SlideShare a Scribd company logo
คลื่นวิทยุ
       นาเสนอ
อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร
        สมาชิก
กฤติน ทองลงยา 7 4/7
ชานน เสริมศักดิ์ 14 4/7
คลื่นวิทยุ (Radio waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิด
หนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้นสเปกตรัม
แม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งสามารใช้ต้มน้าร้อนได้แล้วช่วยลดโลก
ร้อนได้
คลื่นวิทยุถูกค้นพบครังแรกระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดยเจมส์
                     ้
เคลิร์ก แมซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบาง
ประการที่คล้ายคลึงกับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้า
และแม่เหล็ก เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบ
ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้
สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความจริงโดยจาลองการสร้างคลืนวิทยุขึ้น
                                                                ่
ในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทา
                                   ี
ให้เราสามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
นิโคลา เทสลา และกูลเยลโม มาร์โกนี ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ระบบ
ทีนาคลืนวิทยุมาใช้ในการสื่อสาร
  ่     ่
องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ
คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นที่เดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิวดิน
หรือผิวน้าก็ได้ พิสัยของการกระจายคลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่า
ความนาทางไฟฟ้าของผิวที่คลื่นนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความ
นาจะเป็นตัวกาหนดการถูกดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิว
โลก การถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนี้จะเพิ่มขึ้นตามความถี่ที่สูงขึ้น
คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก
สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดย
มิได้มีการสะท้อนใด ๆ
3.คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ
ไปกระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ
4.คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศ
ชั้นต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็น
การหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงความ
หนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหัก
เหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศ
อย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและใน
ความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า
อุณหภูมิแปรกลับ
ผลของคลื่นวิทยุที่มีตอร่างกาย
                        ่
คลื่นวิทยุสามารถทะลุเข้าไปในร่างกายมนุษย์ได้ลึกประมาณ
1/10 ของความยาวคลื่นที่ตกกระทบ และอาจทาลายเนื้อเยื่อ
ของอวัยวะภายในบางชนิดได้ ผลการทาลายจะมากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับความเข้ม ช่วงเวลาที่ร่างกายได้รับคลื่นและชนิดของ
เนื้อเยื่อ อวัยวะที่มีความไวต่อคลื่นวิทยุ ได้แก่ นัยน์ตา ปอด
ถุงน้าดี กระเพาะปัสสาวะ อัณฑะ และบางส่วนของระบบ
ทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ เป็นอวัยวะที่
อ่อนแอที่สุดเมื่อได้รับคลื่นวิทยุช่วงไมโครเวฟ
คาถาม5ข้อ
          1.คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรก โดยใคร?
                 เจมส์ เคลิร์ก แมซ์เวลล์
2.องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ?
คลื่นผิวดิน คลื่นตรง คลื่นสะท้อนดิน คลืนหักเหโทรโปสเฟียร์
                                       ่
                3.คลื่นผิวดินคืออะไร?
                คลืนที่ผวดินและผิวน้า
                   ่ ิ
              4.ผลของคลืนวิทยุที่มีต่อร่างกายเช่น?
                        ่
     อาจทาลายเนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบางชนิดได้
              5.และจะทาลาย โดยเฉพาะอะไร?
                โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ
แหล่งอ้างอิง
 http://th.wikipedia.org/
http://irrigation.rid.go.th/
http://www.vcharkarn.com/

More Related Content

What's hot

Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
Chay Kung
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
Ta Lattapol
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Ta Lattapol
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
Moukung'z Cazino
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
sarawut chaiyong
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
supatthra1111
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Ta Lattapol
 
Galaxy
GalaxyGalaxy
Galaxy
Krispy Yosho
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
T
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์Noknun Luesat
 

What's hot (19)

Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
Galaxy
GalaxyGalaxy
Galaxy
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
 

Similar to คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047

คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403Kwang Ngampongsai
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401Apinya Singsopa
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เอเอ็นโอเอ็นซีเอดี ซีทีอาร์แอลเอแอลทีดีอีแอล
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)Salin Satheinmars
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์thanakit553
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
GanKotchawet
 
ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ThanakridsakornKamwa
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
Sukumal Ekayodhin
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมPakawan Sonna
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
Katewaree Yosyingyong
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 

Similar to คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047 (20)

คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
คลื่นวิทยุ(ชัญญา+ธนากนก)403
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 
ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
atom 2
atom 2atom 2
atom 2
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 

คลื่นวิทยุ(กฤติน ชานน)047

  • 1. คลื่นวิทยุ นาเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมาชิก กฤติน ทองลงยา 7 4/7 ชานน เสริมศักดิ์ 14 4/7
  • 2. คลื่นวิทยุ (Radio waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิด หนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้นสเปกตรัม แม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งสามารใช้ต้มน้าร้อนได้แล้วช่วยลดโลก ร้อนได้
  • 3. คลื่นวิทยุถูกค้นพบครังแรกระหว่างการตรวจสอบทางคณิตศาสตร์โดยเจมส์ ้ เคลิร์ก แมซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบาง ประการที่คล้ายคลึงกับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้า และแม่เหล็ก เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุในรูปแบบ ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้ สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็นความจริงโดยจาลองการสร้างคลืนวิทยุขึ้น ่ ในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทา ี ให้เราสามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้ นิโคลา เทสลา และกูลเยลโม มาร์โกนี ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ระบบ ทีนาคลืนวิทยุมาใช้ในการสื่อสาร ่ ่
  • 4. องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นที่เดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิวดิน หรือผิวน้าก็ได้ พิสัยของการกระจายคลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่า ความนาทางไฟฟ้าของผิวที่คลื่นนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความ นาจะเป็นตัวกาหนดการถูกดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิว โลก การถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนี้จะเพิ่มขึ้นตามความถี่ที่สูงขึ้น คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดย มิได้มีการสะท้อนใด ๆ
  • 5. 3.คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ ไปกระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ 4.คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศ ชั้นต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็น การหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงความ หนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหัก เหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศ อย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและใน ความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
  • 6. ผลของคลื่นวิทยุที่มีตอร่างกาย ่ คลื่นวิทยุสามารถทะลุเข้าไปในร่างกายมนุษย์ได้ลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่นที่ตกกระทบ และอาจทาลายเนื้อเยื่อ ของอวัยวะภายในบางชนิดได้ ผลการทาลายจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความเข้ม ช่วงเวลาที่ร่างกายได้รับคลื่นและชนิดของ เนื้อเยื่อ อวัยวะที่มีความไวต่อคลื่นวิทยุ ได้แก่ นัยน์ตา ปอด ถุงน้าดี กระเพาะปัสสาวะ อัณฑะ และบางส่วนของระบบ ทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ เป็นอวัยวะที่ อ่อนแอที่สุดเมื่อได้รับคลื่นวิทยุช่วงไมโครเวฟ
  • 7. คาถาม5ข้อ 1.คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรก โดยใคร? เจมส์ เคลิร์ก แมซ์เวลล์ 2.องค์ประกอบของคลื่น แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ? คลื่นผิวดิน คลื่นตรง คลื่นสะท้อนดิน คลืนหักเหโทรโปสเฟียร์ ่ 3.คลื่นผิวดินคืออะไร? คลืนที่ผวดินและผิวน้า ่ ิ 4.ผลของคลืนวิทยุที่มีต่อร่างกายเช่น? ่ อาจทาลายเนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบางชนิดได้ 5.และจะทาลาย โดยเฉพาะอะไร? โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ