SlideShare a Scribd company logo
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๒๐ ชยทิสจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ดวงจันทร์พ้นจากปากราหู ย่อมรุ่งเรืองดุจแสงสว่างในวันเพ็ญฉันใด. ท่านกปิละผู้มีอานุภาพใหญ่
ท่านพ้นจากโปริสาทย่อมรุ่งโรจน์ฉันนั้น. พระองค์ยังพระชนกชนนีให้ปลาบปลื้ม ทั้งผู้ที่เป็นฝ่ายพระญาติทั้ง
ปวงของพระองค์ก็ยินดี.
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๙. ชยทิสจริยา
ว่าด้วยพระจริยาของพระเจ้าชัยทิศ
[๗๔] ในกรุงที่ประเสริฐชื่อกัปปิลา เป็นนครที่อุดมในแคว้นปัญจาละ ได้มีพระราชาพระนามว่า
ชัยทิศ ประกอบด้วยคุณคือศีล
[๗๕] เราเป็นโอรสของพระราชาพระองค์นั้น มีธรรมอันสดับแล้ว มีศีลดีงาม มีนามว่าอลีนสัตต
กุมาร มีคุณสงเคราะห์บริวารชนทุกเมื่อ
[๗๖] พระราชบิดาของเราเสด็จล่าเนื้ อ ได้เข้าใกล้พระยาโปริสาท พระยาโปริสาทนั้นได้จับพระ
ราชบิดาของเราแล้วกล่าวว่า ท่านเป็นอาหารของเรา อย่าดิ้นรนไปเลย
[๗๗] พระราชบิดาของเราทรงสดับคาของพระยาโปริสาทนั้น ตกพระทัย สะดุ้งหวาดหวั่น มีพระ
เพลาแข็ง (พระเพลาแข็ง หมายถึงขาแข็งไม่สามารถจะหนีไปได้) เพราะทอดพระเนตรเห็นพระยาโปริสาท
[๗๘] พระยาโปริสาทรับเอาเนื้ อแล้วปล่อยไปโดยบังคับให้กลับมาอีก พระราชบิดาพระราชทาน
ทรัพย์แก่พราหมณ์แล้วตรัสเรียกเรามาว่า
[๗๙] ลูกเอ๋ย จงปกครองราชสมบัติ อย่าประมาทปกครองนครนี้ พระยาโปริสาทบังคับพ่อให้
กลับไปหาอีก
[๘๐] เราไหว้พระราชมารดาและพระราชบิดาแล้ว ตกแต่งร่างกาย สะพายธนู เหน็บพระแสง
ขรรค์ ออกไปหาพระยาโปริสาท(เราคิดว่า)
[๘๑] พระยาโปริสาทเห็นเรามีอาวุธถืออยู่ในมือ บางทีจักสะดุ้งกลัว แต่เพราะเมื่อเราทาความ
สะดุ้งกลัวต่อพระยาโปริสาท ศีลของเราจะขาด
[๘๒] เพราะเรากลัวศีลจะขาด จึงไม่กล่าววาจาน่ารังเกียจแก่พระยาโปริสารทนั้น เรามีเมตตาจิต
กล่าวคาที่เป็นประโยชน์ว่า
2
[๘๓] “ท่านจงก่อไฟกองใหญ่ขึ้น เราจักโดดจากต้นไม้เข้ากองไฟ ท่านปู่ ท่านรู้เวลาว่า เราสุกดี
แล้วจงกินเถิด”
[๘๔] เราไม่ได้รักษาชีวิตของเราเพราะเหตุแห่งพระราชบิดาผู้ทรงศีล และเราได้ให้พระยาโปริ
สาทผู้ฆ่าสัตว์เป็นปกติทุกเมื่อนั้นบวชแล้ว ฉะนี้ แล
ชยทิสจริยาที่ ๙ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี
๙. ชยทิสจริยา
อรรถกถาชยทิสจริยาที่ ๙
ได้ยินว่า วันหนึ่ง พระเจ้าชยทิศเสด็จออกจากกบิลนครพร้อมด้วยบริวารใหญ่อันสมควรแก่
พระองค์ ด้วยมีพระประสงค์ว่าจักไปล่าเนื้ อ.
พอพระราชาเสด็จออกไปได้พักหนึ่ง นันทพราหมณ์ชาวเมืองตักกสิลาถือเอาคาถาชื่อว่าสตารหา
๔ บท เข้าไปหาเพื่อจะบอก แล้วกราบทูลถึงเหตุที่ตนมาแด่พระราชา.
พระราชาทรงดาริว่าเราจักกลับไปฟัง จึงพระราชทานเรือนเป็นที่อยู่และเสบียงแก่เขาแล้วเสด็จ
เข้าป่าตรัสว่า เนื้ อหนีไปทางข้างของผู้ใด ผู้นั้นจะต้องถูกปรับสินไหม. แล้วทรงเที่ยวล่าเนื้ อ.
ครั้งนั้น เนื้ อฟานตัวหนึ่งได้ยินเสียงเท้าของคนเป็นอันมากจึงออกจากที่อยู่หนีไปทางพระราชา.
พวกอามาตย์หัวเราะชอบใจ. พระราชาทรงตามเนื้ อนั้นไปสุดทาง ๓ โยชน์ ทรงยิงเนื้ อนั้นซึ่งหมดกาลังให้ล้ม
ลง.
พระราชาทรงเอาพระขรรค์ชาแหละเนื้ อที่ล้มลงนั้นออกเป็นสองส่วน แม้พระองค์ไม่ปรารถนา ก็
เพื่อปลดเปลื้องคาพูดว่า พระราชาไม่สามารถจับมฤคเอาเนื้ อไปได้ จึงทรงทาคานคอนเสด็จมา ประทับนั่ง
เหนือหญ้าแพรกที่โคนต้นไทรต้นหนึ่ง ทรงพักครู่หนึ่งเตรียมจะเสด็จไป.
ก็สมัยนั้น พระเชษฐาของพระราชานั้น ในวันประสูติถูกยักษิณีจับไปเพื่อจะกิน ยักษิณีนั้นถูก
พวกมนุษย์อารักขาติดตามไปถึงทางทดน้า จึงวางพระกุมารไว้ที่อก พระกุมารดูดนมด้วยสาคัญว่าพระ
มารดา.
ยักษิณีเกิดความรักคล้ายบุตร จึงเลี้ยงดูอย่างดี พระกุมารเสวยเนื้ อมนุษย์เพราะเขาประกอบ
เป็นอาหารให้เสวย ครั้นเจริญวัยขึ้นตามลาดับ ก็หายตัวได้ด้วยอานุภาพของรากยาที่ยักษิณีให้เพื่อหายตัวได้
จึงเสวยเนื้ อมนุษย์เลี้ยงชีพ.
เมื่อยักษิณีตาย รากยานั้นหายด้วยความประมาทของตน จึงมีร่างปรากฏ เปลือยน่ากลัว เคี้ยว
กินเนื้ อมนุษย์ เห็นราชบุรุษที่ติดตามหาพระราชา จึงหนีเข้าป่าอาศัยอยู่ที่โคนต้นไทรนั้น.
ครั้นเห็นพระราชาจึงพูดว่า ท่านเป็นอาหารของเราแล้ว จึงจับที่พระหัตถ์.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
3
พระยาโปริสาทนั้นได้จับพระบิดาของเรา แล้วกล่าวว่า ท่านเป็นอาหารของเรา อย่าดิ้นรน.
พระบิดาของเราทรงสดับคาของพระยาโปริสาทนั้น ทรงกลับสะดุ้งหวาดหวั่น พระองค์มีพระ
เพลาแข็งกระด้าง เพราะทรงเห็นพระยาโปริสาท พระยาโปริสาทรับเอาเนื้ อแล้ว ปล่อยไป โดยบังคับให้
กลับมาอีก.
ลาดับนั้น พระราชาทรงพระดาริว่า เจ้าโปริสาทนี้ คงจะไม่ปล่อยเรา เพราะเอาเนื้ อเป็นสินไถ่แน่.
อนึ่ง เมื่อเรามาล่าเนื้ อได้ทาปฏิญญาไว้กับพราหมณ์นั้นว่า เรากลับมาแล้วจะให้ทรัพย์ท่าน หาก
ยักษ์นั้นอนุญาต เราจะรักษาคาสัตย์ไว้กลับไปเรือนปลดเปลื้องปฏิญญานั้นแล้ว จะพึงกลับมาเป็นอาหาร
ของยักษ์นี้ อีก ทรงแจ้งความนั้นแก่ยักษ์.
พระยาโปริสาทฟังดังนั้นแล้วกล่าวว่า หากท่านรักษาคาสัตย์ประสงค์จะไป. ท่านไปให้ทรัพย์แก่
พราหมณ์นั้นแล้วรักษาคาสัตย์ พึงรีบกลับมาอีกแล้วปล่อยพระราชาไป.
พระราชาครั้นพระยาโปริสาทปล่อยแล้วจึงตรัสว่า ท่านอย่าวิตกไปเลย เราจะมาแต่เช้าทีเดียว.
แล้วทรงสังเกตเครื่องหมายทาง เสด็จเข้าไปถึงหมู่พลของพระองค์ อันหมู่พลแวดล้อมเสด็จเข้าพระนคร ตรัส
เรียกนันทพราหมณ์นั้นมา ให้นั่งเหนืออาสนะอันสมควร ทรงสดับคาถาเหล่านั้นแล้วพระราชทานทรัพย์
๔,๐๐๐ ให้พราหมณ์ขึ้นยาน มีพระดารัสว่า พวกท่านจงนาพราหมณ์นี้ ไปส่งให้ถึงเมืองตักกสิลา แล้วทรงให้
พวกมนุษย์ไปส่งพราหมณ์.
ในวันที่สองมีพระประสงค์จะไปหาพระยาโปริสาท เมื่อทรงตั้งพระโอรสไว้ในราชสมบัติ จึงทรง
ให้โอวาทตรัสบอกความนั้น.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
พระยาโปริสาทรับเอาเนื้ อแล้ว ปล่อยไปโดยบังคับให้กลับมาอีก พระบิดาพระราชทานทรัพย์แก่
พราหมณ์ แล้วตรัสเรียกเรามาว่า ดูก่อนลูก ลูกจงปกครองราชสมบัติ อย่าประมาท ปกครองนครนี้ พระยา
โปริสาทบังคับพ่อ ให้พ่อกลับไปหาอีก.
พระราชาตรัสว่า ดูก่อนลูก ลูกจงปกครองราชสมบัติอันเป็นของตระกูลนี้ เถิด พ่อครองราช
สมบัติโดยธรรมโดยเสมอไว้อย่างใด แม้ลูกเขายกเศวตฉัตรให้ครองราชสมบัติก็จงเป็นอย่างนั้น. ลูกรักษา
พระนครนี้ และครองราชสมบัติ อย่าได้ถึงความประมาทเลย. พ่อได้รับรองไว้กับยักษ์โปริสาทที่โคนต้นไทรใน
ที่โน้นว่า พ่อจะมาหาเขาอีก. พ่อรักษาคาสัตย์จึงกลับมาที่นี้ ก็เพื่อให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้นอย่างเดียว.
เพราะฉะนั้น พ่อจะกลับ ณ ที่นั้น.
พระมหาสัตว์ทรงสดับดังนั้นจึงทูลว่า ข้าแต่มหาราช พระบิดาอย่าเสด็จไป ณ ที่นั้นเลย พระเจ้า
ข้า. หม่อมฉันจักไป ณ ที่นั้นเอง. ข้าแต่พระบิดา หากพระบิดาจักเสด็จไปให้ได้. แม้หม่อมฉันก็จักไปกับพระ
บิดาด้วย.
พระโพธิสัตว์ทรงดาริว่า เมื่อเป็นอย่างนั้น เราจะไปทั้งสองก็ไม่ได้ เพราะฉะนั้น เรานี่แหละจักไป
ณ ที่นั้นเอง. ได้รับอนุญาตจากพระราชาผู้ทรงห้ามโดยประการต่างๆ แล้วถวายบังคมพระมารดาบิดา ทรง
สละชีวิตเพื่อประโยชน์แก่พระบิดา.
เมื่อพระบิดาทรงให้โอวาทและเมื่อพระมารดา พระภคินี พระชายากระทาสัจจกิริยา เพื่อความ
4
สวัสดีจึงถืออาวุธออกจากพระนคร ตรัสอาลามหาชนผู้มีหน้านองด้วยน้าตาติดตามไป ทรงดาเนินไปตาม
ทางที่อยู่ของยักษ์โดยนัยที่พระบิดาทรงบอกไว้.
แม้บุตรยักษิณีก็คิดว่า ขึ้นชื่อว่ากษัตริย์มีมารยามาก. ใครจะรู้ จักเป็นอย่างไร จึงขึ้นต้นไม้นั่ง
คอยดูการมาของพระราชา เห็นพระกุมารเสด็จมาจึงคิดว่าบุตรจักมาแทนบิดา. ภัยไม่มีแก่เราแน่จึงลงจาก
ต้นไม้ นั่งหันหลังให้พระโพธิสัตว์.
พระมหาสัตว์เสด็จมาประทับยืนข้างหน้าพระยาโปริสาทนั้น.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราถวายบังคมพระมารดาบิดาแล้ว ตกแต่งร่างกาย สะพายธนูเหน็บพระแสงขรรค์ ออกไปหา
พระยาโปริสาท.
พระยาโปริสาทเห็นมีมือถืออาวุธ บางทีจักสะดุ้งกลัว แต่เพราะเมื่อเราทาความสะดุ้งกลัวแก่
พระยาโปริสาท ศีลของเราจะเศร้าหมอง เพราะเรากลัวศีลจะขาด จึงไม่นาสิ่งที่น่าเกลียด เข้าไปใกล้พระยา
โปริสาทนั้น เรามีเมตตาจิต กล่าวคาเป็นประโยชน์จึงได้กล่าวคานี้ .
พระมหาสัตว์ครั้นเสด็จไปประทับยืนอยู่ข้างหน้า.
บุตรยักษิณีประสงค์จะทดลองพระมหาสัตว์นั้น จึงถามว่า ท่านเป็นใคร มาแต่ไหน ท่านไม่รู้จัก
เราหรือว่าเราเป็นพรานกินเนื้ อมนุษย์ เหตุไรท่านจึงมาถึงที่นี่.
พระกุมารตรัสว่า เราเป็นโอรสของพระเจ้าชยทิส เรารู้ว่าท่านคือโปริสาทผู้กินคน เรามาที่นี่ก็
เพื่อจะรักษาพระชนม์ของพระบิดา เพราะฉะนั้น ท่านจงเว้นพระบิดา กินเราแทนเถิด.
บุตรยักษิณีกล่าวด้วยอาการฉงนอีกว่า เรารู้จักท่านว่าเป็นโอรสของพระราชาชยทิสนั้น แต่ท่าน
มาอย่างนี้ ชื่อว่าท่านกระทาสิ่งที่ทาได้ยาก.
พระกุมารตรัสว่า ไม่ยากเลย การสละชีวิตในเพราะประโยชน์ของบิดา.
จริงอยู่ บุคคลทาบุญเห็นปานนี้ เพราะเหตุมารดาบิดา ย่อมบันเทิงในสวรรค์โดยส่วนเดียว
เท่านั้น.
อนึ่ง เรารู้ว่า สัตว์ไรๆ ชื่อว่าไม่มีความตายเป็นธรรมดานั้นย่อมไม่มี และเราจะไม่ระลึกถึงบาป
อย่างใดอย่างหนึ่งที่ตนทาไว้. เพราะฉะนั้น เราจึงไม่กลัวต่อความตาย เราสละชีวิตนี้ ให้แก่ท่าน.
แล้วตรัสว่า ท่านจงก่อไฟแล้วกินเราเถิด.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ท่านจงเอาแก่นไม้มาก่อไฟให้เป็นกองใหญ่ เราจะโดดเข้าไป. ท่านผู้เป็นพระเจ้าลุง ท่านทราบ
เวลาว่าเราสุกดีแล้ว จงกินเถิด.
บุตรยักษิณีได้ฟังดังนั้นคิดว่า เราไม่อาจกินเนื้ อกุมารนี้ ได้. เราจักให้กุมารนี้ หนีไปโดยอุบาย จึง
กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านจงเข้าป่าหาไม้มีแก่น มาทาให้เป็นถ่านเพลิงไม่มีควัน. เราจะปิ้ งเนื้ อท่านที่ถ่านเพลิง
นั้นแล้วกินเสีย.
พระมหาสัตว์ได้ทาตามนั้นแล้วจึงบอกแก่โปริสาท.
โปริสาทแลดูพระกุมารนั้นคิดว่า กุมารนี้ เป็นบุรุษสีหราชไม่กลัวแม้แต่ความตาย คนไม่กลัวตาย
5
อย่างนี้ เราไม่เคยเห็น. เกิดขนลุกชันมองดูพระกุมาร.
พระกุมารตรัสถามว่า ท่านมองดูเราทาไมเล่า ท่านไม่ทาตามคาพูด.
บุตรยักษิณีกล่าวกะพระมหาสัตว์ว่า ผู้ใดกินท่าน ศีรษะของผู้นั้นจะพึงแตก ๗ เสี่ยง. พระมหา
สัตว์ตรัสว่า หากท่านไม่ประสงค์จะกินเรา ท่านก่อไฟทาไมเล่า.
ยักษ์ตอบว่า เพื่อข่มท่าน.
พระกุมารเมื่อจะทรงแสดงเนื้ อความนั้นว่า ท่านจักข่มเราได้อย่างไรในบัดนี้ . เราแม้เกิดใน
กาเนิดเดียรัจฉานก็ยังมิให้ท้าวสักกเทวราชข่มเราได้เลยดังนี้ จึงกล่าวคาถาว่า
ก็กระต่ายนั้นสาคัญว่า ท้าวสักกะนี้ เป็นพราหมณ์ จึงได้เชิญให้อยู่ ณ ที่นั้น. ข้าแต่เทวะ ด้วยเหตุ
นั้นแล กระต่ายนั้นจึงเป็นจันทิมาเทพบุตร ได้ความสรรเสริญด้วยเสียงว่า สส ให้เจริญความใคร่จนทุกวันนี้ .
พระมหาสัตว์ทรงแสดงเครื่องหมายกระต่ายในดวงจันทร์ อันเป็นปาฏิหาริย์ ตั้งอยู่ตลอดกัปให้
เป็นพยาน แล้วได้ตรัสถึงความที่พระองค์ แม้ท้าวสักกะก็ไม่สามารถจะข่มได้.
พระยาโปริสาทได้ฟังดังนั้นเกิดจิตอัศจรรย์ไม่เคยมี จึงกล่าวคาถาว่า
ดวงจันทร์พ้นจากปากราหู ย่อมรุ่งเรืองดุจแสงสว่างในวันเพ็ญฉันใด. ท่านกปิละผู้มีอานุภาพ
ใหญ่ ท่านพ้นจากโปริสาทย่อมรุ่งโรจน์ฉันนั้น. พระองค์ยังพระชนกชนนีให้ปลาบปลื้ม ทั้งผู้ที่เป็นฝ่ายพระ
ญาติทั้งปวงของพระองค์ก็ยินดี.
แล้วก็ปล่อยพระกุมารไปด้วยทูลว่า ขอท่านผู้เป็นวีระบุรุษผู้ยิ่งใหญ่จงกลับไปเถิด.
แม้พระมหาสัตว์ก็ทรงทาให้โปริสาทนั้นหมดพยศได้ แล้วให้ศีล ๕.
เมื่อจะทรงทดลองดูว่า โปริสาทนี้ เป็นยักษ์หรือไม่จึงสันนิษฐานเอาโดยไม่พลาด ดุจด้วยพระ
สัพพัญญุตญาณโดยอนุมาน คือถือเอาตามนัยดังนี้ คือ นัยน์ตายักษ์มีสีแดงไม่กะพริบ, เงาไม่ปรากฏ, ไม่
หวาดสะดุ้ง.
โปริสาทนี้ ไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นจึงไม่ใช่ยักษ์ เป็นมนุษย์นี่เอง.
นัยว่า พระบิดาของเรามีพระภาดา ๓ องค์ ถูกยักษิณีจับไป. ทั้ง ๓ องค์นั้นถูกยักษิณีกินเสีย ๒
องค์. องค์หนึ่งยักษิณีเลี้ยงดูด้วยความรักเหมือนลูก.
โปริสาทนี้ คงจักเป็นองค์นั้นเป็นแน่แล้วคิดว่า เราจักทูลพระบิดาของเราให้ตั้งโปริสาทไว้ในราช
สมบัติ แล้วกล่าวว่า ท่านมิใช่ยักษ์เป็นพระเชษฐาของพระบิดาของเรา มาเถิดท่านจงมาไปกับเรา แล้ว
ครองราชสมบัติอันเป็นของตระกูล.
ดังที่พระกุมารกล่าวว่า ท่านเป็นลุงของเรา.
เมื่อโปริสาทกล่าวว่า เราไม่ใช่มนุษย์.
พระกุมารจึงนาไปหาดาบสผู้มีตาทิพย์ซึ่งโปริสาทเชื่อถือ.
เมื่อดาบสกล่าวถึงความเป็นพ่อว่า พวกท่านทาอะไรกันทั้งพ่อทั้งลูกเที่ยวไปในป่าดังนี้ โปริสาท
จึงเชื่อกล่าวว่า ไปเถิดลูก เราไม่ต้องการราชสมบัติ เราจักบวชละ แล้วบวชเป็นฤๅษีอยู่ในสานักของดาบส.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เรามิได้รักษาชีวิตของเรา เพราะเหตุแห่งพระบิดาเป็นผู้ทรงศีล เราได้ให้พระยาโปริสาท ผู้ฆ่า
6
สัตว์เป็นปกติทุกเมื่อนั้นบวชแล้ว.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ทรงนมัสการพระเจ้าลุงของตนซึ่งบวชแล้วไปใกล้พระนคร. พระราชา
ชาวพระนคร ชาวนิคม ชาวชนบท ได้ฟังว่าพระกุมารเสด็จกลับมาแล้ว ต่างก็ร่าเริงยินดีลุกไปตั้งรับ. พระ
กุมารถวายบังคมพระราชา แล้วทูลเรื่องราวทั้งหมดให้ทรงทราบ.
พระราชาได้ทรงสดับดังนั้นแล้ว ในขณะนั้นเองจึงทรงรับสั่งให้ตีกลองป่าวประกาศ เสด็จไปหา
พระดาบสโปริสาทนั้นด้วยบริวารใหญ่แล้วตรัสว่า ข้าแต่เจ้าพี่ ขอเชิญเจ้าพี่มาครองราชสมบัติเถิด.
พระดาบสทูลว่า อย่าเลย มหาบพิตร.
พระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น นิมนต์อยู่ในพระราชอุทยานของข้าพเจ้าเถิด.
พระดาบสทูลว่า อาตมาไม่มา.
พระราชารับสั่งให้ปลูกบ้านใกล้อาศรมนั้นแล้วจัดตั้งภิกษา. บ้านนั้นชื่อจูฬกัมมาสทัมมนิคม.
พระมารดาพระบิดาในครั้งนั้น ได้เป็นมหาราชตระกูลในครั้งนี้ .
พระดาบส คือพระสารีบุตร.
โปริสาท คือพระองคุลิมาล.
พระกนิษฐา คือนางอุบลวรรณา.
พระอัครมเหสี คือมารดาพระราหุล.
อลีนสัตตุกุมาร คือพระโลกนาถ.
อนึ่ง พึงประกาศคุณานุภาพของพระโพธิสัตว์ไว้ในจริยานี้ มีอาทิอย่างนี้ คือ
การที่พระบิดาทรงห้ามสละชีวิตของตน เพื่อรักษาชีวิตของพระบิดาจึงตัดสินพระทัยว่า จักไปหา
โปริสาท.
การที่วางศัสตราไปเพื่อมิให้โปริสาทนั้นหวาดสะดุ้ง.
การเจรจาถ้อยคาน่ารักกับโปริสาทนั้นด้วยหวังว่า ศีลของตนจงอย่าขาดเลย.
การไม่มีความสะดุ้งต่อความตาย ทั้งๆ ที่โปริสาทนั้นข่มขู่โดยนัยต่างๆ.
การร่าเริงยินดีว่า เราจักทาร่างกายของเราให้มีผลในประโยชน์ของพระบิดา.
การรู้ภาวะของตนที่ไม่คานึงถึงชีวิต เพื่อบริจาคในชาติเป็นกระต่าย ซึ่งแม้ท้าวสักกะก็ไม่
สามารถจะข่มได้.
การไม่มีความผิดปกติแม้เมื่อถูกสมาคมปล่อย.
การรู้ไม่ผิดพลาดของความเป็นมนุษย์ และความเป็นพระเจ้าลุงของโปริสาทนั้น.
ความเป็นผู้ใคร่เพื่อให้โปริสาทนั้น ดารงอยู่ในราชสมบัติอันเป็นของตระกูลเพียงได้รู้จักกัน.
การให้โปริสาทเกิดสลดใจในการแสดงธรรมแล้วให้ตั้งอยู่ในศีล.
จบอรรถกถาชยทิสจริยาที่ ๙
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 20 ชยทิสจริยา มจร.pdf

๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
maruay songtanin
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf
maruay songtanin
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
maruay songtanin
 
14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf
14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf
14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]AY'z Felon
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Jatupol Yothakote
 

Similar to 20 ชยทิสจริยา มจร.pdf (20)

๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก.pdf
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
441 จตุโปสถิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
17 รุรุราชจริยา มจร.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
Ppt 1
Ppt 1Ppt 1
Ppt 1
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
ประวัติพระแก้วมรกต
ประวัติพระแก้วมรกตประวัติพระแก้วมรกต
ประวัติพระแก้วมรกต
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก.pdf
 
ทสชาติชาดก(ย่อ)
ทสชาติชาดก(ย่อ)ทสชาติชาดก(ย่อ)
ทสชาติชาดก(ย่อ)
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
477 จูฬนารทกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
 
14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf
14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf
14 จัมเปยยจริยา มจร.pdf
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
 
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
 

More from maruay songtanin

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 

20 ชยทิสจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๒๐ ชยทิสจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ดวงจันทร์พ้นจากปากราหู ย่อมรุ่งเรืองดุจแสงสว่างในวันเพ็ญฉันใด. ท่านกปิละผู้มีอานุภาพใหญ่ ท่านพ้นจากโปริสาทย่อมรุ่งโรจน์ฉันนั้น. พระองค์ยังพระชนกชนนีให้ปลาบปลื้ม ทั้งผู้ที่เป็นฝ่ายพระญาติทั้ง ปวงของพระองค์ก็ยินดี. พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๙. ชยทิสจริยา ว่าด้วยพระจริยาของพระเจ้าชัยทิศ [๗๔] ในกรุงที่ประเสริฐชื่อกัปปิลา เป็นนครที่อุดมในแคว้นปัญจาละ ได้มีพระราชาพระนามว่า ชัยทิศ ประกอบด้วยคุณคือศีล [๗๕] เราเป็นโอรสของพระราชาพระองค์นั้น มีธรรมอันสดับแล้ว มีศีลดีงาม มีนามว่าอลีนสัตต กุมาร มีคุณสงเคราะห์บริวารชนทุกเมื่อ [๗๖] พระราชบิดาของเราเสด็จล่าเนื้ อ ได้เข้าใกล้พระยาโปริสาท พระยาโปริสาทนั้นได้จับพระ ราชบิดาของเราแล้วกล่าวว่า ท่านเป็นอาหารของเรา อย่าดิ้นรนไปเลย [๗๗] พระราชบิดาของเราทรงสดับคาของพระยาโปริสาทนั้น ตกพระทัย สะดุ้งหวาดหวั่น มีพระ เพลาแข็ง (พระเพลาแข็ง หมายถึงขาแข็งไม่สามารถจะหนีไปได้) เพราะทอดพระเนตรเห็นพระยาโปริสาท [๗๘] พระยาโปริสาทรับเอาเนื้ อแล้วปล่อยไปโดยบังคับให้กลับมาอีก พระราชบิดาพระราชทาน ทรัพย์แก่พราหมณ์แล้วตรัสเรียกเรามาว่า [๗๙] ลูกเอ๋ย จงปกครองราชสมบัติ อย่าประมาทปกครองนครนี้ พระยาโปริสาทบังคับพ่อให้ กลับไปหาอีก [๘๐] เราไหว้พระราชมารดาและพระราชบิดาแล้ว ตกแต่งร่างกาย สะพายธนู เหน็บพระแสง ขรรค์ ออกไปหาพระยาโปริสาท(เราคิดว่า) [๘๑] พระยาโปริสาทเห็นเรามีอาวุธถืออยู่ในมือ บางทีจักสะดุ้งกลัว แต่เพราะเมื่อเราทาความ สะดุ้งกลัวต่อพระยาโปริสาท ศีลของเราจะขาด [๘๒] เพราะเรากลัวศีลจะขาด จึงไม่กล่าววาจาน่ารังเกียจแก่พระยาโปริสารทนั้น เรามีเมตตาจิต กล่าวคาที่เป็นประโยชน์ว่า
  • 2. 2 [๘๓] “ท่านจงก่อไฟกองใหญ่ขึ้น เราจักโดดจากต้นไม้เข้ากองไฟ ท่านปู่ ท่านรู้เวลาว่า เราสุกดี แล้วจงกินเถิด” [๘๔] เราไม่ได้รักษาชีวิตของเราเพราะเหตุแห่งพระราชบิดาผู้ทรงศีล และเราได้ให้พระยาโปริ สาทผู้ฆ่าสัตว์เป็นปกติทุกเมื่อนั้นบวชแล้ว ฉะนี้ แล ชยทิสจริยาที่ ๙ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี ๙. ชยทิสจริยา อรรถกถาชยทิสจริยาที่ ๙ ได้ยินว่า วันหนึ่ง พระเจ้าชยทิศเสด็จออกจากกบิลนครพร้อมด้วยบริวารใหญ่อันสมควรแก่ พระองค์ ด้วยมีพระประสงค์ว่าจักไปล่าเนื้ อ. พอพระราชาเสด็จออกไปได้พักหนึ่ง นันทพราหมณ์ชาวเมืองตักกสิลาถือเอาคาถาชื่อว่าสตารหา ๔ บท เข้าไปหาเพื่อจะบอก แล้วกราบทูลถึงเหตุที่ตนมาแด่พระราชา. พระราชาทรงดาริว่าเราจักกลับไปฟัง จึงพระราชทานเรือนเป็นที่อยู่และเสบียงแก่เขาแล้วเสด็จ เข้าป่าตรัสว่า เนื้ อหนีไปทางข้างของผู้ใด ผู้นั้นจะต้องถูกปรับสินไหม. แล้วทรงเที่ยวล่าเนื้ อ. ครั้งนั้น เนื้ อฟานตัวหนึ่งได้ยินเสียงเท้าของคนเป็นอันมากจึงออกจากที่อยู่หนีไปทางพระราชา. พวกอามาตย์หัวเราะชอบใจ. พระราชาทรงตามเนื้ อนั้นไปสุดทาง ๓ โยชน์ ทรงยิงเนื้ อนั้นซึ่งหมดกาลังให้ล้ม ลง. พระราชาทรงเอาพระขรรค์ชาแหละเนื้ อที่ล้มลงนั้นออกเป็นสองส่วน แม้พระองค์ไม่ปรารถนา ก็ เพื่อปลดเปลื้องคาพูดว่า พระราชาไม่สามารถจับมฤคเอาเนื้ อไปได้ จึงทรงทาคานคอนเสด็จมา ประทับนั่ง เหนือหญ้าแพรกที่โคนต้นไทรต้นหนึ่ง ทรงพักครู่หนึ่งเตรียมจะเสด็จไป. ก็สมัยนั้น พระเชษฐาของพระราชานั้น ในวันประสูติถูกยักษิณีจับไปเพื่อจะกิน ยักษิณีนั้นถูก พวกมนุษย์อารักขาติดตามไปถึงทางทดน้า จึงวางพระกุมารไว้ที่อก พระกุมารดูดนมด้วยสาคัญว่าพระ มารดา. ยักษิณีเกิดความรักคล้ายบุตร จึงเลี้ยงดูอย่างดี พระกุมารเสวยเนื้ อมนุษย์เพราะเขาประกอบ เป็นอาหารให้เสวย ครั้นเจริญวัยขึ้นตามลาดับ ก็หายตัวได้ด้วยอานุภาพของรากยาที่ยักษิณีให้เพื่อหายตัวได้ จึงเสวยเนื้ อมนุษย์เลี้ยงชีพ. เมื่อยักษิณีตาย รากยานั้นหายด้วยความประมาทของตน จึงมีร่างปรากฏ เปลือยน่ากลัว เคี้ยว กินเนื้ อมนุษย์ เห็นราชบุรุษที่ติดตามหาพระราชา จึงหนีเข้าป่าอาศัยอยู่ที่โคนต้นไทรนั้น. ครั้นเห็นพระราชาจึงพูดว่า ท่านเป็นอาหารของเราแล้ว จึงจับที่พระหัตถ์. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
  • 3. 3 พระยาโปริสาทนั้นได้จับพระบิดาของเรา แล้วกล่าวว่า ท่านเป็นอาหารของเรา อย่าดิ้นรน. พระบิดาของเราทรงสดับคาของพระยาโปริสาทนั้น ทรงกลับสะดุ้งหวาดหวั่น พระองค์มีพระ เพลาแข็งกระด้าง เพราะทรงเห็นพระยาโปริสาท พระยาโปริสาทรับเอาเนื้ อแล้ว ปล่อยไป โดยบังคับให้ กลับมาอีก. ลาดับนั้น พระราชาทรงพระดาริว่า เจ้าโปริสาทนี้ คงจะไม่ปล่อยเรา เพราะเอาเนื้ อเป็นสินไถ่แน่. อนึ่ง เมื่อเรามาล่าเนื้ อได้ทาปฏิญญาไว้กับพราหมณ์นั้นว่า เรากลับมาแล้วจะให้ทรัพย์ท่าน หาก ยักษ์นั้นอนุญาต เราจะรักษาคาสัตย์ไว้กลับไปเรือนปลดเปลื้องปฏิญญานั้นแล้ว จะพึงกลับมาเป็นอาหาร ของยักษ์นี้ อีก ทรงแจ้งความนั้นแก่ยักษ์. พระยาโปริสาทฟังดังนั้นแล้วกล่าวว่า หากท่านรักษาคาสัตย์ประสงค์จะไป. ท่านไปให้ทรัพย์แก่ พราหมณ์นั้นแล้วรักษาคาสัตย์ พึงรีบกลับมาอีกแล้วปล่อยพระราชาไป. พระราชาครั้นพระยาโปริสาทปล่อยแล้วจึงตรัสว่า ท่านอย่าวิตกไปเลย เราจะมาแต่เช้าทีเดียว. แล้วทรงสังเกตเครื่องหมายทาง เสด็จเข้าไปถึงหมู่พลของพระองค์ อันหมู่พลแวดล้อมเสด็จเข้าพระนคร ตรัส เรียกนันทพราหมณ์นั้นมา ให้นั่งเหนืออาสนะอันสมควร ทรงสดับคาถาเหล่านั้นแล้วพระราชทานทรัพย์ ๔,๐๐๐ ให้พราหมณ์ขึ้นยาน มีพระดารัสว่า พวกท่านจงนาพราหมณ์นี้ ไปส่งให้ถึงเมืองตักกสิลา แล้วทรงให้ พวกมนุษย์ไปส่งพราหมณ์. ในวันที่สองมีพระประสงค์จะไปหาพระยาโปริสาท เมื่อทรงตั้งพระโอรสไว้ในราชสมบัติ จึงทรง ให้โอวาทตรัสบอกความนั้น. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า พระยาโปริสาทรับเอาเนื้ อแล้ว ปล่อยไปโดยบังคับให้กลับมาอีก พระบิดาพระราชทานทรัพย์แก่ พราหมณ์ แล้วตรัสเรียกเรามาว่า ดูก่อนลูก ลูกจงปกครองราชสมบัติ อย่าประมาท ปกครองนครนี้ พระยา โปริสาทบังคับพ่อ ให้พ่อกลับไปหาอีก. พระราชาตรัสว่า ดูก่อนลูก ลูกจงปกครองราชสมบัติอันเป็นของตระกูลนี้ เถิด พ่อครองราช สมบัติโดยธรรมโดยเสมอไว้อย่างใด แม้ลูกเขายกเศวตฉัตรให้ครองราชสมบัติก็จงเป็นอย่างนั้น. ลูกรักษา พระนครนี้ และครองราชสมบัติ อย่าได้ถึงความประมาทเลย. พ่อได้รับรองไว้กับยักษ์โปริสาทที่โคนต้นไทรใน ที่โน้นว่า พ่อจะมาหาเขาอีก. พ่อรักษาคาสัตย์จึงกลับมาที่นี้ ก็เพื่อให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้นอย่างเดียว. เพราะฉะนั้น พ่อจะกลับ ณ ที่นั้น. พระมหาสัตว์ทรงสดับดังนั้นจึงทูลว่า ข้าแต่มหาราช พระบิดาอย่าเสด็จไป ณ ที่นั้นเลย พระเจ้า ข้า. หม่อมฉันจักไป ณ ที่นั้นเอง. ข้าแต่พระบิดา หากพระบิดาจักเสด็จไปให้ได้. แม้หม่อมฉันก็จักไปกับพระ บิดาด้วย. พระโพธิสัตว์ทรงดาริว่า เมื่อเป็นอย่างนั้น เราจะไปทั้งสองก็ไม่ได้ เพราะฉะนั้น เรานี่แหละจักไป ณ ที่นั้นเอง. ได้รับอนุญาตจากพระราชาผู้ทรงห้ามโดยประการต่างๆ แล้วถวายบังคมพระมารดาบิดา ทรง สละชีวิตเพื่อประโยชน์แก่พระบิดา. เมื่อพระบิดาทรงให้โอวาทและเมื่อพระมารดา พระภคินี พระชายากระทาสัจจกิริยา เพื่อความ
  • 4. 4 สวัสดีจึงถืออาวุธออกจากพระนคร ตรัสอาลามหาชนผู้มีหน้านองด้วยน้าตาติดตามไป ทรงดาเนินไปตาม ทางที่อยู่ของยักษ์โดยนัยที่พระบิดาทรงบอกไว้. แม้บุตรยักษิณีก็คิดว่า ขึ้นชื่อว่ากษัตริย์มีมารยามาก. ใครจะรู้ จักเป็นอย่างไร จึงขึ้นต้นไม้นั่ง คอยดูการมาของพระราชา เห็นพระกุมารเสด็จมาจึงคิดว่าบุตรจักมาแทนบิดา. ภัยไม่มีแก่เราแน่จึงลงจาก ต้นไม้ นั่งหันหลังให้พระโพธิสัตว์. พระมหาสัตว์เสด็จมาประทับยืนข้างหน้าพระยาโปริสาทนั้น. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราถวายบังคมพระมารดาบิดาแล้ว ตกแต่งร่างกาย สะพายธนูเหน็บพระแสงขรรค์ ออกไปหา พระยาโปริสาท. พระยาโปริสาทเห็นมีมือถืออาวุธ บางทีจักสะดุ้งกลัว แต่เพราะเมื่อเราทาความสะดุ้งกลัวแก่ พระยาโปริสาท ศีลของเราจะเศร้าหมอง เพราะเรากลัวศีลจะขาด จึงไม่นาสิ่งที่น่าเกลียด เข้าไปใกล้พระยา โปริสาทนั้น เรามีเมตตาจิต กล่าวคาเป็นประโยชน์จึงได้กล่าวคานี้ . พระมหาสัตว์ครั้นเสด็จไปประทับยืนอยู่ข้างหน้า. บุตรยักษิณีประสงค์จะทดลองพระมหาสัตว์นั้น จึงถามว่า ท่านเป็นใคร มาแต่ไหน ท่านไม่รู้จัก เราหรือว่าเราเป็นพรานกินเนื้ อมนุษย์ เหตุไรท่านจึงมาถึงที่นี่. พระกุมารตรัสว่า เราเป็นโอรสของพระเจ้าชยทิส เรารู้ว่าท่านคือโปริสาทผู้กินคน เรามาที่นี่ก็ เพื่อจะรักษาพระชนม์ของพระบิดา เพราะฉะนั้น ท่านจงเว้นพระบิดา กินเราแทนเถิด. บุตรยักษิณีกล่าวด้วยอาการฉงนอีกว่า เรารู้จักท่านว่าเป็นโอรสของพระราชาชยทิสนั้น แต่ท่าน มาอย่างนี้ ชื่อว่าท่านกระทาสิ่งที่ทาได้ยาก. พระกุมารตรัสว่า ไม่ยากเลย การสละชีวิตในเพราะประโยชน์ของบิดา. จริงอยู่ บุคคลทาบุญเห็นปานนี้ เพราะเหตุมารดาบิดา ย่อมบันเทิงในสวรรค์โดยส่วนเดียว เท่านั้น. อนึ่ง เรารู้ว่า สัตว์ไรๆ ชื่อว่าไม่มีความตายเป็นธรรมดานั้นย่อมไม่มี และเราจะไม่ระลึกถึงบาป อย่างใดอย่างหนึ่งที่ตนทาไว้. เพราะฉะนั้น เราจึงไม่กลัวต่อความตาย เราสละชีวิตนี้ ให้แก่ท่าน. แล้วตรัสว่า ท่านจงก่อไฟแล้วกินเราเถิด. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ท่านจงเอาแก่นไม้มาก่อไฟให้เป็นกองใหญ่ เราจะโดดเข้าไป. ท่านผู้เป็นพระเจ้าลุง ท่านทราบ เวลาว่าเราสุกดีแล้ว จงกินเถิด. บุตรยักษิณีได้ฟังดังนั้นคิดว่า เราไม่อาจกินเนื้ อกุมารนี้ ได้. เราจักให้กุมารนี้ หนีไปโดยอุบาย จึง กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านจงเข้าป่าหาไม้มีแก่น มาทาให้เป็นถ่านเพลิงไม่มีควัน. เราจะปิ้ งเนื้ อท่านที่ถ่านเพลิง นั้นแล้วกินเสีย. พระมหาสัตว์ได้ทาตามนั้นแล้วจึงบอกแก่โปริสาท. โปริสาทแลดูพระกุมารนั้นคิดว่า กุมารนี้ เป็นบุรุษสีหราชไม่กลัวแม้แต่ความตาย คนไม่กลัวตาย
  • 5. 5 อย่างนี้ เราไม่เคยเห็น. เกิดขนลุกชันมองดูพระกุมาร. พระกุมารตรัสถามว่า ท่านมองดูเราทาไมเล่า ท่านไม่ทาตามคาพูด. บุตรยักษิณีกล่าวกะพระมหาสัตว์ว่า ผู้ใดกินท่าน ศีรษะของผู้นั้นจะพึงแตก ๗ เสี่ยง. พระมหา สัตว์ตรัสว่า หากท่านไม่ประสงค์จะกินเรา ท่านก่อไฟทาไมเล่า. ยักษ์ตอบว่า เพื่อข่มท่าน. พระกุมารเมื่อจะทรงแสดงเนื้ อความนั้นว่า ท่านจักข่มเราได้อย่างไรในบัดนี้ . เราแม้เกิดใน กาเนิดเดียรัจฉานก็ยังมิให้ท้าวสักกเทวราชข่มเราได้เลยดังนี้ จึงกล่าวคาถาว่า ก็กระต่ายนั้นสาคัญว่า ท้าวสักกะนี้ เป็นพราหมณ์ จึงได้เชิญให้อยู่ ณ ที่นั้น. ข้าแต่เทวะ ด้วยเหตุ นั้นแล กระต่ายนั้นจึงเป็นจันทิมาเทพบุตร ได้ความสรรเสริญด้วยเสียงว่า สส ให้เจริญความใคร่จนทุกวันนี้ . พระมหาสัตว์ทรงแสดงเครื่องหมายกระต่ายในดวงจันทร์ อันเป็นปาฏิหาริย์ ตั้งอยู่ตลอดกัปให้ เป็นพยาน แล้วได้ตรัสถึงความที่พระองค์ แม้ท้าวสักกะก็ไม่สามารถจะข่มได้. พระยาโปริสาทได้ฟังดังนั้นเกิดจิตอัศจรรย์ไม่เคยมี จึงกล่าวคาถาว่า ดวงจันทร์พ้นจากปากราหู ย่อมรุ่งเรืองดุจแสงสว่างในวันเพ็ญฉันใด. ท่านกปิละผู้มีอานุภาพ ใหญ่ ท่านพ้นจากโปริสาทย่อมรุ่งโรจน์ฉันนั้น. พระองค์ยังพระชนกชนนีให้ปลาบปลื้ม ทั้งผู้ที่เป็นฝ่ายพระ ญาติทั้งปวงของพระองค์ก็ยินดี. แล้วก็ปล่อยพระกุมารไปด้วยทูลว่า ขอท่านผู้เป็นวีระบุรุษผู้ยิ่งใหญ่จงกลับไปเถิด. แม้พระมหาสัตว์ก็ทรงทาให้โปริสาทนั้นหมดพยศได้ แล้วให้ศีล ๕. เมื่อจะทรงทดลองดูว่า โปริสาทนี้ เป็นยักษ์หรือไม่จึงสันนิษฐานเอาโดยไม่พลาด ดุจด้วยพระ สัพพัญญุตญาณโดยอนุมาน คือถือเอาตามนัยดังนี้ คือ นัยน์ตายักษ์มีสีแดงไม่กะพริบ, เงาไม่ปรากฏ, ไม่ หวาดสะดุ้ง. โปริสาทนี้ ไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นจึงไม่ใช่ยักษ์ เป็นมนุษย์นี่เอง. นัยว่า พระบิดาของเรามีพระภาดา ๓ องค์ ถูกยักษิณีจับไป. ทั้ง ๓ องค์นั้นถูกยักษิณีกินเสีย ๒ องค์. องค์หนึ่งยักษิณีเลี้ยงดูด้วยความรักเหมือนลูก. โปริสาทนี้ คงจักเป็นองค์นั้นเป็นแน่แล้วคิดว่า เราจักทูลพระบิดาของเราให้ตั้งโปริสาทไว้ในราช สมบัติ แล้วกล่าวว่า ท่านมิใช่ยักษ์เป็นพระเชษฐาของพระบิดาของเรา มาเถิดท่านจงมาไปกับเรา แล้ว ครองราชสมบัติอันเป็นของตระกูล. ดังที่พระกุมารกล่าวว่า ท่านเป็นลุงของเรา. เมื่อโปริสาทกล่าวว่า เราไม่ใช่มนุษย์. พระกุมารจึงนาไปหาดาบสผู้มีตาทิพย์ซึ่งโปริสาทเชื่อถือ. เมื่อดาบสกล่าวถึงความเป็นพ่อว่า พวกท่านทาอะไรกันทั้งพ่อทั้งลูกเที่ยวไปในป่าดังนี้ โปริสาท จึงเชื่อกล่าวว่า ไปเถิดลูก เราไม่ต้องการราชสมบัติ เราจักบวชละ แล้วบวชเป็นฤๅษีอยู่ในสานักของดาบส. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เรามิได้รักษาชีวิตของเรา เพราะเหตุแห่งพระบิดาเป็นผู้ทรงศีล เราได้ให้พระยาโปริสาท ผู้ฆ่า
  • 6. 6 สัตว์เป็นปกติทุกเมื่อนั้นบวชแล้ว. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ทรงนมัสการพระเจ้าลุงของตนซึ่งบวชแล้วไปใกล้พระนคร. พระราชา ชาวพระนคร ชาวนิคม ชาวชนบท ได้ฟังว่าพระกุมารเสด็จกลับมาแล้ว ต่างก็ร่าเริงยินดีลุกไปตั้งรับ. พระ กุมารถวายบังคมพระราชา แล้วทูลเรื่องราวทั้งหมดให้ทรงทราบ. พระราชาได้ทรงสดับดังนั้นแล้ว ในขณะนั้นเองจึงทรงรับสั่งให้ตีกลองป่าวประกาศ เสด็จไปหา พระดาบสโปริสาทนั้นด้วยบริวารใหญ่แล้วตรัสว่า ข้าแต่เจ้าพี่ ขอเชิญเจ้าพี่มาครองราชสมบัติเถิด. พระดาบสทูลว่า อย่าเลย มหาบพิตร. พระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น นิมนต์อยู่ในพระราชอุทยานของข้าพเจ้าเถิด. พระดาบสทูลว่า อาตมาไม่มา. พระราชารับสั่งให้ปลูกบ้านใกล้อาศรมนั้นแล้วจัดตั้งภิกษา. บ้านนั้นชื่อจูฬกัมมาสทัมมนิคม. พระมารดาพระบิดาในครั้งนั้น ได้เป็นมหาราชตระกูลในครั้งนี้ . พระดาบส คือพระสารีบุตร. โปริสาท คือพระองคุลิมาล. พระกนิษฐา คือนางอุบลวรรณา. พระอัครมเหสี คือมารดาพระราหุล. อลีนสัตตุกุมาร คือพระโลกนาถ. อนึ่ง พึงประกาศคุณานุภาพของพระโพธิสัตว์ไว้ในจริยานี้ มีอาทิอย่างนี้ คือ การที่พระบิดาทรงห้ามสละชีวิตของตน เพื่อรักษาชีวิตของพระบิดาจึงตัดสินพระทัยว่า จักไปหา โปริสาท. การที่วางศัสตราไปเพื่อมิให้โปริสาทนั้นหวาดสะดุ้ง. การเจรจาถ้อยคาน่ารักกับโปริสาทนั้นด้วยหวังว่า ศีลของตนจงอย่าขาดเลย. การไม่มีความสะดุ้งต่อความตาย ทั้งๆ ที่โปริสาทนั้นข่มขู่โดยนัยต่างๆ. การร่าเริงยินดีว่า เราจักทาร่างกายของเราให้มีผลในประโยชน์ของพระบิดา. การรู้ภาวะของตนที่ไม่คานึงถึงชีวิต เพื่อบริจาคในชาติเป็นกระต่าย ซึ่งแม้ท้าวสักกะก็ไม่ สามารถจะข่มได้. การไม่มีความผิดปกติแม้เมื่อถูกสมาคมปล่อย. การรู้ไม่ผิดพลาดของความเป็นมนุษย์ และความเป็นพระเจ้าลุงของโปริสาทนั้น. ความเป็นผู้ใคร่เพื่อให้โปริสาทนั้น ดารงอยู่ในราชสมบัติอันเป็นของตระกูลเพียงได้รู้จักกัน. การให้โปริสาทเกิดสลดใจในการแสดงธรรมแล้วให้ตั้งอยู่ในศีล. จบอรรถกถาชยทิสจริยาที่ ๙ -----------------------------------------------------