วๆนี้ องค์การสหประชาชาติเปิดเผยรายงานที่ระบุว่า สปีชีส์กว่า 1 ล้านสายพันธุ์กาลังเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงต่อ การสูญพันธุ์ใหญ่ ครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ ซึ่งรายงานจากคณะทางานระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพแ ละนิเวศบริการ (IPBES) นี้ทาให้เรากังวลต่อความหลากหลายทางชีวภาพของโลก ดอกเตอร์รัสเซล นอร์แมน ผู้อานวยการบริหารจากกรีนพีซ นิวซีแลนด์ ให้ความเห็นเกี่ยวกับความกังวลในครั้งนี้ว่า “เราทราบดีว่าจะเกิดสถานการณ์ที่เลวร้าย แต่เราคาดไม่ถึงว่าจะเลวร้ายขนาดนี้ เรากาลังเผชิญกับ การสูญพันธุ์ใหญ่ครั้งที่ 6 ในประวัติศาสตร์โลก ซึ่งมนุษย์เรามีส่วนกับเรื่องนี้ ตอนนี้สิ่งที่เราทาไว้กับธรรมชาติได้ย้อนกลับมาทาร้ายพวกเราแล้ว” ปลาและหอยกินพลาสติกชิ้นเล็ก ๆ เข้าไป พลาสติกเหล่านั้นจะเข้าไปสะสมในตัวปลา หลังจากนั้นพวกมันถูกกินโดยปลาใหญ่ ลาพังพลาสติกนั้นก็เป็นพิษอยู่แล้ว แต่ก็ยังดูดซับสารเคมีที่เป็นพิษจานวนมากจากมหาสมุทรเข้าไปอีก ปลาเหล่านี้ถูกจับและกินโดยมนุษย์พร้อมกับพลาสติกและสารเคมีที่สะสมอยู่ใน ตัวมัน โดยพื้นฐานแล้วก็คือคุณกาลังกินพลาสติกที่คุณเป็นคนทิ้งลงไปในมหาสมุทรนั่ นเอง
  • 7. 3 เหตุผล ที่เราต้องช่วยกันปกป้ องมหาสมุทรโลก�� 1. เพิ่มเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล = เพิ่มชีวิตสัตว์ทะเล!� จากผลวิจัยระบุว่า “เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล” จะช่วยให้ชีวมวลของสัตว์ทะเลและพืชเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า และยังขยายพื้นที่ออกเป็นวงกว้าง นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็นแหล่งเพาะพั นธุ์ของเหล่าสัตว์ทะเลที่ถูกคุกคามอีกด้วย เช่น วาฬและเต่าทะเล ยิ่งไปกว่านั้น เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลยังช่วยปกป้ องห่วงโซ่อาหารใต้ทะเลและสร้าง ความยั่งยืนในกับความหลากหลายทางชีวภาพ และสิ่งสาคัญอีกข้อของเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลนี้ก็คือ จะช่วยสร้างความยืดหยุ่นให้กับสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทรในการต่อสู้กับผลกระทบ จากวิกฤตสภาพภูมิอากาศและสภาวะความเป็นกรดในมหาสมุทร 2.เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเล ทาให้ฝูงปลาในทะเลเพิ่มขึ้นและเศรษฐกิจที่ดีขึ้น� จากการวิจัยของเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิกร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลจะช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจในระดับชุมชน โดยเข ตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลนี้มีส่วนช่วยฟื้นฟูการท่องเที่ยวและการทาประม งนอกเขตคุ้มครอง โดยต้นทุนสาหรับการพัฒนาเขตคุ้มครองทางทะเลสามารถเห็นผลไดภายในเว ลา 5 ปี ซึ่งถือเป็นระยะเวลาที่สั้นมาก ตัวอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ชิลี นิวซีแลนด์ และเกาะปาเลา ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่ ามีความเป็นไปได้ในเชิงนโยบายที่จะกาหนดพื้นที่ขนาดใหญ่ที่ห้ามไม่ให้อุตส าหกรรมเช่น อุตสาหกรรมการประมง เหมืองแร่และการขุดเจาะน้ามัน เข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ได้ นอกจากประเทศเหล่านี้แล้วยังมีแคนาดาที่เพิ่งประกาศจากัดพื้นที่สาหรับอุตสา หกรรมเหล่านี้อีกด้วย ดังนั้น การกาหนดเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลในน่านน้าสากลก็เปรียบเสมือนก ารนาไปสู่การกระจายเขตคุ้มครองให้กับทรัพยากรใต้ทะเลทั่วๆกัน
  • 8. ซึ่งรัฐใกล้ชายฝั่งไปจนถึงประเทศหลายประเทศในกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ก็จะไ ด้รับผลประโยชน์จากการกาหนดเขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลอีกด้วย 3.เขตคุ้มครองระบบนิเวศทางทะเลจะช่วยปกป้ องเราจากผลกระทบของวิกฤต สภาพภูมิอากาศ� เชื่อหรือไม่ว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของโลกมากกว่าครึ่ง ถูกกักเก็บไว้ในซากของสัตว์ทะเล! ทั้งนี้ไม่เพียงแต่บริเวณที่มีพรุน้าเค็ม ป่าชายเลน และผืนสาหร่ายและหญ้าทะเล ที่ทาหน้าที่กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แต่ยังช่วยชะลอผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แม้กระทั่งอุจจาระของวาฬหรือสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นๆเช่นแพลงก์ตอนพืชซึ่งอา ศัยอยู่ในน่านน้าสากลเองก็มีส่วนช่วยในการดูดซับและแยกก๊าซคาร์บอนไดออ กไซด์จากบรรยากาศลงสู่มหาสมุทร ช่วยทะเลกันนน�� �5 วิธีบอกรักและปกป้ องมหาสมุทร 1.สนใจและทาความเข้าใจในประเด็นทะเลและมหาสมุทร มีข้อมูลน่าสนใจมากมายเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทรที่ให้เราได้ลองศึกษา ไม่ว่าจะเป็นประเด็นภัยคุกคามจากมนุษย์หรือแม้กระทั่งความมหัศจรรย์ของม หาสมุทร หากยังนึกไม่ออกว่ามหาสมุทรนั้นน่าอัศจรรย์ใจเพียงใด ลองดูปลาหมึกหลากสีตัวนี้ ซึ่งถูกค้นพบใกล้ๆกับประเทศฟิลิปปินส์ 2.ลดใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง
  • 9. ลดใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง เปลี่ยนมาลองใช้ภาชนะใช้ซ้า “พลาสติกไม่ใช่สิ่งมหัศจรรย์ ที่จะย่อยสลายหาไปไหนได้ เพราะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งคือตัวการก่อมลพิษในทะเลและเป็นอันตรายต่ อสัตว์ทะเล รวมถึงสัตว์บนบกด้วยนะ แต่ไม่เป็นไร มาลองใช้ชีวิตตามฮาวทูลดใช้พลาสติกกันสักหน่อย หรือลองลดพลาสติกที่ไม่จาเป็นเช่น ถุงพลาสติก หลอด แก้วพลาสติก ถ้าลองแล้วเวิร์คก็ชวนเพื่อนๆหรือคนที่เรารักมาลดใช้พลาสติกไปด้วยกันเลย! 3.ฉลาดเลือก ฉลาดซื้ออาหารทะเล เลือกซื้อปลา อาหารทะเล จากการประมงยั่งยืนและรู้ที่มา © Bente Stachowske / Greenpeace หากคุณเป็นคนหนึ่งที่รักการกินอาหารทะเล ไม่ว่าจะเป็นอาหารทะเลสดๆหรืออาหารทะเลบรรจุกระป๋ อง การเลือกซื้ออาหารทะเลที่ยั่งยืนเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยปกป้องมหาสมุท รได้ หลีกเลี่ยงการกินอาหารทะเลจากแบรนด์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องการการประมงเกินข นาด การทาลายทรัพยากรในทะเลและการใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม
  • 10. ตรวจสอบความยั่งยืนของแบรนด์อาหารทะเลต่างๆได้ที่รายงานของกรีนพีซ ร ายงานการจัดอันดับความยั่งยืนปลาทูน่ากระป๋องปี พ.ศ.2561 4.สนับสนุนหลักสูตรเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทรให้กับเยาวชน ความรู้นั้นเป็นสิ่งสาคัญและความรู้เกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทรก็เป็ นสิ่งสาคัญ ที่เยาวชนคนรุ่นใหม่ควรศึกษาไว้ ไม่ใช่เพีงแค่ประเด็นทะเลและมหาสมุทรเท่านั้น แต่อาจเป็นประเด็นสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ในโลกก็ได้ โรงเรียนควรมีหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เยาวชน และครอบครัว ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสถานการณ์ ความสาคัญจาเป็นที่พวกเขาต้องปกป้ องสิ่งแวดล้อมบนโลกต่อไป เ ด็กๆถือป้ ายรูปสัตว์ทะเลที่ชอบเพื่อรณรงค์ปกป้ องมหาสมุทรโลกแ ละสัตว์ที่พวกเ ขารัก © Luis Liwanag / Greenpeace เมื่อเยาวชนเหล่านี้เติบโตไปขึ้นไปในระดับมัธยมหรือมหาวิทยาลัย พวกเขาจะสามารถเป็นผู้นา เป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจในการปกป้องมหาสมุทร ซึ่งเราหวังว่าวิธีการนี้จะเปลี่ยนแปลงและสามารถอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้ในระย ะยาว 5.เรียกร้องให้รัฐบาลสนับสนุน “สนธิสัญญาทะเลหลวง” โดยองค์การสหประชาชาติ สนธิสัญญาทะเลหลวง เป็นสนธิสัญญาใหม่ที่จะช่วยปกป้องมหาสมุทรของเราให้พ้นจากภัยคุกคามทุก รูปแบบ รัฐบาลจากหลายประเทศเริ่มทางานเกี่ยวกับสนธิสัญญาฉบับนี้ร่วมกับองค์การ สหประชาชาติ โดยหวังว่าจะสามารถปกป้องมหาสมุทร 1 ใน 3 ส่วนของโลก โดยไม่อนุญาตให้ทาประมงขนาดใหญ หรือทาเหมืองใต้ทะเล รวมถึงการทาอุตสาหกรรมแบบทาลายล้างทุกรูปแบบ
  • 11. �วิธีช่วยลดขยะในทะเล7วิธี วิธีสุดแสนจะง่าย ที่คุณสามารถทาได้เพื่อลดขยะพลาสติก ถึงเวลาแล้วที่พลาสติกจะต้องหมดไป! 1.กฏข้อแรกก็คือห้ามทิ้ง! สิ่งของไม่ใช้แล้ว อย่าเพิ่งทิ้งค่ะ ลองนามาดัดแปลงเป็นของ D.I.Y กันดู เช่น กระถางต้นไม้จากขวดน้าพลาสติก หรือเสื้อยืดตัวเก่าที่ไม่ได้ใส่แล้วมาตัด เป็นถุงผ้าไว้ชอปปิง เป็นต้น ซึ่งนอกจากวิธีนี้จะช่วยลดปริมาณขยะได้แล้ว ยังเป็นการฝึกความคิดสร้างสรรค์ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อีกด้วยค่ะ 2.ไม่เอานะเกรงใจ ไม่ดีหรอกเกรงใจ
  • 12. รู้จักปฏิเสธ ไม่รับหลอดพลาสติก ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน หรือเมื่อคุณสั่งเครื่องดื่มตามร้านอาหารใด ๆ ก็ตาม หรืออาจเปลี่ยนมาใช้หลอดสแตนเลสหรือหลอดซิลิโคนที่สามารถนากลับมาใช้ ใหม่ได้แทน หลอดพลาสติกมักเป็นสินค้าแบบใช้ครั้งเดียวที่ไม่จาเป็น มันใช้เวลานานถึง 200 ปีในการย่อยสลาย แต่มันจะไม่มีวันหมดไปจากโลก เพราะพลาสติกเหล่านี้เพียงแค่แตกตัวเป็นพลาสติกชิ้นเล็กๆ หรือไมโครพลาสติก และที่แย่ไปกว่านั้น พลาสติกเหล่านี้จะปล่อยสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม และสุดท้ายก็จะย้อนกลับมาหาตัวเราเอง 3. ประวัติศาสตร์จะไม่ซ้า ประวัติศาสตร์จะต้องเปลี่ยน ถึงเวลาแล้วที่จะเปลี่ยนอาหารกลางวันแบบเดิม ๆ ของคุณ ที่เต็มไปด้วยพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง เปลี่ยนมาแพ็คอาหารกลางวันของคุณในภาชนะและขวดที่สามารถนากลับมาใ ช้ใหม่ได้ เช่น กล่องข้าวและขวดน้าซิลิโคนที่สามารถพับได้ หรือห่อขนมแซนวิชด้วย Beewax Wrap เป็นต้น ไม่ว่าจะนาไปจากบ้าน หรือไปซื้ออาหาร เครื่องดื่มที่ไหนก็ตาม 4.ช่วยเก็บผ้าเช็ดหน้าของฉันหน่อยได้ไหม เพราะฉันทามันตก
  • 13. “ทิชชูเปียก” กลายเป็นสิ่งจาเป็นและขาดไม่ได้สาหรับใครหลาย ๆ คน เพราะมันแสนจะสะดวกสบายและใช้ง่าย ตามรายงานของสถาบัน EarthWatch พบว่าทิชชูเปียกเป็นต้นเหตุของการที่ระบบท่อน้าเสียอุดตัน และทิชชูเปียกกว่า 9.3 ล้านแผ่นถูกใช้ในการล้างเครื่องสาอางหรือใช้เช็ดมือแทนการล้างมือ แต่ทราบหรือเปล่าคะว่าเจ้าทิชชูเปียกนี้ใช้เวลานานกว่า 100 ปีในการย่อยสลายทางชีวภาพเลยทีเดียว ที่เป็นแบบนั้นก็เพราะมันทามาจากโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนประกอบของใยพลาส ติก และผ่านกระบวนการทางเคมี จึงไม่สามารถย่อยสลายได้อย่างรวดเร็วเหมือนทิชชูหรือผ้าทั่วไป เมื่อถูกใช้และทิ้งจึงกลายเป็นขยะที่ไม่ต่างอะไรกับขยะพลาสติก หากเราเปลี่ยนมาใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนก็จะเป็นการช่วยลดขยะพลาสติกไปได้อีก ทางหนึ่ง นอกจากนี้ผ้าเช็ดหน้ายังสามารถซักและนามากลับใช้ซ้าได้เรื่อย ๆ ด้วยค่ะ 5.แล้วฉันเลือกอะไรได้ไหม เลือกให้เธอไม่ไปได้หรือเปล่า
  • 14. เราอาจจะไม่สามารถเลือกให้ใครอยู่กับเราตลอดไปได้ แต่เราสามารถฉลาดเลื อก ฉลาดซื้อได้ โดยเลือกซื้อสินค้าขนาดใหญ่ เพื่อที่จะได้มีใช้ไปนาน ๆ และไม่ต้องซื้อใหม่บ่อย หรือเลือกซื้อแบบการเติม (Refill) ตามร้าน refill ทั่วไปที่เริ่มมีมากขึ้นในปัจจุบัน เพื่อลดการซื้อของในบรรจุภัณฑ์ใหม่ สิ่งนี้จะเป็นการช่วยลดขยะพลาสติกได้เ ป็นอย่างดี หรือบางท่านอาจจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีแพจเกจเป็นกระดาษ แต่ต้องระลึกไว้เสมอว่า เพจเกจกระดาษนั้นไม่มีการเคลือบพลาสติกใดๆ ทั้งสิ้น เพื่อจะไม่เป็นการทาลายธรรมชาติ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6.ถุงผ้านี้ๆๆๆๆ ใช้แล้วดีๆๆๆๆ ทุกอย่างมีๆๆๆๆ
  • 15. ขาชอปทั้งหลายฟังทางนี้ เนื่องจากขณะนี้ตามห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ เริ่มทยอยกันงดแจกถุงพลาสติกให้กับคนที่มาชอปปิงแล้ว หากคุณต้องการถุงจะต้องจ่ายเงินเพิ่มเพื่อซื้อ จะเป็นการดีกว่าไหมถ้าคุณพกถุงผ้าของคุณไปเอง ทีนี้ก็จะได้ชอปปิ้งอย่างสบายใจกันแล้ว 7. บอกลากันสักทีจะดีไหม ยื้อก็เหมือนเราจะยิ่งเหนื่อย ได้เวลาบอกลาหมากฝรั่งแล้ว หลาย ๆ คนอาจจะชอบเคี้ยวหมากฝรั่งด้วยสาเหตุต่าง ๆ กันไป เช่น เพื่อดับกลิ่นปาก เพื่อสุขภาพฟัน เพื่อความเพลิดเพลิน แต่บางคนอาจยังไม่รู้ถึงภัยของเจ้าหมากฝรั่งตัวร้ายนี้ เพราะมันทามาจากพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่ไม่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรร มชาติ หรือก็คือพลาสติกนั่นเอง
  • 16. ขอบคุณภาพโดย Ryan McGuire จาก Pixabay © Ryan McGuire นี่คือวิธีง่าย ๆ ที่เรานาเสนอ แล้วคุณล่ะคะมีวิธีอื่นอีกไหมที่จะช่วยลดขยะพลาสติก แถมมมม!!!
  • 17. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -0บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโค รงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารราย งาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เข้าใจถึงปัญหาขยะในทะเล 2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้ 3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้ 4.ทุกคนตระหนักถึงผลกระทบของขยะมากขึ้น