SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
มะเร็งปากมดลูก
รู้ทัน ป้องกันได้
TH/SYN/0043/15
ปากมดลูก
มดลูก รังไข่ท่อนาไข่
ช่องคลอด
ปากมดลูก...อยู่ที่ไหน
มะเร็งปากมดลูกปากมดลูกปกติ
มะเร็งปากมดลูกพบมากในหญิงไทย
8,184 4,513
จานวนผู้ป่ วย/ปี จานวนผู้เสียชีวิต/ปี
Source: GLOBOCAN (IARC) 2012
Source: GLOBOCAN (IARC) 2012
ผู้หญิงไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก
ถึงวันละ 12 คน
• ไม่ได้เกิดจากกรรมพันธุ์
• เกิดจากการติดเชื้อ HPV
ชนิดก่อมะเร็ง
สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก
Saslow D et al. CA Cancer J Clin 2007;57:7–28. p11, LH column.
การติดเชื้ อ HPV
• ติดต่อได้ง่ายมากจากเพศสัมพันธ์
• จากการสัมผัสบริเวณอวัยวะเพศ
• ถุงยางอนามัยป้องกันไม่ได้ 100%
• 50-80% ของผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์แล้วจะติดเชื้ อ
ในช่วงชีวิตหนึ่ง
เพศสัมพันธ์แม้เพียงครั้งเดียว ก็อาจติดได้
เชื้อ HPV แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
สายพันธุ์ก่อมะเร็ง
(Oncogenic HPV)
ทาให้เกิดรอยโรคขั้น
สูง และมะเร็งปาก
มดลูก
มี 15 สายพันธุ์ เช่น
16, 18, 31, 33, 45,
51, 52 เป็นต้น
สายพันธุ์ที่ไม่ก่อให้เกิด
มะเร็ง (Non-oncogenic
HPV)
ไม่ทาให้เกิดมะเร็ง
เป็นสาเหตุของหูด
หงอนไก่
มีจานวน 12 สายพันธุ์
เช่น 6, 11 เป็นต้น
เชื้อ HPV กลุ่มก่อมะเร็งเท่านั้น
ที่เป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก
HPV 16
HPV 18
HPV 45
HPV 31
สายพันธุ์อื่นๆ*
53.5%
17.2%
6.7%
2.9%
19.7%
0 20 30 40 50 60
สายพันธุ์HPVชนิดก่อมะเร็ง
Adapted from Muňoz N, et al. Int J Cancer 2004; 111:278–285.
Association of HPV types with cervical cancer, %
10
80%
70%
สายพันธุ์ HPV กับมะเร็งปากมดลูก
*HPV 33, 52, 58, 35, 59, 56, 31, 59, 68, 73, 82, other, x
ติดเชื้อชั่วคราว
• ติดแล้วหายไป
• กลับเป็นใหม่ได้อีก
เพศสัมพันธ์ ติดเชื้อ HPV
10%
90%
ติดเชื้อฝังแน่น

เซลล์ปากมดลูก
ผิดปกติ

มะเร็ง
ปากมดลูก
รอยโรคก่อนเป็นมะเร็ง มะเร็งปากมดลูกปากมดลูกปกติ
การดาเนินโรค
ปากมดลูกติดเชื้อ  มะเร็งปากมดลูก
ใช้เวลาเฉลี่ย 10-15 ปี
ทาไมผู้หญิงทุกคนถึงเสี่ยง?
- 50-80% ของผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์
แล้ว จะติดเชื้อ HPV ในช่วงชีวิตหนึ่ง
-แม้ผู้หญิงส่วนใหญ่ (90%) สามารถกาจัด
เชื้อออกไปได้ แต่เราไม่รู้ว่าใครมีการติด
เชื้อแบบฝังแน่น
- 46% ของผู้หญิงที่มีคู่นอนคนเดียว เกิด
การติดเชื้อ HPV ภายใน 3 ปี
Source: 1) Baseman JG et al. J Clin Virol 2005; 32 Suppl 1; S1624 2) Collins S. et al. High incidence of cervical human papillomavirus infection in women during their first sexual relationship. BLOG.2002 Jan:109!1):96-8
ความเสี่ยงไม่ได้เกิดจากผู้หญิงเท่านั้น
แต่ยังเกิดจากคู่นอนด้วย
มะเร็งปากมดลูก
สามารถป้องกันได้
1. หลีกเลี่ยง
 เพศสัมพันธ์
 การมีกิ๊ก, คู่นอนหลายคน
 เพศสัมพันธ์ขณะอายุน้อย
การป้องกันมะเร็งปากมดลูก
ถุงยางอนามัย
ป้องกันไม่ได้ 100%
2. ตรวจ “แพปสเมียร์”
 เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
ของเซลล์ที่ปากมดลูก
 ตรวจตั้งแต่ยังไม่เป็นโรค
 ตรวจเป็นประจา
การป้องกันมะเร็งปากมดลูก
3. ฉีดวัคซีน HPV
เพื่อป้องกันการติดเชื้อ HPV
สายพันธุ์หลัก ที่เป็นสาเหตุของ
มะเร็งปากมดลูก
การป้องกันมะเร็งปากมดลูก
วัคซีน HPV
- ป้องกันเพื่ออนาคต
แพ็ปสเมียร์ VS วัคซีน HPV
แพปสเมียร์
- ดูผลที่เกิดจากในอดีต
ดีที่สุด = แพ็ปสเมียร์สม่าเสมอ + ฉีดวัคซีน
วัคซีนเอชพีวี
ส่วนประกอบของวัคซีน HPV
Antigen
• อนุภาคคล้ายไวรัส HPV
• ไม่มีตัวเชื้อไวรัส
Adjuvant
สารเสริมกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
(แตกต่างกันในแต่ละบริษัท)
HPV16 HPV18
+
ส่วนประกอบอื่นๆ
+
Aluminium salt
(amorphous
aluminium
hydroxyphosphate
sulphate [AAHS])HPV 16 HPV 18 HPV 6 HPV 11
Antigen
ส่วนประกอบของ HPV vaccines
+
HPV 16 HPV 18
Antigen Adjuvant: AS04
Adjuvant: AAHS
+
Aluminium
salt
(Al(OH)3)
MPL
(Monophosphoryl
lipid A)
AS04 HPV vaccine
Q-valent vaccine
AS04 HPV Vaccine:
สารเสริมกระตุ้นภูมิ AS04 สร้างภูมิคุ้มกันได้สูงกว่า สารเสริมฤทธิ์แบบเดิม
Time (months)
Anti-V5 HPV16 Anti-J4 HPV18
Al(OH)3AS04
*
*
*
* * *
0 8 16 24 32 40 48
0
100
200
300
400
1000
*
*
*
*
* *
0 8 16 24 32 40 48
0
100
200
300
400
1000
Confirmation of immunological value of AS04 with L1 VLPs
Phase II clinical trials
*Statistically significant
Giannini S et al. Vaccine 2006
ภูมิคุ้มกันสร้างในกระแสเลือดต้องสูงพอ
ที่จะซึมไปที่ปากมดลูกได้
เชื้ อเอชพีวี
ปากมดลูก
ภูมิคุ้มกัน IgG
กระแสเลือด
รอยแผลที่เยื่อบุปากมดลูก
ชั้นพื้นผิวเยื่อบุปากมดลูก
เยื่อบุปากมดลูก
1. Stanley M. Vaccine 2006; 24:S16–S22; 2. Giannini S, et al. Vaccine 2006; 24:5937–5949; 3. Nardelli-Haefliger D, et al. J Natl Cancer Inst 2003; 95:1128–
1137; 4. Einstein MH, et al. Lancet Infect Dis 2009; 9:347–356; 5. Schiller JT and Lowy DR. J Infect Dis 2009; 200:166–171.
ผลการศึกษาวัคซีน HPV ชนิดที่มีสารเสริม AS04 นานกว่า 9.4 ปี พบว่า
1.ผู้หญิงทุกคนตรวจพบภูมิคุ้มกันต่อ HPV16 และ HPV18
2.ระดับภูมิคุ้มกันต่อ HPV16 &HPV18 สูงกว่าระดับภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ >10 เท่า
ระดับภูมิคุ้มกันจากการฉีดวัคซีนHPVชนิดที่มีAS04
Naud PS,et al. Hum Vaccin Immunother 2014;10:1-16.
ประสิทธิภาพของวัคซีน
และการป้องกันข้ามสายพันธุ์
LSILs HSILs
Invasive cervical
cancer
CIN3 เป็นระยะที่ใกล้กับมะเร็งปากมดลูกมากที่สุด
Normal HPV infection
koilocytosis
CIN 1 CIN 2 CIN 3
ประสิทธิภาพในการป้องกัน CIN3+
ที่มีสาเหตุจาก HPV 16/18
Lehtinen M et al. Lancet Oncol 2012;13:89–99.
ประสิทธิภาพในการป้องกันโรคของ AS04 HPV vaccine
ประสิทธิภาพ
โดยรวม
ประสิทธิภาพในการป้องกัน
HPV 16/18
ประสิทธิภาพในการ
ป้องกัน HPV สายพันธุ์ก่อ
มะเร็งอื่น ๆ
+
ความต้องการของผู้รับบริการฉีดวัคซีน
ฉันต้องการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกัน
มะเร็งปากมดลูก
ฉันไม่สนว่ามะเร็งนั้นจะเกิดจาก
HPV สายพันธุ์ใด
End
point
Prevalence of
HPV 16/18
Vaccine
N = 5,466
Control
N = 5,452
Vaccine Efficacy1
P-value
n n % 95 % CI
CIN3+ 61.3% 3 44 93.2 78.9–98.7 <0.0001
End-of-Study Analysis: TVC naive1-2 , 43.7 months F/U
ประสิทธิภาพโดยรวมในการป้องกัน CIN3+
โดยไม่คานึงว่าเกิดจาก HPV สายพันธุ์ใด
Lehtinen M et al. Lancet Oncol 2012;13:89–99.
วัคซีน HPV ชนิดที่ใช้ AS04: ป้องกันได้มากกว่า HPV 16/18
HPV 18/45 HPV 16/31
จากการศึกษาทางคลินิกพบว่า
วัคซีน HPV ชนิดที่ใช้ AS04
สามารถป้องกันรอยโรคก่อน
มะเร็งจาก HPV 45 และ 31
ซึ่งเป็นสาเหตุอันดับที่ 3 และ 4
ของมะเร็งปากมดลูกได้
ประสิทธิภาพของวัคซีน HPV ชนิดที่ใช้ AS04
ประสิทธิภาพในการป้องกันรอยโรคก่อนมะเร็ง
CIN3+ ที่เกิดจาก HPV สายพันธุ์ 16/18
ประสิทธิภาพในการป้องกันรอยโรคก่อนมะเร็ง CIN3+
ที่เกิดจาก HPV ก่อมะเร็งทุกสายพันธุ์
(สายพันธุ์ 16, 18 และสายพันธุ์อื่น ๆ ที่ไม่มีในวัคซีน)
100%
93%
Lehtinen M et al. Lancet Oncol 2012;13:89–99.
AS04 HPV vaccine Prescribing Information
PI_AS04 HPV Vaccine IM 18A TH 01/15
Vaccine Group Vaccine Efficacy % (95%CI)
AS04 HPV
(PATRICIA Study)
TVC naïve 93.2% (78.9–98.7)
TVC 45.6% (28.8–58.7)
วัคซีนชนิด 4 สายพันธุ์และ AS04 HPV วัคซีน กับการป้องกันมะเร็งปาก
มดลูกโดยไม่สนใจสายพันธุ์ (ดูการป้องกันการเกิดรอยโรคระดับ CIN3+ )
Vaccine Group Vaccine Efficacy % (95%CI)
qHPV
(Future Study)
ITT-naïve 43.0% (13.0–63.2)
ITT 16.4% (0.4–30.0)
1.Munoz N, et al. J Natl Cancer Inst 2010;102:325-29. 2.Lehtinen M,et al. Lancet Oncol 2012;13:89-99.
ชนิดของเซลล์ปากมดลูก
ที่อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็ง
1. Hayes MMM, et al. Cytopathology 1997; 8:397–408; 2. Hildesheim A, et al. Am J Obstet Gynecol 1999; 180:571–577. 3. Krüger Kjaer S, et al. Epidemiol Rev
1993; 15:486–498.
• เกิดขึ้นบริเวณเซลล์ด้านใน
• ตรวจพบได้ยากกว่าเซลล์
ด้านนอกปากมดลูก
• แพร่กระจายง่ายและรุนแรง
กว่ามะเร็งชนิดสแควมัส
มะเร็งปากมดลูกชนิดอะดีโน
ชนิดอะดีโน เกิดด้านใน ตรวจพบได้ยาก
แพร่กระจายง่ายและรุนแรงกว่า
ชนิดสแควมัส อยู่บริเวณ
เยื่อบุผิวปากมดลูกด้านนอก
Cervix
มะเร็งปากมดลูกชนิดอะดีโน
ตรวจพบได้ยากและรุนแรงกว่า
สายพันธุ์เชื้อไวรัส HPV สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก
มะเร็งชนิดสแควมัส มะเร็งชนิดอะดีโน
สายพันธุ์ HPV เป็นสาเหตุ (%) สายพันธุ์ HPV เป็นสาเหตุ (%)
16+18+45+31 78.2 16+18+45+31 90.7
หากป้องกัน HPV 16, 18, 45 และ 31 ได้จะสามารถป้องกัน
สาเหตุ 90% ของการเกิด มะเร็งชนิดอะดีโน
1.IARC’s Infections and Cancer Epidemiology Group and updated to September 2012 by ICO HPV Information Centre. 2. Lehtinen M et al. Lancet Oncol
2012;13:89–99.
จากการศึกษา วัคซีน HPV ชนิดที่ใช้ AS04 เป็น
ส่วนประกอบสามารถป้องกันมะเร็งปากมดลูก
ชนิดอะดีโน จากเชื้อ HPV ชนิดก่อมะเร็งทุกสายพันธุ์ได้ 100%
ความปลอดภัยของวัคซีน HPV
วัคซีน HPV ไม่ได้ผลิตจากเชื้อไวรัสที่มีชีวิต แต่
เป็นการสังเคราะห์เลียนแบบโครงสร้างเฉพาะ
ส่วนเปลือกหุ้มของเชื้อ HPV โดยไม่มีสาย
พันธุกรรม (DNA) จึงไม่สามารถทาให้เกิดโรค
ได้
การศึกษาด้านความปลอดภัย พบว่า
- อาการข้างเคียงส่วนใหญ่ คือ ปวดตรง
ตาแหน่งที่ฉีด ปวดกล้ามเนื้ อ ปวดศีรษะ
เด็กหญิงอายุ 9-14 ปี ฉีด 2 เข็ม* ที่ 0, 5-13 เดือน
ตารางการวัคซีน HPV ชนิดที่ใช้ AS04
ผู้หญิงอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ฉีด 3 เข็ม ที่ 0, 1, 6เดือน
*สามารถให้ได้ทั้งตารางแบบ 2 เข็มหรือ 3 เข็ม แบบใดแบบหนึ่ง
Slide cervarix p'pin

More Related Content

What's hot

มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancyanucha98
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 

What's hot (20)

การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 

Similar to Slide cervarix p'pin

Abnormal pap smear ศิริราช ppt
Abnormal pap smear ศิริราช pptAbnormal pap smear ศิริราช ppt
Abnormal pap smear ศิริราช pptvora kun
 
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17Pawin Numthavaj
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Slide cervarix p'pin (12)

Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
 
Abnormal pap smear ศิริราช ppt
Abnormal pap smear ศิริราช pptAbnormal pap smear ศิริราช ppt
Abnormal pap smear ศิริราช ppt
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Cpg cervical cancer
Cpg cervical cancerCpg cervical cancer
Cpg cervical cancer
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
การรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูกการรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูก
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 

Slide cervarix p'pin