SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1



                             หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา
        ปัจจุบันการสร้างสรรค์ภาระงาน ชินงาน หรือ กิจกรรมต่างๆจากคอมพิวเตอร์สามารถทาได้ง่ายขึ้น
                                       ้
เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณภาพสูง ราคาถูก และเป็นแหล่งค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพจากการใช้งานเครือข่าย
คอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ต แต่ในขณะเดียวกันการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดผลเสียในการคัดลอกหรื
อนาภาระงาน ชินงาน หรือกิจกรรมต่างๆ เหล่านั้นไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตได้ง่ายยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหา
             ้
ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่านี้ จึงได้มีการรวบรวมหน่วยงานของรัฐบาล
ได้แก่ กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ ที่กากับดูแลงานด้านสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้ากับกรม
ศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการที่กากับดูแลงานด้านลิขสิทธิ์เข้าด้วยกันเป็นหน่วยงานเดียวกัน คือ กรมทรัพย์สิน
ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2535 ให้มีหน้าที่ดังนี้

-สนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา

-ส่งเสริมการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์

-พัฒนาการให้บริการด้านทรัพย์สินทางปัญญาอย่างมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง

-พัฒนาการระบบการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาให้ครอบคลุมทั่วถึง

-สร้างเครือข่ายด้านทรัพย์สินทางปัญญาทั้งในประเทศและต่างประเทศ

        ทรัพย์สนทางปัญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทรัพย์สินทาง
               ิ
ปัญญาเป็นทรัพย์สินอีกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น
นาฬิกา รถยนต์ โต๊ะ เป็นต้น และอสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น บ้าน ที่ดน เป็น
                                                                                                    ิ
ต้น สามารถแบ่งตามลักษณะผลงานเหล่านั้นเป็นลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า
2




ประเภททรัพย์สินทางปัญญา

        1.ลิขสิทธิ์ คือ สิทธิ์ในผลงานที่ได้รับการสร้างสรรค์งานสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งาน
ภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์

กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภทตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่

  1. งานวรรณกรรม ( หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์ คาปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ )

  2. งานนาฏกรรม (ท่ารา ท่าเต้น ฯลฯ )

  3. งานศิลปกรรม ( จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ศิลปประยุกต์ ฯลฯ )

  4. งานดนตรีกรรม (ทานอง ทานองและเนื้อร้อง ฯลฯ )

  5. งานสิ่งบันทึกเสียง (เทป ซีดี )

  6. งานโสตทัศนวัสดุ ( วีซีดี ดีวีดี ที่มภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง )
                                         ี

  7. งานภาพยนตร์

  8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ

  9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ

วิธีดาเนินการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์

  1. การกรอกข้อมูลและระบุรายละเอียดต่างๆ

          (1) ชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์ ให้ระบุชื่อสัญชาติ หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนหรือนิติบคคล (แล้วแต่
                                                                                         ุ
กรณี) และที่อยู่ของเจ้าของลิขสิทธิ์

      (2) ชื่อตัวแทน กรณีที่เจ้าของลิขสิทธิ์ต้องการมอบอานาจให้กับผู้รับมอบอานาจมาดาเนินการใด ๆ
เกี่ยวกับการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์และระบุถึงขอบเขตอานาจของผู้รับมอบอานาจ โดยให้ระบุ ชื่อ สัญชาติ
หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนหรือนิติบุคคล (แล้วแต่กรณี) และที่อยู่ของผู้รับมอบอานาจ
3


          (3) สถานที่ติดต่อในประเทศไทย ให้ระบุสถานที่และเบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อเจ้าของสิทธิ
หรือตัวแทน เพื่อสะดวกในการติดตามเอกสารและผลงาน กรณีเอกสารและผลงานมีความไม่ครบถ้วน

          (4) ชื่อผู้สร้างสรรค์หรือนามแฝง ให้ระบุชื่อ สัญชาติ หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน หรือนิติ
บุคคล ที่อยู่ผู้สร้างสรรค์ นามแฝง กรณีผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคลให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่จดทะเบียนนิติบคคล
                                                                                                      ุ
และกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวตแล้วให้ระบุ วัน เดือน ปี ทีผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต
                              ิ                           ่

          (5) ชือผู้สร้างสรรค์ร่วมหรือนามแฝง ให้ระบุชอ สัญชาติ หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนหรือนิติ
                ่                                    ื่
บุคคล ที่อยู่ของผู้สร้างสรรค์หรือนามแฝง กรณีมีผู้สร้างสรรค์ร่วมมากกว่า 1 คน ให้ระบุในช่องนี้ กรณีผู้
สร้างสรรค์ร่วมเป็นนิติบุคคล ให้ระบุ วัน เดือน ปี ทีจดทะเบียนนิติบคคล และกรณีที่ผู้สร้างสรรค์รวม
                                                   ่             ุ                           ่
เสียชีวิตแล้ว ให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวต
                                                          ิ

          (6) ชื่อผลงาน ให้ระบุชื่อผลงานที่สะกดถูกต้อง เพื่อประโยชน์ในการระบุในหนังสือรับรองการแจ้ง
ข้อมูล

          (7) ประเภทของงาน ให้ระบุประเภทของงานและลักษณะงานที่ประสงค์จะยื่นแจ้งข้อมูลพร้อมระบุ
ผลงานที่ยื่นประกอบคาขอ เช่น หนังสือ 1 เล่ม หรือแผ่นซีดี 1 แผ่น ฯลฯ เป็นต้น

          (8) ความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ให้ระบุว่าเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์โดยวิธีใด เช่น เป็นผู้สร้างสรรค์ ผู้ว่าจ้าง
ผู้รับจ้าง นายจ้าง หรือผู้รับโอนลิขสิทธิ์ ฯลฯ เป็นต้น

          (9) ลักษณะการสร้างสรรค์ ให้ระบุว่า เป็นผู้สร้างสรรค์ขึ้นเองทั้งหมด สร้างสรรค์บางส่วน โดย
ระบุว่ามีส่วนใดบ้าง หรือ เป็นกรณีอื่นๆ เช่น เป็นผูรวบรวมผลงาน หรือผู้ดัดแปลงผลงาน ฯลฯ
                                                  ้

          (10) สถานที่สร้างสรรค์ ให้ระบุว่า การสร้างสรรค์ผลงานกระทาในประเทศใด

          (11) ปีที่สร้างสรรค์ ให้ระบุปีที่ทาการสร้างสรรค์ผลงาน

          (12) การโฆษณางาน ให้ระบุ วัน เดือน ปี และประเทศที่มีการโฆษณาครั้งแรก โดยการทาสาเนา
งานออกจาหน่ายโดยความยินยอมของผู้สร้างสรรค์และสาเนางานมีจานวนมากพอสมควร กรณียังไม่มีการ
โฆษณางานให้ระบุโดยทาเครื่องหมายในช่องยังไม่ได้โฆษณา
4


          (13) การแจ้ง/จดทะเบียนลิขสิทธิ์ในต่างประเทศ ให้ระบุว่าเคยแจ้ง/จดทะเบียนลิขสิทธิ์ ใน
ต่างประเทศหรือไม่ โดยให้ทาเครื่องหมายลงในช่องการแจ้งหรือจดทะเบียน (แล้วแต่กรณี)

          (14) การอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธิ์/โอนลิขสิทธิ์ ให้ระบุเครื่องหมายลงในช่องว่าเคยอนุญาต/โอนลิขสิทธิ์
หรือไม่ เช่น หากไม่เคยอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธิ์/โอนลิขสิทธิ์ ให้ทาเครื่องหมายในช่องไม่เคยอนุญาตให้ผู้อื่นใช้
ลิขสิทธิ์หรือโอนลิขสิทธิ์ในงานของตน หากเคยอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธิ์/โอนลิขสิทธิ์ ให้ระบุว่าอนุญาตให้ใช้
หรือโอนลิขสิทธิ์แก่ใคร เมื่อใด เป็นการอนุญาตโอนลิขสิทธิ์โดยให้สิทธิทั้งหมดหรือบางส่วน และมีระยะเวลา
ในการอนุญาต/โอนลิขสิทธิ์เท่าใด

          (15) การเผยแพร่ข้อมูลลิขสิทธิ์ ให้ระบุว่าอนุญาตให้คนอื่นตรวจดูเอกสารในแฟ้มคาขอแจ้งข้อมูล
ลิขสิทธิ์และผลงานหรือไม่

          (16) การลงนามในคาขอให้เจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทนเป็นผู้ลงนาม

  2. ใบต่อท้ายคาขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ในกรณีทข้อมูลที่กรอกในคาขอ (ลข.01) มีจานวนมาก และผู้ขอไม่อาจ
                                             ี่
กรอกข้อมูลได้ครบถ้วนในแต่ละข้อ เช่น ในกรณีที่มีเจ้าของลิขสิทธิ์ ตัวแทน ผู้สร้างสรรค์ร่วมมากกว่า 1 คน ผู้
ขอสามารถระบุข้อมูลเพิ่มเติมได้ในใบต่อท้ายฯ ผู้ลงนามในใบต่อท้าย คือ เจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทน

  3. แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานโดยย่อ ให้ระบุวิธีการและขันตอนในการสร้างสรรค์
                                                                           ้
ผลงานโดยย่อหรือแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน ผู้ลงนามในแบบแสดงรายละเอียดการสร้างสรรค์
ผลงานโดยย่อ คือ เจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทน

  4. หนังสือรับรองความเป็นเจ้าของงานลิขสิทธิ์ ให้ระบุชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์ ที่อยู่ ทะเบียนนิติบุคคล(ถ้ามี)
ประเภทของงานลิขสิทธิ์ ชื่อผลงาน และระบุวันที่ยนคาขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ผู้ลงนามในหนังสือรับรองความ
                                              ื่
เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ เท่านั้น

  5. ผลงานลิขสิทธิ์ที่ใช้ยื่นประกอบคาขอ

          - วรรณกรรม เช่น หนังสือ ชุดเอกสาร แผ่นซีดี ฯลฯ

          - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น สาเนา Source Code จานวน 10 หน้าแรกและ 10 หน้า สุดท้าย หรือส่ง
ซีดีหรือแผ่นดิสก์บรรจุโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และในกรณีที่มี Source Code น้อยกว่า 50 หน้า ให้ส่งแผ่นซีดี
หรือแผ่นดิสก์บรรจุโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเจ้าของลิขสิทธิ์อาจผนึกและลงลายมือชื่อกากับด้วยก็ได้
5


        - นาฏกรรม เช่น แผ่นซีดี ภาพการแสดงพร้อมบรรยายประกอบท่าทางทุกขั้นตอน ฯลฯ

        - ศิลปกรรม เช่น ภาพถ่ายผลงาน ภาพร่างผลงาน ภาพพิมพ์เขียว

        - สิ่งบันทึกเสียง เช่น แผ่นซีดี เทปเพลง ฯลฯ

        - โสตทัศนวัสดุ เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวดี ฯลฯ
                                            ี

        - ภาพยนตร์ เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี ฯลฯ

        - ดนตรีกรรม เช่น เนื้อเพลง แผ่นซีดี เทปเพลง โน้ตเพลง ฯลฯ

        - แพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น แผ่นวีซีดี แผ่นซีดี ฯลฯ

        - งานอื่นใดอันเป็นงานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ เช่น ภาพถ่ายของ
ผลงาน ฯลฯ

  6. เอกสารที่ใช้ประกอบการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์

        1. สาเนาบัตรประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง (กรณีเป็นบุคคลธรรมดา)

         2. สาเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล ที่นายทะเบียนออกให้ไม่เกิน 6 เดือน ของเจ้าของลิขสิทธิ์

         3. หนังสือมอบอานาจติดอากรแสตมป์ 30 บาท พร้อมสาเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบอานาจ
พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง (กรณีมีการมอบอานาจ)

        4. หน่วยงานหรือองค์กรของรัฐบาลใช้สาเนาหนังสือแต่งตั้งผู้บริหารหน่วยงานหรือองค์กรฯ รวมทั้ง
สาเนาบัตรประชาชนของผู้ยื่นคาขอ พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง

        5. มูลนิธิใช้สาเนาหนังสือการจดทะเบียนตั้งมูลนิธิ พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง

กฎหมายที่สาคัญทีใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้ลขสิทธิ์ คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
                ่                                ิ
6


2.สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มี
ลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด เป็นสิทธิพิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิต
สินค้า จาหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียว ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

การประดิษฐ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกของผลิตภัณฑ์
รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขน หรือทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น
                                                                     ึ้
ใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น กลไกของเครื่องยนต์ , ยารักษาโรค, วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้
เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น

  การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกียวกับรูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ ที่
                                                 ่
แตกต่างไปจากเดิม เช่น การออกแบบแก้วน้าให้มีรูปร่างเหมือนรองเท้า เป็นต้น

  อนุสิทธิบัตร คือ หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์จะมีลกษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์
                                                                        ั
แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย
                            ี
และมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น

สนธิสัญญาความร่วมมือด้านสิทธิบัตร หรือ PCT

          PCT ย่อมาจาก Patent Cooperation Treaty เป็นความตกลงระหว่างประเทศสาหรับการขอรับความ
คุ้มครองการประดิษฐ์ในประเทศที่เป็นสมาชิก เพื่ออานวยความสะดวก และลดภาระของผู้ขอรับสิทธิบัตร
แทนที่จะต้องไปยื่นคาขอรับสิทธิบัตรในประเทศต่าง ๆ แต่ละประเทศที่ผู้ขอประสงค์จะขอรับความคุ้มครอง
โดยสามารถที่จะยื่นคาขอที่สานักงานสิทธิบัตรภายในประเทศ ของตน สานักงานสิทธิบัตรก็จะส่งคาขอไป
ดาเนินการตามขันตอนของระบบ PCTที่องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO)
              ้

          ระบบ PCT นี้ไม่ได้เป็นระบบการรับจดทะเบียนสิทธิบัตรที่จะส่งผลให้ประเทศที่เป็นสมาชิกต้องรับ
จดทะเบียนตามไปด้วย เนื่องจาก ระบบ PCT จะมีการดาเนินการในขั้นตอนต้น ๆ ของการขอรับสิทธิบัตร
เท่านั้น ไม่มีการรับจดทะเบียนแต่อย่างใด การรับจดทะเบียนสิทธิบัตร PCT เป็นอานาจอธิปไตยของแต่ละ
ประเทศที่ผู้ขอประสงค์จะขอความคุ้มครอง ซึ่งจะมีการตรวจสอบตามขั้นตอนและเงื่อนไขของกฎหมาย
ภายในประเทศนั้น ๆ ก่อนรับจดทะเบียนสิทธิบัตรต่อไป ซึงประเทศไทยสมัครเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาความ
                                                   ่
ร่วมมือด้านสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2552 ถือเป็นสมาชิกลาดับที่ 142

กฎหมายที่สาคัญทีใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้สิทธิบัตร คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2522
                ่
7




3.เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่
          เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่า
สินค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าทีใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ
                                             ่
เป็นต้น
          เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับการบริการ เพื่อ
แสดงว่าบริการทีใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมาย
               ่
ของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น
          เครื่องหมายรับรอง (Certificaion mark) คือเครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมาย
หรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น
เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรา เป็นต้น
          เครื่องหมายร่วม (Colective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือ
รัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น
ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จากัด เป็นต้น

ตัวอย่างเครื่องหมายการค้า




ในปัจจุบน ประเทศไทยมีกฎหมายให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา3 ฉบับ คือ
        ั

1. พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
    และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2542
2. พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 และ
3. พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีพันธกรณีตามการเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ ที่จะต้องออกกฎหมายให้ความ
คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท ต่อไปในอนาคต
8



                                            ที่มา
1.หนังสือเรียนเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.5

2. www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content&task=section&id=21&Itemid=198

3. www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content&task=section&id=18&Itemid=195
4. www.thaigoodview.com/node/110434
9




ผังสรุปทรัพย์สินทางปัญญา
10


                                      คาถามท้ายบท!

1.ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึงอะไร แบ่งเป็นกี่ประเภท

ก. สิทธิทางกฎหมายที่ให้เจ้าของสิทธิ แบ่งเป็น 3ประเภท

ข. การเป็นเจ้าของสินค้า แบ่งเป็น 2ประเภท

ค. สิทธิทางกฎหมายที่ให้เจ้าของสิทธิ แบ่งเป็น 2ประเภท

ง. การเป็นเจ้าของสินค้า แบ่งเป็น 3ประเภท

2.กฎหมายลิขสิทธิ์ มี กี่ ประเภท

ก. 8 ประเภท

ข. 5 ประเภท

ค. 6 ประเภท

ง. 9 ประเภท



3. สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึงอะไร

ก. ความคิดสร้างสรรค์จากผู้ผลิต

ข. การแสดงความเป็นเจ้าของ

ค. การค้นเกี่ยวกับ กลไกโครงสร้างส่วนประกอบ ของสิ่งของเครืองใช้
                                                         ่

ง. การตกลงด้านการค้า
11


4.สิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึงอะไร

ก. ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับแชมพูยาสระผม

ข. การออกแบบรูปร่างลวดลาย หรือสีสัน ที่มองเห็นได้จากภายนอก

ค. เพื่อแสดงถึงความต่างของสินค้า

ง. ทาให้คนละเมิดกฎได้ง่ายขึน
                           ้

5.ลิขสิทธิ์ หมายถึงอะไร

ก. การนาสินค้าของคนอื่นมาเป็นของตน

ข. การรับรองให้ผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานโดยการลอก

ค. สิทธิที่กฎหมายรับรองความเป็นธรรม

ง. สิทธิ ที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานกระทาการใดๆเกียวกับงานที่ตนเองทาขึน
                                                           ่                   ้

6.ข้อใดไม่ใช่ประเภทของเครืองหมายการค้า
                          ่

ก. เครื่องหมายตอนรับสิค้า

ข. เครื่องหมายบริการ

ค. เครื่องหมายรับรอง

ง. เครื่องหมายร่วม
12


7.เครื่องหมายการค้ามีกี่ ประเภท

ก. 2 ประเภท เครื่องหมายบริการ และการค้า

ข. 4 ประเภท เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรองและเครืองหมายร่วม
                                                                        ่

ค. 3 ประเภท เครืองหมาย ตอนรับสินค้า เครื่องหมานบริการ เครื่องหมายรับรอง
                ่

ง. 1 ประเภท เครื่อง หมายการค้า

8.ความลับทางการค้า คือ อะไร

ก. ข้อมูลการค้าซึ่งยังไม่รจักกันโดยทั่วไปหรือยังเข้าถึงไม่ได้ในหมู่บุคคล
                          ู้

ข. ข้อมูลสินค้าที่สามารถกระจายได้

ค. ข้อมูลสินค้าที่รู้กนโดยทั่วไป
                      ั

ง.ข้อมูลสินค้าที่รู้ ได้ในบุคคล

9.การละเมิดสิทธิ์ในความลับทางการค้า คือ อะไร

ก. การกระทาที่เก็บข้อมูลเป็นความลับ

ข. การกระทาที่เป็นการเปิดเผยหรือใช้ความลับทางการค้าของผู้อนโดยไม่ได้รับความยินยอม
                                                          ื่

ค.การกระทาที่เป็นการส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์

ง. การส่งเสริมการทุจริต ฉ้อโกง ทางการค้า

10.ถ้าหากนักเรียน โดนละเมิดลิขสิทธิ์ นักเรียนจะทาอย่างไร(จงอธิบาย)
13


                            เฉลย!

1.ก

2.ง

3.ค

4.ข

5.ง

6.ก

7.ข

8.ก

9.ข

10 เป็นการแสดงความคิดเห็น

More Related Content

What's hot

ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
ting2513
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
Sitipun
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
พัน พัน
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
Anana Anana
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
Nattakorn Sunkdon
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 

What's hot (20)

ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
การทำผ้ามัดย้อมจากสีของดอกไม้ (Natural Tie Dye Clothes Fabric Making)
การทำผ้ามัดย้อมจากสีของดอกไม้ (Natural Tie Dye Clothes Fabric Making)การทำผ้ามัดย้อมจากสีของดอกไม้ (Natural Tie Dye Clothes Fabric Making)
การทำผ้ามัดย้อมจากสีของดอกไม้ (Natural Tie Dye Clothes Fabric Making)
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
Phonpat Songsomphao
 
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
AY Un
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
Iam Champooh
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
Iam Champooh
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
Satapon Yosakonkun
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Vi Vik Viv
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Vi Vik Viv
 
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
Panda Jing
 
พรบ.
พรบ.พรบ.
พรบ.
skwtngps
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา (20)

ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตร [มัณฑนศิลป์ ศิลปากร]
 
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา  อ. ทรงศักดิ์
เรื่อง ทรัพย์ทางปัญญา อ. ทรงศักดิ์
 
ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6
 
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูลเทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
เทอม 1 คาบ 6 จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
 
ทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญาทร พย ส_นทางป_ญญา
ทร พย ส_นทางป_ญญา
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุดพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์  พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 กับงานบริการโสตทัศนวัสดุห้องสมุด
 
Copyright Law
Copyright LawCopyright Law
Copyright Law
 
Patent สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
Patent สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรPatent สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
Patent สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทยกฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
กฎหมายลิขสิทธิ์ไทย
 
Petty  patent.pptx
Petty  patent.pptxPetty  patent.pptx
Petty  patent.pptx
 
พรบ.
พรบ.พรบ.
พรบ.
 

More from shikapu

Mindmapcom
MindmapcomMindmapcom
Mindmapcom
shikapu
 
ข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบ
ข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบ
ข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบ
shikapu
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
shikapu
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญาหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา
shikapu
 
มายแมปทรัพย์สินทางปัญญา
มายแมปทรัพย์สินทางปัญญามายแมปทรัพย์สินทางปัญญา
มายแมปทรัพย์สินทางปัญญา
shikapu
 

More from shikapu (8)

Mindmapcom
MindmapcomMindmapcom
Mindmapcom
 
ข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบ
ข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบ
ข้อมูลสรุปคำแนะนำ ติชม และความยากง่ายของข้อสอบ
 
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลกซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
 
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลกซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
 
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลกซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
ซอฟต์แวร์ไทยได้มาตรฐานระดับโลก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญาหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา
 
มายแมปทรัพย์สินทางปัญญา
มายแมปทรัพย์สินทางปัญญามายแมปทรัพย์สินทางปัญญา
มายแมปทรัพย์สินทางปัญญา
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา

  • 1. 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพย์สินทางปัญญา ปัจจุบันการสร้างสรรค์ภาระงาน ชินงาน หรือ กิจกรรมต่างๆจากคอมพิวเตอร์สามารถทาได้ง่ายขึ้น ้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีคุณภาพสูง ราคาถูก และเป็นแหล่งค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพจากการใช้งานเครือข่าย คอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ต แต่ในขณะเดียวกันการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวทาให้เกิดผลเสียในการคัดลอกหรื อนาภาระงาน ชินงาน หรือกิจกรรมต่างๆ เหล่านั้นไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตได้ง่ายยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหา ้ ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่านี้ จึงได้มีการรวบรวมหน่วยงานของรัฐบาล ได้แก่ กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ ที่กากับดูแลงานด้านสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้ากับกรม ศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการที่กากับดูแลงานด้านลิขสิทธิ์เข้าด้วยกันเป็นหน่วยงานเดียวกัน คือ กรมทรัพย์สิน ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2535 ให้มีหน้าที่ดังนี้ -สนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา -ส่งเสริมการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ -พัฒนาการให้บริการด้านทรัพย์สินทางปัญญาอย่างมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง -พัฒนาการระบบการคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาให้ครอบคลุมทั่วถึง -สร้างเครือข่ายด้านทรัพย์สินทางปัญญาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทรัพย์สนทางปัญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทรัพย์สินทาง ิ ปัญญาเป็นทรัพย์สินอีกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น นาฬิกา รถยนต์ โต๊ะ เป็นต้น และอสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น บ้าน ที่ดน เป็น ิ ต้น สามารถแบ่งตามลักษณะผลงานเหล่านั้นเป็นลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า
  • 2. 2 ประเภททรัพย์สินทางปัญญา 1.ลิขสิทธิ์ คือ สิทธิ์ในผลงานที่ได้รับการสร้างสรรค์งานสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งาน ภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ กฎหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภทตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ 1. งานวรรณกรรม ( หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์ คาปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ) 2. งานนาฏกรรม (ท่ารา ท่าเต้น ฯลฯ ) 3. งานศิลปกรรม ( จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ศิลปประยุกต์ ฯลฯ ) 4. งานดนตรีกรรม (ทานอง ทานองและเนื้อร้อง ฯลฯ ) 5. งานสิ่งบันทึกเสียง (เทป ซีดี ) 6. งานโสตทัศนวัสดุ ( วีซีดี ดีวีดี ที่มภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง ) ี 7. งานภาพยนตร์ 8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ 9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ วิธีดาเนินการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ 1. การกรอกข้อมูลและระบุรายละเอียดต่างๆ (1) ชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์ ให้ระบุชื่อสัญชาติ หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนหรือนิติบคคล (แล้วแต่ ุ กรณี) และที่อยู่ของเจ้าของลิขสิทธิ์ (2) ชื่อตัวแทน กรณีที่เจ้าของลิขสิทธิ์ต้องการมอบอานาจให้กับผู้รับมอบอานาจมาดาเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์และระบุถึงขอบเขตอานาจของผู้รับมอบอานาจ โดยให้ระบุ ชื่อ สัญชาติ หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนหรือนิติบุคคล (แล้วแต่กรณี) และที่อยู่ของผู้รับมอบอานาจ
  • 3. 3 (3) สถานที่ติดต่อในประเทศไทย ให้ระบุสถานที่และเบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อเจ้าของสิทธิ หรือตัวแทน เพื่อสะดวกในการติดตามเอกสารและผลงาน กรณีเอกสารและผลงานมีความไม่ครบถ้วน (4) ชื่อผู้สร้างสรรค์หรือนามแฝง ให้ระบุชื่อ สัญชาติ หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน หรือนิติ บุคคล ที่อยู่ผู้สร้างสรรค์ นามแฝง กรณีผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคลให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่จดทะเบียนนิติบคคล ุ และกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวตแล้วให้ระบุ วัน เดือน ปี ทีผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต ิ ่ (5) ชือผู้สร้างสรรค์ร่วมหรือนามแฝง ให้ระบุชอ สัญชาติ หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนหรือนิติ ่ ื่ บุคคล ที่อยู่ของผู้สร้างสรรค์หรือนามแฝง กรณีมีผู้สร้างสรรค์ร่วมมากกว่า 1 คน ให้ระบุในช่องนี้ กรณีผู้ สร้างสรรค์ร่วมเป็นนิติบุคคล ให้ระบุ วัน เดือน ปี ทีจดทะเบียนนิติบคคล และกรณีที่ผู้สร้างสรรค์รวม ่ ุ ่ เสียชีวิตแล้ว ให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวต ิ (6) ชื่อผลงาน ให้ระบุชื่อผลงานที่สะกดถูกต้อง เพื่อประโยชน์ในการระบุในหนังสือรับรองการแจ้ง ข้อมูล (7) ประเภทของงาน ให้ระบุประเภทของงานและลักษณะงานที่ประสงค์จะยื่นแจ้งข้อมูลพร้อมระบุ ผลงานที่ยื่นประกอบคาขอ เช่น หนังสือ 1 เล่ม หรือแผ่นซีดี 1 แผ่น ฯลฯ เป็นต้น (8) ความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ให้ระบุว่าเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์โดยวิธีใด เช่น เป็นผู้สร้างสรรค์ ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้าง นายจ้าง หรือผู้รับโอนลิขสิทธิ์ ฯลฯ เป็นต้น (9) ลักษณะการสร้างสรรค์ ให้ระบุว่า เป็นผู้สร้างสรรค์ขึ้นเองทั้งหมด สร้างสรรค์บางส่วน โดย ระบุว่ามีส่วนใดบ้าง หรือ เป็นกรณีอื่นๆ เช่น เป็นผูรวบรวมผลงาน หรือผู้ดัดแปลงผลงาน ฯลฯ ้ (10) สถานที่สร้างสรรค์ ให้ระบุว่า การสร้างสรรค์ผลงานกระทาในประเทศใด (11) ปีที่สร้างสรรค์ ให้ระบุปีที่ทาการสร้างสรรค์ผลงาน (12) การโฆษณางาน ให้ระบุ วัน เดือน ปี และประเทศที่มีการโฆษณาครั้งแรก โดยการทาสาเนา งานออกจาหน่ายโดยความยินยอมของผู้สร้างสรรค์และสาเนางานมีจานวนมากพอสมควร กรณียังไม่มีการ โฆษณางานให้ระบุโดยทาเครื่องหมายในช่องยังไม่ได้โฆษณา
  • 4. 4 (13) การแจ้ง/จดทะเบียนลิขสิทธิ์ในต่างประเทศ ให้ระบุว่าเคยแจ้ง/จดทะเบียนลิขสิทธิ์ ใน ต่างประเทศหรือไม่ โดยให้ทาเครื่องหมายลงในช่องการแจ้งหรือจดทะเบียน (แล้วแต่กรณี) (14) การอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธิ์/โอนลิขสิทธิ์ ให้ระบุเครื่องหมายลงในช่องว่าเคยอนุญาต/โอนลิขสิทธิ์ หรือไม่ เช่น หากไม่เคยอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธิ์/โอนลิขสิทธิ์ ให้ทาเครื่องหมายในช่องไม่เคยอนุญาตให้ผู้อื่นใช้ ลิขสิทธิ์หรือโอนลิขสิทธิ์ในงานของตน หากเคยอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธิ์/โอนลิขสิทธิ์ ให้ระบุว่าอนุญาตให้ใช้ หรือโอนลิขสิทธิ์แก่ใคร เมื่อใด เป็นการอนุญาตโอนลิขสิทธิ์โดยให้สิทธิทั้งหมดหรือบางส่วน และมีระยะเวลา ในการอนุญาต/โอนลิขสิทธิ์เท่าใด (15) การเผยแพร่ข้อมูลลิขสิทธิ์ ให้ระบุว่าอนุญาตให้คนอื่นตรวจดูเอกสารในแฟ้มคาขอแจ้งข้อมูล ลิขสิทธิ์และผลงานหรือไม่ (16) การลงนามในคาขอให้เจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทนเป็นผู้ลงนาม 2. ใบต่อท้ายคาขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ในกรณีทข้อมูลที่กรอกในคาขอ (ลข.01) มีจานวนมาก และผู้ขอไม่อาจ ี่ กรอกข้อมูลได้ครบถ้วนในแต่ละข้อ เช่น ในกรณีที่มีเจ้าของลิขสิทธิ์ ตัวแทน ผู้สร้างสรรค์ร่วมมากกว่า 1 คน ผู้ ขอสามารถระบุข้อมูลเพิ่มเติมได้ในใบต่อท้ายฯ ผู้ลงนามในใบต่อท้าย คือ เจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทน 3. แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานโดยย่อ ให้ระบุวิธีการและขันตอนในการสร้างสรรค์ ้ ผลงานโดยย่อหรือแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน ผู้ลงนามในแบบแสดงรายละเอียดการสร้างสรรค์ ผลงานโดยย่อ คือ เจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทน 4. หนังสือรับรองความเป็นเจ้าของงานลิขสิทธิ์ ให้ระบุชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์ ที่อยู่ ทะเบียนนิติบุคคล(ถ้ามี) ประเภทของงานลิขสิทธิ์ ชื่อผลงาน และระบุวันที่ยนคาขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ผู้ลงนามในหนังสือรับรองความ ื่ เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ เท่านั้น 5. ผลงานลิขสิทธิ์ที่ใช้ยื่นประกอบคาขอ - วรรณกรรม เช่น หนังสือ ชุดเอกสาร แผ่นซีดี ฯลฯ - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น สาเนา Source Code จานวน 10 หน้าแรกและ 10 หน้า สุดท้าย หรือส่ง ซีดีหรือแผ่นดิสก์บรรจุโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และในกรณีที่มี Source Code น้อยกว่า 50 หน้า ให้ส่งแผ่นซีดี หรือแผ่นดิสก์บรรจุโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเจ้าของลิขสิทธิ์อาจผนึกและลงลายมือชื่อกากับด้วยก็ได้
  • 5. 5 - นาฏกรรม เช่น แผ่นซีดี ภาพการแสดงพร้อมบรรยายประกอบท่าทางทุกขั้นตอน ฯลฯ - ศิลปกรรม เช่น ภาพถ่ายผลงาน ภาพร่างผลงาน ภาพพิมพ์เขียว - สิ่งบันทึกเสียง เช่น แผ่นซีดี เทปเพลง ฯลฯ - โสตทัศนวัสดุ เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวดี ฯลฯ ี - ภาพยนตร์ เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี ฯลฯ - ดนตรีกรรม เช่น เนื้อเพลง แผ่นซีดี เทปเพลง โน้ตเพลง ฯลฯ - แพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น แผ่นวีซีดี แผ่นซีดี ฯลฯ - งานอื่นใดอันเป็นงานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ เช่น ภาพถ่ายของ ผลงาน ฯลฯ 6. เอกสารที่ใช้ประกอบการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ 1. สาเนาบัตรประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง (กรณีเป็นบุคคลธรรมดา) 2. สาเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล ที่นายทะเบียนออกให้ไม่เกิน 6 เดือน ของเจ้าของลิขสิทธิ์ 3. หนังสือมอบอานาจติดอากรแสตมป์ 30 บาท พร้อมสาเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบอานาจ พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง (กรณีมีการมอบอานาจ) 4. หน่วยงานหรือองค์กรของรัฐบาลใช้สาเนาหนังสือแต่งตั้งผู้บริหารหน่วยงานหรือองค์กรฯ รวมทั้ง สาเนาบัตรประชาชนของผู้ยื่นคาขอ พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง 5. มูลนิธิใช้สาเนาหนังสือการจดทะเบียนตั้งมูลนิธิ พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง กฎหมายที่สาคัญทีใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้ลขสิทธิ์ คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ่ ิ
  • 6. 6 2.สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มี ลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด เป็นสิทธิพิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิต สินค้า จาหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียว ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง การประดิษฐ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขน หรือทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้น ึ้ ใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น กลไกของเครื่องยนต์ , ยารักษาโรค, วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้ เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกียวกับรูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ ที่ ่ แตกต่างไปจากเดิม เช่น การออกแบบแก้วน้าให้มีรูปร่างเหมือนรองเท้า เป็นต้น อนุสิทธิบัตร คือ หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์จะมีลกษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์ ั แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย ี และมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น สนธิสัญญาความร่วมมือด้านสิทธิบัตร หรือ PCT PCT ย่อมาจาก Patent Cooperation Treaty เป็นความตกลงระหว่างประเทศสาหรับการขอรับความ คุ้มครองการประดิษฐ์ในประเทศที่เป็นสมาชิก เพื่ออานวยความสะดวก และลดภาระของผู้ขอรับสิทธิบัตร แทนที่จะต้องไปยื่นคาขอรับสิทธิบัตรในประเทศต่าง ๆ แต่ละประเทศที่ผู้ขอประสงค์จะขอรับความคุ้มครอง โดยสามารถที่จะยื่นคาขอที่สานักงานสิทธิบัตรภายในประเทศ ของตน สานักงานสิทธิบัตรก็จะส่งคาขอไป ดาเนินการตามขันตอนของระบบ PCTที่องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO) ้ ระบบ PCT นี้ไม่ได้เป็นระบบการรับจดทะเบียนสิทธิบัตรที่จะส่งผลให้ประเทศที่เป็นสมาชิกต้องรับ จดทะเบียนตามไปด้วย เนื่องจาก ระบบ PCT จะมีการดาเนินการในขั้นตอนต้น ๆ ของการขอรับสิทธิบัตร เท่านั้น ไม่มีการรับจดทะเบียนแต่อย่างใด การรับจดทะเบียนสิทธิบัตร PCT เป็นอานาจอธิปไตยของแต่ละ ประเทศที่ผู้ขอประสงค์จะขอความคุ้มครอง ซึ่งจะมีการตรวจสอบตามขั้นตอนและเงื่อนไขของกฎหมาย ภายในประเทศนั้น ๆ ก่อนรับจดทะเบียนสิทธิบัตรต่อไป ซึงประเทศไทยสมัครเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาความ ่ ร่วมมือด้านสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2552 ถือเป็นสมาชิกลาดับที่ 142 กฎหมายที่สาคัญทีใช้ในการกากับดูแลเกี่ยวกับการใช้สิทธิบัตร คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2522 ่
  • 7. 7 3.เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่ เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่า สินค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าทีใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ ่ เป็นต้น เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับการบริการ เพื่อ แสดงว่าบริการทีใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมาย ่ ของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น เครื่องหมายรับรอง (Certificaion mark) คือเครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมาย หรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรา เป็นต้น เครื่องหมายร่วม (Colective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือ รัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จากัด เป็นต้น ตัวอย่างเครื่องหมายการค้า ในปัจจุบน ประเทศไทยมีกฎหมายให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา3 ฉบับ คือ ั 1. พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2542 2. พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 และ 3. พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีพันธกรณีตามการเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ ที่จะต้องออกกฎหมายให้ความ คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท ต่อไปในอนาคต
  • 8. 8 ที่มา 1.หนังสือเรียนเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.5 2. www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content&task=section&id=21&Itemid=198 3. www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content&task=section&id=18&Itemid=195 4. www.thaigoodview.com/node/110434
  • 10. 10 คาถามท้ายบท! 1.ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึงอะไร แบ่งเป็นกี่ประเภท ก. สิทธิทางกฎหมายที่ให้เจ้าของสิทธิ แบ่งเป็น 3ประเภท ข. การเป็นเจ้าของสินค้า แบ่งเป็น 2ประเภท ค. สิทธิทางกฎหมายที่ให้เจ้าของสิทธิ แบ่งเป็น 2ประเภท ง. การเป็นเจ้าของสินค้า แบ่งเป็น 3ประเภท 2.กฎหมายลิขสิทธิ์ มี กี่ ประเภท ก. 8 ประเภท ข. 5 ประเภท ค. 6 ประเภท ง. 9 ประเภท 3. สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึงอะไร ก. ความคิดสร้างสรรค์จากผู้ผลิต ข. การแสดงความเป็นเจ้าของ ค. การค้นเกี่ยวกับ กลไกโครงสร้างส่วนประกอบ ของสิ่งของเครืองใช้ ่ ง. การตกลงด้านการค้า
  • 11. 11 4.สิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึงอะไร ก. ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับแชมพูยาสระผม ข. การออกแบบรูปร่างลวดลาย หรือสีสัน ที่มองเห็นได้จากภายนอก ค. เพื่อแสดงถึงความต่างของสินค้า ง. ทาให้คนละเมิดกฎได้ง่ายขึน ้ 5.ลิขสิทธิ์ หมายถึงอะไร ก. การนาสินค้าของคนอื่นมาเป็นของตน ข. การรับรองให้ผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานโดยการลอก ค. สิทธิที่กฎหมายรับรองความเป็นธรรม ง. สิทธิ ที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานกระทาการใดๆเกียวกับงานที่ตนเองทาขึน ่ ้ 6.ข้อใดไม่ใช่ประเภทของเครืองหมายการค้า ่ ก. เครื่องหมายตอนรับสิค้า ข. เครื่องหมายบริการ ค. เครื่องหมายรับรอง ง. เครื่องหมายร่วม
  • 12. 12 7.เครื่องหมายการค้ามีกี่ ประเภท ก. 2 ประเภท เครื่องหมายบริการ และการค้า ข. 4 ประเภท เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรองและเครืองหมายร่วม ่ ค. 3 ประเภท เครืองหมาย ตอนรับสินค้า เครื่องหมานบริการ เครื่องหมายรับรอง ่ ง. 1 ประเภท เครื่อง หมายการค้า 8.ความลับทางการค้า คือ อะไร ก. ข้อมูลการค้าซึ่งยังไม่รจักกันโดยทั่วไปหรือยังเข้าถึงไม่ได้ในหมู่บุคคล ู้ ข. ข้อมูลสินค้าที่สามารถกระจายได้ ค. ข้อมูลสินค้าที่รู้กนโดยทั่วไป ั ง.ข้อมูลสินค้าที่รู้ ได้ในบุคคล 9.การละเมิดสิทธิ์ในความลับทางการค้า คือ อะไร ก. การกระทาที่เก็บข้อมูลเป็นความลับ ข. การกระทาที่เป็นการเปิดเผยหรือใช้ความลับทางการค้าของผู้อนโดยไม่ได้รับความยินยอม ื่ ค.การกระทาที่เป็นการส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ ง. การส่งเสริมการทุจริต ฉ้อโกง ทางการค้า 10.ถ้าหากนักเรียน โดนละเมิดลิขสิทธิ์ นักเรียนจะทาอย่างไร(จงอธิบาย)
  • 13. 13 เฉลย! 1.ก 2.ง 3.ค 4.ข 5.ง 6.ก 7.ข 8.ก 9.ข 10 เป็นการแสดงความคิดเห็น