SlideShare a Scribd company logo
สื่อประกอบการสอน   เรื่อง เอกภพ  ( universe ) โดย ครูสราวุธ  ชัยยอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์  31
เอกภพ  /  จักรวาล  /  universe ,[object Object],[object Object]
เอกภพ  ประกอบด้วยกาแล็กซีจำนวนมาก ที่อยู่ไกลกัน  1   กาแล็กซีที่มองเห็นในภาพ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ  100,000  ปีแสง และแต่ละกาแล็กซีอยู่ห่างกันไม่น้อยกวา  2  ล้านปีแสง 1  ปีแสง  =  ระยะทางที่แสงเดินทางใน  1  ปี  = 9.5  ล้านล้านกิโลเมตร ภาพจำลองของเอกภพ
ตำแหน่งของโลกในเอกภพ  โลก  ( The Earth )             โลกของเรามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง  12,756   กิโลเมตร  โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์  150   ล้านกิโลเมตร แสงอาทิตย์ต้อง ใช้เวลาเดินทางนาน  8   นาที กว่าจะถึงโลก  ระบบสุริยะ  ( Solar System )          ประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์อยู่ตรงศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์  8   ดวง เป็นบริวารโคจรล้อมรอบ ดาวเคราะห์แต่ละดวง อาจมีดวงจันทร์เป็นบริวารโคจรล้อมรอบอีกทีหนึ่ง ดาวพลูโตอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์  6   พันล้านกิโลเมตร แสงอาทิตย์ต้องใช้เวลาเดินทางนานมากกว่า  5   ชั่วโมงกว่าจะถึงดาวพลูโต
ดาวฤกษ์เพื่อนบ้าน  ( Stars )          ดาวฤกษ์แต่ละดวงอาจมีระบบดาวเคราะห์เป็นบริวาร  เช่นเดียวกับระบบสุริยะของเรา ดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างกัน  เป็นระยะทางหลายล้านล้านกิโลเมตร ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ที่สุด ของดวงอาทิตย์ชื่อ  " ปร๊อกซิมา เซนทอรี "  ( Proxima Centauri )  อยู่ห่างออกไป  40   ล้านล้านกิโลเมตร หรือ  4.2   ปีแสง  ดาวฤกษ์ซึ่งมองเห็นเป็นดวงสว่างบนท้องฟ้า ส่วนมากจะอยู่ห่าง ไม่เกิน  2,000   ปีแสง   กาแล็กซี  ( Galaxy )                         กาแล็กซีคืออาณาจักรของดวงดาว กาแล็กซีทางช้างเผือก ของเรามีรูปร่างเหมือนกังหัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง  1   แสนปีแสง  ประกอบด้วยดาวฤกษ์ประมาณ  1   พันล้านดวง ดวงอาทิตย์ของเรา อยู่ห่างจากใจกลางของกาแล็กซีเป็นระยะทางประมาณ  3   หมื่นปีแสง  หรือ  2   ใน  3   ของรัศมี   ตำแหน่งของโลกในเอกภพ
กระจุกกาแล็กซี  ( Cluster of galaxies )              กาแล็กซีมิได้อยู่กระจายตัวด้วยระยะห่างเท่า ๆ กัน หากแต่อยู่รวมกัน เป็นกลุ่ม  ( Group )  หรือกระจุก  ( Cluster ) " กลุ่มกาแล็กซีของเรา "  ( The Local Group )  ประกอบด้วยกาแล็กซีมากกว่า  10   กาแล็กซี  กาแล็กซีเพื่อนบ้านของเรา มีชื่อว่า  " กาแลกซีแอนโดรมีดา " ( Andromeda  galaxy )  อยู่ห่างออกไป  2.3   ล้านปีแสง กลุ่มกาแล็กซีท้องถิ่นมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง  10   ล้านปีแสง  ซูเปอร์คลัสเตอร์  ( Supercluster )                     ซูเปอร์คลัสเตอร์ ประกอบด้วยกระจุกกาแล็กซีหลายกระจุก  " ซูเปอร์คลัสเตอร์ของเรา " ( The local supercluster )  มีกาแล็กซีประมาณ 2   พันกาแล็กซี ตรงใจกลางเป็นที่ตั้งของ  " กระจุกเวอร์โก " ( Virgo cluster )  ซึ่งประกอบด้วยกาแล็กซีประมาณ  50   กาแล็กซี อยู่ห่างออกไป  65   ล้านปีแสง  กลุ่มกาแล็กซีท้องถิ่นของเรา กำลังเคลื่อนที่ออกจากกระจุกเวอร์โก  ด้วยความเร็ว  400   กิโลเมตร / วินาที ตำแหน่งของโลกในเอกภพ
เอกภพ  ( Universe )             " เอกภพ "  หรือ  " จักรวาล "  หมายถึง อาณาบริเวณโดยรวม ซึ่งบรรจุทุกสรรพสิ่ง ทั้งหมด  นักดาราศาสตร์ยังไม่ทราบว่า ขอบของเอกภพสิ้นสุดที่ตรงไหน แต่พวกเขา พบว่ากระจุกกาแล็กซีกำลังเคลื่อนที่ออกจากกัน นั่นแสดงให้เห็นว่าเอกภพกำลังขยายตัว  เมื่อคำนวณย้อนกลับนักดาราศาสตร์พบว่า เมื่อก่อนทุกสรรพสิ่งเป็นจุด ๆ เดียว เอกภพ ถือกำเนิดขึ้นด้วย  " การระเบิดใหญ่ " ( Big Bang )  เมื่อประมาณ  13,000   ล้านปีมาแล้ว   ตำแหน่งของโลกในเอกภพ
ตำแหน่งของโลกในเอกภพ  โลก  ระบบสุริยะ  ดาวฤกษ์เพื่อนบ้าน  กาแล็กซี  กระจุกกาแล็กซี ซูเปอร์คลัสเตอร์  เอกภพ
กำเนิดเอกภพ ทฤษฎีการกำเนิดเอกภพ  บิกแบง  ( Big Bang ) ,[object Object],[object Object],[object Object]
กำเนิดเอกภพ ทฤษฎีการกำเนิดเอกภพ  บิกแบง  ( Big Bang )
กำเนิดเอกภพ ,[object Object],[object Object],[object Object]
กำเนิดเอกภพ ,[object Object]
กำเนิดเอกภพ ข้อสนับสนุน การเกิดทฤษฎี บิกแบง  ( Big Bang ) ,[object Object],[object Object]
กาแล็กซีทางช้างเผือก  ( Milky Way   Galaxy )
กาแล็กซีทางช้างเผือก  ( Milky Way   Galaxy )
กาแล็กซีทางช้างเผือก  ( Milky Way   Galaxy )   กาแล็กซีของเรามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง  100,000   ปีแสง มีรัศมี  50,000   ปีแสง  และหนาประมาณ  2,000   ปีแสง     ดังนั้นดวงดาวบนท้องฟ้าที่เรามองเห็นเป็นกลุ่มดาว ล้วนอยู่ห่างออกไปเป็นระยะทางไม่เกิน  2,000   ปีแสงทั้งนั้น     เมื่อเรามองไปตามแนวระนาบของทางช้างเผือก เราจะมองเห็นฝ้าขาวสว่างของดาวในทางช้างเผือก ซึ่งอยู่ห่างไกลนับหมื่นปีแสง และเมื่อมองไปในทิศระหว่าง กลุ่มดาวแมงป่องและกลุ่มดาวคนยิงธนู จะเห็นว่าทางช้างเผือกในบริเวณนั้น กว้างใหญ่และสว่างเป็นพิเศษ ทั้งนี้เป็นเพราะเรากำลัง มองเข้าไปตรงศูนย์กลางของกาแล็กซี           
การสังเกตทางช้างเผือก  กาแล็กซีทางช้างเผือกประกอบด้วย ดาวฤกษ์จำนวนนับพันล้านดวง  ดาวฤกษ์แต่ละดวงอาจจะมีดาวเคราะห์อีกหลายดวง และระบบสุริยะของเรา  ก็เป็นสมาชิกหนึ่งในนั้น หากส่องกล้องมองไปที่ทางช้างเผือก เราจะเห็นดวงดาว จำนวนมหาศาล มากมายเต็มไปหมดจนนับไม่ถ้วน คล้ายกับจำนวนเม็ดทราย บนชายหาด  ทางช้างเผือก บริเวณกลุ่มดาวแมงป่อง
การสังเกตทางช้างเผือก เราจะมองเห็นทางช้างเผือกเป็นทางยาวคาดท้องฟ้าในแนวตะวันออก - ตะวันตก  ทว่าความเป็นจริง แกนหมุนของโลกทำมุมเอียง กับระนาบของกาแล็กซีประมาณ  60   องศา  และโลกก็หมุนรอบตัวเองอยู่ตลอดเวลา     ดังนั้นเราจึงมองเห็นทางช้างเผือกพาดยาว ข้ามขอบฟ้า โดยมีทิศทางการวางตัวบนท้องฟ้า เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้า ๆ ตลอดเวลา     บางเวลาก็อยู่ในแนวเหนือ - ใต้ บางเวลาก็อยู่ในแนวเฉียง เป็นต้น  การสังเกตการณ์ทางช้างเผือก จะทำได้ต่อเมื่ออยู่ในที่มืดสนิท ในชนบท  หรือ ป่าเขา ท้องทะเล และไม่มีแสงจันทร์รบกวนเท่านั้น
กาแลกซีเพื่อนบ้าน กาแล็กซีที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ กาแลกซีแมกเจลแลนใหญ่  กาแลกซีแมกเจลแลนเล็ก สังเกตได้ทางขอบฟ้าทางด้านทิศใต้ คนที่อยู่ทางภาคเหนือจะสามารถสังเกตได้ค่อนข้างยาก กาแล็กซีแอนโดรเมดา เป็นกาแล็กซีที่สามารถมองเห็นได้ ซึ่งจะสังเกตได้บริเวณเหนือศีรษะ กาแลกซีแมกเจลแลนใหญ่ เป็นกาแล็กซีที่ไร้รูปทรง
กาแลกซีแอนโดรเมดา เป็นกาแล็กซีที่มีรูปร่างแบบกังหันหรือสไปรัล กาแลกซีจีซี  7479   เป็นกาแล็กซีที่มีรูปร่างแบบกังหันมีแกนหรือบาร์สไปรัล
กาแลกซี ซีเอ็ม  87   เป็นกาแล็กซีรูปไข่ กระจุกกาแล็กซี  ( Cluster of galaxies )       
จบแล้วจ้า ...

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
Prachoom Rangkasikorn
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
Sukumal Ekayodhin
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
Physics Lek
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
พัน พัน
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
Oui Nuchanart
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Ta Lattapol
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
Faris Singhasena
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Krupol Phato
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 

Similar to สื่อประกอบการสอน เอกภพ

Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
Joe Stk
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
Moukung'z Cazino
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลfarimfilm
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
หลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศหลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศHiran Vayakk
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
GanKotchawet
 

Similar to สื่อประกอบการสอน เอกภพ (20)

42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาล
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
หลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศหลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศ
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 
Univers1
Univers1Univers1
Univers1
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 

สื่อประกอบการสอน เอกภพ

  • 1. สื่อประกอบการสอน เรื่อง เอกภพ ( universe ) โดย ครูสราวุธ ชัยยอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
  • 2.
  • 3. เอกภพ ประกอบด้วยกาแล็กซีจำนวนมาก ที่อยู่ไกลกัน 1 กาแล็กซีที่มองเห็นในภาพ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง และแต่ละกาแล็กซีอยู่ห่างกันไม่น้อยกวา 2 ล้านปีแสง 1 ปีแสง = ระยะทางที่แสงเดินทางใน 1 ปี = 9.5 ล้านล้านกิโลเมตร ภาพจำลองของเอกภพ
  • 4. ตำแหน่งของโลกในเอกภพ โลก ( The Earth )            โลกของเรามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12,756 กิโลเมตร โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 150 ล้านกิโลเมตร แสงอาทิตย์ต้อง ใช้เวลาเดินทางนาน 8 นาที กว่าจะถึงโลก ระบบสุริยะ ( Solar System )        ประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์อยู่ตรงศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ 8 ดวง เป็นบริวารโคจรล้อมรอบ ดาวเคราะห์แต่ละดวง อาจมีดวงจันทร์เป็นบริวารโคจรล้อมรอบอีกทีหนึ่ง ดาวพลูโตอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 6 พันล้านกิโลเมตร แสงอาทิตย์ต้องใช้เวลาเดินทางนานมากกว่า 5 ชั่วโมงกว่าจะถึงดาวพลูโต
  • 5. ดาวฤกษ์เพื่อนบ้าน ( Stars )          ดาวฤกษ์แต่ละดวงอาจมีระบบดาวเคราะห์เป็นบริวาร เช่นเดียวกับระบบสุริยะของเรา ดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างกัน เป็นระยะทางหลายล้านล้านกิโลเมตร ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ที่สุด ของดวงอาทิตย์ชื่อ " ปร๊อกซิมา เซนทอรี " ( Proxima Centauri ) อยู่ห่างออกไป 40 ล้านล้านกิโลเมตร หรือ 4.2 ปีแสง ดาวฤกษ์ซึ่งมองเห็นเป็นดวงสว่างบนท้องฟ้า ส่วนมากจะอยู่ห่าง ไม่เกิน 2,000 ปีแสง กาแล็กซี ( Galaxy )                       กาแล็กซีคืออาณาจักรของดวงดาว กาแล็กซีทางช้างเผือก ของเรามีรูปร่างเหมือนกังหัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 แสนปีแสง ประกอบด้วยดาวฤกษ์ประมาณ 1 พันล้านดวง ดวงอาทิตย์ของเรา อยู่ห่างจากใจกลางของกาแล็กซีเป็นระยะทางประมาณ 3 หมื่นปีแสง หรือ 2 ใน 3 ของรัศมี ตำแหน่งของโลกในเอกภพ
  • 6. กระจุกกาแล็กซี ( Cluster of galaxies )             กาแล็กซีมิได้อยู่กระจายตัวด้วยระยะห่างเท่า ๆ กัน หากแต่อยู่รวมกัน เป็นกลุ่ม ( Group ) หรือกระจุก ( Cluster ) " กลุ่มกาแล็กซีของเรา " ( The Local Group ) ประกอบด้วยกาแล็กซีมากกว่า 10 กาแล็กซี กาแล็กซีเพื่อนบ้านของเรา มีชื่อว่า " กาแลกซีแอนโดรมีดา " ( Andromeda galaxy ) อยู่ห่างออกไป 2.3 ล้านปีแสง กลุ่มกาแล็กซีท้องถิ่นมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 10 ล้านปีแสง ซูเปอร์คลัสเตอร์ ( Supercluster )                    ซูเปอร์คลัสเตอร์ ประกอบด้วยกระจุกกาแล็กซีหลายกระจุก " ซูเปอร์คลัสเตอร์ของเรา " ( The local supercluster ) มีกาแล็กซีประมาณ 2 พันกาแล็กซี ตรงใจกลางเป็นที่ตั้งของ " กระจุกเวอร์โก " ( Virgo cluster ) ซึ่งประกอบด้วยกาแล็กซีประมาณ 50 กาแล็กซี อยู่ห่างออกไป 65 ล้านปีแสง กลุ่มกาแล็กซีท้องถิ่นของเรา กำลังเคลื่อนที่ออกจากกระจุกเวอร์โก ด้วยความเร็ว 400 กิโลเมตร / วินาที ตำแหน่งของโลกในเอกภพ
  • 7. เอกภพ ( Universe )            " เอกภพ " หรือ " จักรวาล " หมายถึง อาณาบริเวณโดยรวม ซึ่งบรรจุทุกสรรพสิ่ง ทั้งหมด  นักดาราศาสตร์ยังไม่ทราบว่า ขอบของเอกภพสิ้นสุดที่ตรงไหน แต่พวกเขา พบว่ากระจุกกาแล็กซีกำลังเคลื่อนที่ออกจากกัน นั่นแสดงให้เห็นว่าเอกภพกำลังขยายตัว เมื่อคำนวณย้อนกลับนักดาราศาสตร์พบว่า เมื่อก่อนทุกสรรพสิ่งเป็นจุด ๆ เดียว เอกภพ ถือกำเนิดขึ้นด้วย " การระเบิดใหญ่ " ( Big Bang ) เมื่อประมาณ 13,000 ล้านปีมาแล้ว ตำแหน่งของโลกในเอกภพ
  • 8. ตำแหน่งของโลกในเอกภพ โลก ระบบสุริยะ ดาวฤกษ์เพื่อนบ้าน กาแล็กซี กระจุกกาแล็กซี ซูเปอร์คลัสเตอร์ เอกภพ
  • 9.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 16. กาแล็กซีทางช้างเผือก ( Milky Way Galaxy )   กาแล็กซีของเรามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100,000 ปีแสง มีรัศมี 50,000 ปีแสง และหนาประมาณ 2,000 ปีแสง    ดังนั้นดวงดาวบนท้องฟ้าที่เรามองเห็นเป็นกลุ่มดาว ล้วนอยู่ห่างออกไปเป็นระยะทางไม่เกิน 2,000 ปีแสงทั้งนั้น    เมื่อเรามองไปตามแนวระนาบของทางช้างเผือก เราจะมองเห็นฝ้าขาวสว่างของดาวในทางช้างเผือก ซึ่งอยู่ห่างไกลนับหมื่นปีแสง และเมื่อมองไปในทิศระหว่าง กลุ่มดาวแมงป่องและกลุ่มดาวคนยิงธนู จะเห็นว่าทางช้างเผือกในบริเวณนั้น กว้างใหญ่และสว่างเป็นพิเศษ ทั้งนี้เป็นเพราะเรากำลัง มองเข้าไปตรงศูนย์กลางของกาแล็กซี          
  • 17. การสังเกตทางช้างเผือก กาแล็กซีทางช้างเผือกประกอบด้วย ดาวฤกษ์จำนวนนับพันล้านดวง ดาวฤกษ์แต่ละดวงอาจจะมีดาวเคราะห์อีกหลายดวง และระบบสุริยะของเรา ก็เป็นสมาชิกหนึ่งในนั้น หากส่องกล้องมองไปที่ทางช้างเผือก เราจะเห็นดวงดาว จำนวนมหาศาล มากมายเต็มไปหมดจนนับไม่ถ้วน คล้ายกับจำนวนเม็ดทราย บนชายหาด ทางช้างเผือก บริเวณกลุ่มดาวแมงป่อง
  • 18. การสังเกตทางช้างเผือก เราจะมองเห็นทางช้างเผือกเป็นทางยาวคาดท้องฟ้าในแนวตะวันออก - ตะวันตก ทว่าความเป็นจริง แกนหมุนของโลกทำมุมเอียง กับระนาบของกาแล็กซีประมาณ 60 องศา และโลกก็หมุนรอบตัวเองอยู่ตลอดเวลา    ดังนั้นเราจึงมองเห็นทางช้างเผือกพาดยาว ข้ามขอบฟ้า โดยมีทิศทางการวางตัวบนท้องฟ้า เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้า ๆ ตลอดเวลา    บางเวลาก็อยู่ในแนวเหนือ - ใต้ บางเวลาก็อยู่ในแนวเฉียง เป็นต้น การสังเกตการณ์ทางช้างเผือก จะทำได้ต่อเมื่ออยู่ในที่มืดสนิท ในชนบท หรือ ป่าเขา ท้องทะเล และไม่มีแสงจันทร์รบกวนเท่านั้น
  • 19. กาแลกซีเพื่อนบ้าน กาแล็กซีที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ กาแลกซีแมกเจลแลนใหญ่ กาแลกซีแมกเจลแลนเล็ก สังเกตได้ทางขอบฟ้าทางด้านทิศใต้ คนที่อยู่ทางภาคเหนือจะสามารถสังเกตได้ค่อนข้างยาก กาแล็กซีแอนโดรเมดา เป็นกาแล็กซีที่สามารถมองเห็นได้ ซึ่งจะสังเกตได้บริเวณเหนือศีรษะ กาแลกซีแมกเจลแลนใหญ่ เป็นกาแล็กซีที่ไร้รูปทรง
  • 20. กาแลกซีแอนโดรเมดา เป็นกาแล็กซีที่มีรูปร่างแบบกังหันหรือสไปรัล กาแลกซีจีซี 7479 เป็นกาแล็กซีที่มีรูปร่างแบบกังหันมีแกนหรือบาร์สไปรัล
  • 21. กาแลกซี ซีเอ็ม 87 เป็นกาแล็กซีรูปไข่ กระจุกกาแล็กซี ( Cluster of galaxies )