SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
แสง (Light)
แสง คือ
อะไร ?
นั่นก็คือแสงเป็ นสิ่งที่มีคุณสมบัติคู่ของคลื่น-
อนุภาคนั่นเอง โดยที่คุณสมบัติคลื่นของแสงจะ
เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์แทรกสอดและ
ปรากฏการณ์เลี้ยวเบน ส่วนคุณสมบัติอนุภาคของ
่
แสงสามารถแสดง
คุณสมบัติได้ทั้งคุณสมบัติ
ของคลื่นและคุณสมบัติ
ของอนุภาค
แสงเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ
้ า
การค้นพบที่สาคัญที่สุดในศตวรรษที่ 18
คือการที่แมกซ ์เวล ค้นพบว่า “แสงเป็นคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ า” เช่นเดียวกับ คลื่น
ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุรังสียูวี รังสีเอกซ ์
เรย์และรังสีแกมมา
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าแต่ละชนิดแตกต่าง
กันที่ความยาวคลื่น และเรียกแถบความยาว
คลื่นทั้งหมดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าว่า แถบ
สเปคตรัม โดยที่ช่วงของสเปคตรัมที่
สเปคตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
สเปคตรัมของแสง
สีแดง: l = 700 nm, f = 4.3x1
สีน้าเงิน: l = 475 nm, f = 6.3x
สาหรับในอากาศ แสงทุกชนิดจะมีความเร็ว
เท่ากับ
C = 3 x108 m/s ซึ่งเป็นความเร็วสูงสุดของ
แสง
่
อัตราเร็วของแสง
V=fl
V = อัตราเร็วแสง
f = ความถี่ (Hz)
l = ความยาวคลื่น (nm)
ความสว่าง
F = อัตราพลังงานแสงที่ตกพื้น
(lumen : lm)
A = พื้นที่รับแสง (ตารางเมตร :
m2)
𝑬 =
𝑭
𝑨
ตัวอย่าง
หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์40 วัตต์4
หลอด แต่ละหลอดมีอัตราการให้
พลังงานแสง 2,700 ลูเมน มีตัวตะท้อน
แสงช่วยทาให้แสงทั้งหมดตกบนพื้นใน
บริเวณทั้งหมด 5 ตารางเมตร จงหา
ความสว่างบนพื้นนี้
ตาและการมองเห็น
นัยน์ตา
ตา มีลักษณะการทางานคล้ายกล้อง
ถ่ายรูป
หลักการ
แสงจากวัตถุหักเหผ่านเลนส์ตา (นูน)
แล้วเกิดภาพบนเรตินา (ฉาก)
นัยน์ตา
การมองเห็นภาพของนัยน์ตา
>>> แสงผ่านเลนส์ตา เกิดการหักเหเกิด
ภาพจริงหัวกลับบน เรตินา (คนปกติเห็นใกล้
ระยะ 25 ซม. ไกลระยะอนันต์)
>> เมื่อวัตถุไกล กล้ามเนื้อคลายตัว เลนส์
บาง โฟกัสยาวขึ้น
>> เมื่อวัตถุใกล้ กล้ามเนื้อหดตัว เลนส์หนา
โฟกัสสั้นลง
สายตาสั้น
ลักษณะ : คือ มองวัตถุใกล้ชัดแต่
ไกลไม่ชัด (ไกลสุดน้อยกว่าระยะอนันต์)
สาเหตุ : เพราะกระบอกตายาวกว่า
ปกติหรือความยาวโฟกัสของเลนส์ตา
เมื่อกล้ามเนื้อคลายเต็มที่แล้วยังมีค่า
น้อยเกินไป ทาให้ภาพของวัตถุที่ระยะ
อนันต์ตกไม่ถึงเรตินา
สายตายาว
ลักษณะ : มองไกลชัด มองใกล้ไม่
ชัด (ใกล้สุดมากกว่า 25 ซม.)
สาเหตุ : เพราะกระบอกตาสั้นกว่า
ปกติหรือความยาวโฟกัสของเลนส์ตา
เมื่อกล้ามเนื้อตาหดเต็มที่แล้ว ยังมีค่า
มากเกินไป ทาให้ภาพของวัตถุที่ระยะ
25 ซม. ไปตกเลยเรตินาออกไป
สายตาเอียง
สายตาเอียง เกิดจากผิวหน้าของ
เลนส์ตามีความโค้งไม่สม่าเสมอ ทาให้
เห็นภาพแนวดิ่งไม่ตรงหรือแนวราบเอียง
ไปจากปกติ
วิธีแก้ไข :
สวมแว่นตาทาด้วย
เลนส์รูปกาบกล้วย
ตาบอดสี
ตาบอดสีเกิดจากเซลล์ประสาท
บนเรตินาเกี่ยวกับการมองเห็นสีผิดปกติ
ส่วนใหญ่ผู้ชายจะตาบอดสี
เนื่องจากกรรมพันธุ์และตาบอดสีแดง
เป็ นส่วนมาก ไม่สามารถแก้ไขได้ และ
จะถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานต่อ ๆ ไป
สมบัติของแสง
แสงเป็ นคลื่นที่มีสมบัติ 4 ประการ
1. การสะท้อน
2. การหักเห
3. การเลี้ยวเบน
4. การแทรกสอด
การสะท้อนแสง
การสะท้อนแสง คือการที่แสงไปกระทบ
กับตัวกลางแล้วสะท้อนไปในทิศทางอื่นหรือ
สะท้อนกลับมาทิศทางเดิม
รูป ก. วัตถุผิวเรียบ รูป ข. ผิว
ขรุขระ
กฎการสะท้อนแสง
1. รังสีตกกระทบ เส้นปกติและรังสีสะท้อนย่อมอยู่บน
้
แสงเชิงเส้น
ความยาวคลื่นของแสง จะต้องมีขนาดเล็กกว่าวัตถ
สิ่งกีดขวางมาก (ความยาวคลื่นของแสงประมาณ0.4 -
ดังนั้นจึงสามารถประมาณได้ว่า แสงจะเคลื่อนที่เป็นเส้นต
เป็นรังสีแสง(light ray) ดังรูป
Note: เส้นผมมีขนาดประมาณ
การสะท้อนของแสง (Reflection)
อากาศ
โลหะ
เส้นปกติ
รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน
q1 : มุมตก
กระทบ
q2 : มุมตก
สะท้อน
กฎของการสะท้อน
มุมตกกระทบจะอยู่
ในระนาบ
เดียวกับมุมสะท้อน
และ เท่ากัน
เสมอ หรือ
การหักเห หมายถึง การที่แสง
เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางหนึ่งไปยังอีก
ตัวกลางหนึ่งทาให้แนวลาแสงเกิดการ
เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิม
รูปแสดงลักษณะการเกิดหักเหของแสง
การหักเหของแสง
มุมวิกฤติ (Critical Angle)
qc
n2
n1
1 1 2 2
sin sin
n n
q q

ในกรณีที่แสงเดินทางจากตัวกลางที่
หนาแน่นมากกว่าไปยัง
ตัวกลางที่หนาแน่นน้อยกว่า (n1 > n2) มุม
q2 จะมากกว่ามุม q1
เสมอ จากกฏของสเนลล์จะได้ว่า
เมื่อ q2 = 90 องศา จะเรียก q1 ว่า
โดยที่ 2
1
sin c
n
n
q 
ดังนั้นจะเห็นว่า ถ้าหาก q1 > qc
สะท้อนกลับหมดของแสง
การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน
กระจกเงาราบ
เกิดภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเท่ากับวัตถุ เ
ลักษณะภาพ กลับซ้ายเป็ นขวา
กลับขวาเป็ นซ้าย
การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน
กระจกเงาเว้า
กระจกเงาโค้ง
การมองเห็นภาพผ่านการ
สะท้อน
กระจกเงาเว้า
การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน
กระจกเงาเว้า เมื่อระยะวัตถุ p
มากกว่าความยาวโฟกัส f
การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน
กระจกเงาเว้า เมื่อระยะ
วัตถุ p น้อยกว่าความ
ยาวโฟกัส f
การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน
กระจกเงานูน
การมองเห็นภาพผ่านการหักเหของ
เลนส์บาง
เลนส์นูน
เลนส์เว้า
การแทกสอด(Interference)
รูปแบบของการแทรกสอด
s1
s2
คลื่นจากแหล่งกา
2 แหล่งที่มีความถี่
และเฟส ตรงกัน
เคลื่อนที่มาพบกัน
จะเกิดการซ้อนทับ
ระหว่างคลื่น
การเลี้ยวเบน
การเลี้ยวเบน คือปรากฏการณ์ที่คลื่น
แสงเปลี่ยนเส้นทางการเคลื่อนที่ เมื่อเคลื่อนที่
มากระทบสิ่งกีดขวาง สิ่งกีดขวางอาจจะเป็น
ฉากซึ่งมีช่องที่มีขนาดเล็กที่มีขนาดน้อยกว่า
หรือประมาณเท่ากับความยาวคลื่น หรือเป็น
่ ้ ่

More Related Content

Similar to ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thaiSaranyu Pilai
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์thanakit553
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 

Similar to ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (13)

พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่นฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

ppt แสงและการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2