SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
หน้าที่พลเมือง
หน่วยที่ ๑. สังคมไทย
หน่วยที่ ๒. ระบอบการปกครอง
หน่วยที่ ๔. การเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย
หน่วยที่ ๕. พลเมืองดีตามหลักกฎหมาย
หน่วยที่ ๖. การเป็นพลเมืองดีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
หน่วยที่ ๓. ความเป็นพลเมืองไทย
หน่วยที่ ๑ สังคมไทย
หน่วยที่ ๑. สังคมไทย
หัวข้อศึกษา
ลักษณะสังคมไทย
ความหมายของสังคม
ประเภทของสังคม
โครงสร้างทางสังคม
ลักษณะสังคมไทย
ความหมายของสังคม
ประเภทของสังคม
โครงสร้างทางสังคม( Social Structure)
ปัญหาสังคมไทย
ความหมายของสังคมความหมายของสังคม
ประเภทของสังคม
โครงสร้างทางสังคม
ลักษณะสังคมไทย
ความหมายตามรูปศัพท์คาว่า สังคม แปลว่า
สัง
แปลว่า
ด้วยกัน, พร้อมกัน
คม
แปลว่า
ไป, ดาเนินไป
สังคม
สังคม แปลว่า ไปด้วยกัน ไปพร้อมกัน
+
ความหมายของคาว่า สังคม (Society)
หมายถึง คนจานวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน
ในระยะเวลาหนึ่ง โดยมีระเบียบกฎเกณฑ์
วัตถุประสงค์วัฒนธรรมร่วมกัน เช่น ครอบครัว
สังคมไทย เป็นต้น
สังคม
ลักษณะที่สาคัญของสังคม
๑. ประกอบด้วยกลุ่มคนที่อยู่ร่วมกัน
๔. มีค่านิยม ความคิด ความเชื่อ บรรทัดฐานเดียวกัน
๕. มีการแบ่งหน้าที่และมีความสามัคคีร่วมมือกัน
๖. กลุ่มดารงอยู่และสืบทอดดาเนินไปเรื่อยๆ
สังคม
๒. มีอาณาเขตและดินแดนที่อยู่แน่นอน
๓. มีความสัมพันธ์ทางสังคม และมีการพึ่งพากัน
๗. มีการเปลี่ยนแปลง
ประเภทของสังคมความหมายของสังคม
ประเภทของสังคม
โครงสร้างทางสังคม
ลักษณะสังคมไทย
society
๑. สังคมชนบท
สังคม
ประเภทของสังคม
แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้
๒.สังคมเมือง
ประเภทของสังคม
๑. สังคมชนบท มีลักษณะดังนี้
แบ่งเป็น ๒ ประเภท
- เป็นสังคมที่อยู่ในเขตชนบท มีความเป็นอยู่คล้ายคลึงกัน
- มีความหนาแน่นของประชากรน้อย
- สมาชิกมีความสัมพันธ์แบบสนิทสนม
- ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี
- สมาชิกส่วนมากประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร
สังคมชนบท
ประเภทของสังคม
๒. สังคมเมือง (Urban Society) มีลักษณะดังนี้
สังคมเมือง
แบ่งเป็น ๒ ประเภท
- เป็นสังคมที่อยู่ในเขตเมือง มีความเป็นอยู่แบบปัจเจกบุคคลสูง
- มีความหนาแน่นของประชากรมาก
- สมาชิกมีความสัมพันธ์แบบเป็นทางการ
- สมาชิกมีความแตกต่างกันมาก
- สมาชิกประกอบอาชีพอย่างหลากหลาย
โครงสร้างทางสังคม
( Social Structure)
ความหมายของสังคม
ประเภทของสังคม
โครงสร้างทางสังคม
ลักษณะสังคมไทย
ความหมายของโครงสร้างทางสังคม
หมายถึง แบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคลที่
ประพฤติปฏิบัติต่อกัน เพื่อประโยชน์ในการอยู่ร่วมกันของ
สมาชิก และให้สังคมดารงอยู่ได้ เช่น โครงสร้างครอบครัว
ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูกเป็นต้น
โครงสร้างทางสังคม
society
๑. กลุ่มสังคม
(Social Groups)
๒. การจัดระเบียบทางสังคม
(Social Organization)
๓. สถาบันทางสังคม
(Social Institutions)
โครงสร้างทางสังคมองค์ประกอบโครงสร้างทาง
สังคม
แบ่งออกเป็น ๓ ประการ ดังนี้
องค์ประกอบโครงสร้างทางสังคม
กลุ่มสังคม
แบ่งออกเป็น ๓ ประการ ดังนี้
๑. กลุ่มสังคม (Social Groups)
คือ กลุ่มบุคคล ที่สมาชิกในกลุ่มมีการติดต่อสัมพันธ์กันอย่าง
มีระบบแบบแผนเป็นที่ยอมรับร่วมกัน กลุ่มสังคมจะมี
ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีสัญลักษณ์ มีความ
สนใจคล้ายกัน ซึ่งทาให้กลุ่มมีลักษณะแตกต่างกับกลุ่มอื่นๆ
เช่น กลุ่มครอบครัว กลุ่มเพื่อน กลุ่มชุมชน เป็นต้น
กลุ่มสังคมแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้
๑.๑ กลุ่มปฐมภูมิ
(Primary Groups)
คือ กลุ่มบุคคลที่มีความสัมพันธ์
กันอย่างใกล้ชิด มีขนาดเล็ก มี
ความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน มีการ
ติดต่อกันเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น
กลุ่มครอบครัว กลุ่มเพื่อนสนิท
เป็นต้น
๑.๒ กลุ่มฑุติยภูมิ
(Secondary Groups)
คือ กลุ่มบุคคลขนาดใหญ่ที่มี
ความสัมพันธ์อย่างมีแบบแผน
ตามระเบียบกฎเกณฑ์ของกลุ่ม
นั้นๆ เช่น กลุ่มคนในสถานศึกษา
กลุ่มคนในที่ทางาน เป็นต้น
กลุ่มสังคม
องค์ประกอบโครงสร้างทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
คือ การกาหนดแนวทางการปฏิบัติของสมาชิกในสังคม เพื่อให้
ความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคมดาเนินไปด้วยความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย เพื่อความสงบสุขและความเจริญรุ่งเรืองมั่นคงของสังคม
เช่น วันสงกรานต์การแสดงความกตัญญูกตเวทีโดยการรดน้าผู้ใหญ่
เป็นต้น
๒. การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
แบ่งออกเป็น ๓ ประการ ดังนี้
society
การจัดระเบียบทางสังคมมี
องค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
๒.๑ บรรทัดฐานทางสังคม
(Social Norms)
๒.๒ สถานภาพและบทบาท
(Status and Role)
๒.๓ ค่านิยมทางสังคม
(Social Value)
๒.๔ การขัดเกลาทางสังคม
(Socialization)
การจัดระเบียบทางสังคมมีองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
บรรทัดฐานทางสังคม
๒.๑ บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms)
คือ ระเบียบ แบบแผน กฎเกณฑ์ หรือข้อบังคับที่ใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติร่วมกันของสมาชิกในสังคมเพื่อให้เกิด
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความสงบสุขในการอยู่
ร่วมกันในสังคม เช่น มารยาททางสังคม กฎหมาย เป็นต้น
society
บรรทัดฐานทางสังคม แบ่งได้๓ ประการ
๑. วิถีประชา
(Folkways)
หมายถึง แนวทางในการปฏิบัติ
ที่อ้างกฎศีลธรรมทางศาสนา
และค่านิยมของสังคมในการ
กาหนดความถูกผิดของการ
ปฏิบัติ เช่น การเลี้ยงดูพ่อแม่
เมื่อแก่เฒ่า การไม่สาส่อนทาง
เพศ เป็นต้น การฝ่ าฝืนของ
สมาชิกในสังคมจะมีการลงโทษ
ผู้ละเมิดอย่างรุนแรง เช่น การ
ไม่คบค้าสมาคม การตาหนิติ
เตียนอย่างรุนแรง เป็นต้น
๒. จารีต
(Mores)
หมายถึง ข้อห้ามที่รัฐกาหนด
เพื่อควบคุมพฤติกรรมของ
สมาชิกในสังคมให้เป็นไป
ในทางที่ถูกต้องดีงาม ถ้าสมาชิก
ในสังคมฝ่ าฝืนจะได้รับการ
ลงโทษตามบทบัญญัติของ
กฎหมาย เช่น ปรับ จาคุก
ประหารชีวิต
๒.๑.๓ กฎหมาย
(Law)
บรรทัดฐานทางสังคม
หมายถึง แนวทางในการปฏิบัติ
ที่ทุกคนยอมรับปฏิบัติกัน
โดยทั่วไป จนเกิดความเคยชิน
ในการดาเนินชีวิตประจาวัน
เช่น มารยาทการรับประทาน
อาหาร มารยาทในการเข้า
สังคม เป็นต้น การฝ่ าฝืนของ
สมาชิกจะได้รับการลงโทษ
เพียงเล็กน้อยเท่านั้น เช่น ได้
รับคาติฉินนินทา ได้รับการ
หัวเราะเยาะ เป็นต้น
องค์ประกอบสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
สถานภาพ บทบาท
๒.๒ สถานภาพและบทบาท (Status and Role)
สถานภาพ หมายถึง ฐานะหรือตาแหน่งของบุคคลที่ได้จากการเป็น
สมาชิกของกลุ่ม เช่น ครู นักเรียน พ่อแม่ สถานภาพขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบสาคัญๆ เช่น อาชีพ เชื้อชาติ ศาสนา วงศ์สกุล เป็นต้น
บทบาท หมายถึง หน้าที่ตามสถานภาพต่างๆ ที่บุคคลต้องความ
รับผิดชอบประพฤติตาม เช่น ครูต้องสอนหนังสือ นักเรียนต้องเรียน
หนังสือ เป็นต้น
องค์ประกอบสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
ค่านิยมทางสังคม
๒.๓ ค่านิยมทางสังคม (Social Value)
หมายถึง สิ่งที่บุคคลส่วนใหญ่ในสังคมเห็นว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง
ดีงาม มีค่าควรแก่การยึดมั่นมาเป็นแนวทางในการประพฤติ
ปฏิบัติ
องค์ประกอบสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
การขัดเกลา
๒.๔ การขัดเกลาทางสังคม (Socialization)
หมายถึง กระบวนการของสังคมในการอบรมสั่งสอนให้สมาชิกได้
เรียนรู้ระเบียบ แบบแผน หรือวิธีการปฏิบัติต่างๆ ที่สังคมได้กาหนดไว้
ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกของสังคมสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมนั้นๆ ได้
อย่างมีความสุข เช่น การอบรมสั่งสอนของพ่อแม่ การสังเกตการ
ปฏิบัติของผู้อื่นแล้วปฏิบัติตามนั้น เป็นต้น
องค์ประกอบโครงสร้างทางสังคม
มี ๓ ประการ ดังนี้
คือ รูปแบบที่ถูกจัดตั้งขึ้นอย่างมีระบบ มีแนวทางปฏิบัติอย่างเป็น
ระเบียบแบบแผน เป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในสังคมอย่างเป็น
ทางการ มีความมั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลงง่าย เพื่อตอบสนองความ
ต้องการและการดารงอยู่ของสังคม เช่น สถาบันครอบครัว
สถาบันการศึกษา เป็นต้น
๓. สถาบันทางสังคม (Social Institutions)
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมพื้นฐานที่สาคัญ
มี ๕ สถาบัน ดังนี้
๓.๑ สถาบันครอบครัว
เป็นสังคมกลุ่มแรกที่สาคัญที่สุดที่เราจะต้องเผชิญตั้งแต่แรกเกิด
ครอบครัวจะให้ตาแหน่ง ชื่อ สกุล ซึ่งเป็นเครื่องบอกสถานภาพ
และบทบาทในสังคม
๓.๒ สถาบันเศรษฐกิจ
เป็นสถาบันสังคมที่ช่วยตอบสนองความต้องการที่จาเป็น คือ
ปัจจัยพื้นฐานของมนุษย์ เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย
ยารักษาโรค
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมพื้นฐานที่สาคัญ
สถาบันทางสังคม
มี ๕ สถาบัน ดังนี้
๓.๓ สถาบันการปกครอง
เป็นสถาบันที่ตอบสนองความต้องการของชีวิตและสังคมในการ
ป้ องกัน และรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม
๓.๔ สถาบันศาสนา
เป็นกลไกสาคัญในการควบคุมทางสังคม เพื่อให้เกิดความ
ประพฤติและพฤติกรรมอันถูกต้อง เพื่อนาไปสู่ความสงบสุข
ความเป็นระเบียบ และศีลธรรมอันดี
สถาบันทางสังคมพื้นฐานที่สาคัญ
society
มี ๕ สถาบัน ดังนี้
๓.๕ สถาบันการศึกษา
เป็นกิจกรรมพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับมนุษย์ทุกคน
เพราะสังคมจะดารงอยู่ได้ด้วยการส่งถ่ายความรู้จากคน
รุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง การอบรมสั่งสอนสมาชิกไม่
ทางใดก็ทางหนึ่งจึงจาเป็นต้องให้สมาชิกได้เรียนรู้สิ่ง
ต่างๆ ตามที่สังคมต้องการ เพื่อการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง
ปกติสุข
ลักษณะสังคมไทยความหมายของสังคม
ประเภทของสังคม
โครงสร้างทางสังคม
ลักษณะสังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยที่สาคัญๆ
๑. เป็นสังคมเกษตรกรรม
การเกษตรกรรมเป็นอาชีพสาคัญของคนไทยเนื่องจากมีสภาพ
ภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่เหมาะสม มีปริมาณน้าและฝนเพียงพอต่อ
การทาเกษตรกรรม สังคมไทยจึงมีวิถีชีวิตผูกพันกับธรรมชาติ ส่งผลให้
สมาชิกในสังคมมีความใกล้ชิด ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเอื้อเฟื้อ
เผื่อแผ่ ยึดมั่นอยู่กับวัฒนธรรมประเพณี
สังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยที่สาคัญๆ
๒. สังคมไทยนับถือพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อสมาชิกในสังคมไทยในทุกๆ ด้าน ทั้งด้าน
ความคิด ความเชื่อ ส่งผลให้คนไทยมีนิสัยรักสงบ มีความเมตตากรุณา
ลืมง่ายเป็นพื้นฐาน ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมซึ่ง
เป็นเอกลักษณ์ที่เป็นแบบแผนของสังคมไทย
สังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยที่สาคัญๆ
๓. เป็นสังคมที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันหลักที่สาคัญของ
สังคมไทย นับตั้งแต่การก่อตั้งอาณาจักรไทย ทรงมีบทบาทในการนาและ
ช่วยให้สังคมไทยอยู่รอดมาโดยตลอด ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทย
พระองค์ทรงเป็นผู้ประสานสามัคคีในยามที่ประเทศประสบภาวะวิกฤต
พระองค์ทรงชี้แนะแนวทางทาให้สามารถแก้ปัญหา ทาให้สังคมไทยรวมตัว
กันได้อย่างเป็นปึกแผ่นเหนียวแน่น รักษาความเป็นชาติได้สืบมาจนถึง
ปัจจุบัน
สังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยที่สาคัญๆ
๔. เป็นสังคมระบบอุปถัมภ์
ระบบอุปถัมภ์เป็นระบบหนึ่งที่มีการพัฒนาการมาอย่างยาวนานตั้งแต่
เริ่มแรกเกิดสังคมไทย โดยระบบอุปถัมภ์เป็นระบบความสัมพันธ์ของ
คน ๒ ฝ่ าย ซึ่งมีความไม่เท่าเทียมกัน ฝ่ ายที่อยู่เหนือกว่า คือ มี
ทรัพยากร มีศักดิ์ มีอานาจมากกว่าจะอยู่ในฐานะอุปถัมภ์ ฝ่ ายที่อยู่ต่ากว่า
คือ ผู้ที่มีทรัพยากรน้อยกว่า หรือมีอานาจด้อยกว่าจะ เป็นผู้ใต้
อุปถัมภ์ ต่างฝ่ ายต่างมีการแสวงหาแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กันในลักษณะ
ต่างตอบแทนซึ่งกันและกัน
สังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยที่สาคัญๆ
๕. เป็นสังคมที่มีโครงสร้างแบบหลวมๆ
สมาชิกในสังคมไทยไม่เคร่งครัดต่อระเบียบ วินัย กฎเกณฑ์ ชอบความ
สะดวกสบาย สนุกสนาน การไม่เคร่งครัดต่อระเบียบวินัยเป็นผลให้
เกิดความย่อหย่อนในการรักษา กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ และกติกาของ
สังคม
สังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยที่สาคัญๆ
๖. เป็นสังคมที่มีการอพยพเคลื่อนย้ายไปสู่ถิ่นอื่นสูง
สมาชิกส่วนใหญ่ในสังคมมีการศึกษาต่า ยากจน อัตราการเกิดตาย
ลดลง ชาวชนบทอพยพเข้าเมืองหรืออพยพไปชนบทอื่น ๆ สูง ส่วน
ใหญ่เป็นการอพยพย้ายถิ่นแบบชั่วคราวเช่น ชาวอีสานไปรับจ้างใน
เมือง หรือเดินทางไปขายแรงงานในต่างประเทศ ฯลฯ
สังคมไทย
ลักษณะสังคมไทยที่สาคัญๆ
๗. เป็นสังคมเปิด
สมาชิกส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับวัฒนธรรมต่างชาติ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความคิด วิถี
ดาเนินชีวิตไปจากเดิมเป็นอันมาก การพัฒนาประเทศจะให้
ความสาคัญการพัฒนาวัตถุมากกว่าการพัฒนา จิตใจ สภาพวิถีชีวิตของ
บุคคลโดยเฉพาะสังคมเมืองเปลี่ยนแปลงไปโดยรวดเร็ว
สังคมไทย
ปัญหาสังคมไทย
(Social Problem)ความหมายของสังคม
ประเภทของสังคม
โครงสร้างทางสังคม
ลักษณะสังคมไทย
ความหมายของปัญหาสังคมไทย
หมายถึง สถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่คนส่วนมาก
ในสังคมถือว่ามีผลกระทบทางลบต่อค่านิยม และมี
ความรู้สึกร่วมกันว่าสถานการณ์นั้นควรได้รับการ
แก้ปัญหาให้ดีขึ้น
ปัญหาของสังคมไทย
ปัญหาของสังคมไทย
สาเหตุของปัญหา
สังคมไทย
๑. สังคมมีการเปลี่ยนแปลง เช่น
สังคมชนบท สังคมเมือง
เปลี่ยน
สังคมเกษตรกรรม สังคมอุตสาหกรรม
เปลี่ยน
เปลี่ยน
ค่านิยมการแต่งกาย การแต่งกายเลียนแบบ
ปัญหาของสังคมไทย
สาเหตุของปัญหา
สังคมไทย
๒. กฎหมาย ข้อกาหนด กฎเกณฑ์ต่างๆ ไม่มี
ความเที่ยงธรรม เช่น
นักเรียนทุจริตสอบได้ แต่นักเรียนสุจริตสอบตก
คนรวยทาผิดไม่ติดคุก คนจนทาผิดติดคุก
คนโกงร่ารวย คนซื่อสัตย์ยากจน
ปัญหาของสังคมไทย
สาเหตุของปัญหา
สังคมไทย
๒. มีสมาชิกบางกลุ่มมีความเห็นแก่ตัว เช่น
โรงงานอุตสาหกรรม
ปล่อยน้าเสีย
คนรวยมีความเห็นแก่ตัวไม่
เอื้อเฟื้อคนยากจน
เจ้าของธุรกิจเอาเปรียบ
ผู้บริโภค
จบจบ

More Related Content

What's hot

อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปleemeanshun minzstar
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาChainarong Maharak
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะNapatrapee Puttarat
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 

Similar to หน่วยที่ ๑ สังคมไทย ปวสใหม่

สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
เรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคมเรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคมnaowarat-acr
 
โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0Parn Nichakorn
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคมChalit Arm'k
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมthnaporn999
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186CUPress
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
ใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocx
ใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocxใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocx
ใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocxArtittaya Tabtimtong
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมChalit Arm'k
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
ใบความรู้พลเมืองดี
ใบความรู้พลเมืองดีใบความรู้พลเมืองดี
ใบความรู้พลเมืองดีajchara007
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายrubtumproject.com
 

Similar to หน่วยที่ ๑ สังคมไทย ปวสใหม่ (20)

สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
เรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคมเรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคม
 
โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
สังคมประกิต
สังคมประกิตสังคมประกิต
สังคมประกิต
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
ใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocx
ใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocxใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocx
ใบงานที่ 2.8 ประเด็นโลกศึกษาdocx
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
ใบความรู้พลเมืองดี
ใบความรู้พลเมืองดีใบความรู้พลเมืองดี
ใบความรู้พลเมืองดี
 
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชายตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
ตัวอย่างบทที่ 2 พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของกลุ่มชายรักชาย
 

หน่วยที่ ๑ สังคมไทย ปวสใหม่

Editor's Notes

  1. หน้าที่พลเมือง