SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
1
เนื้อหากรอบความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ (ASEAN Agreement on Traditional
Medicines) และกรอบความตกลงดานผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร (ASEAN Agreement on Health
Supplements) โดยย;อ
กรอบความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ และกรอบความตกลงอาเซียนดานผลิตภัณฑเสริมอาหาร
เป"นความตกลงระหว#างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๑๐ ประเทศ ที่มีการจัดทําเป"นลายลักษณอักษร และจะมี
ผลผูกพันทางกฎหมายในอนาคต ซึ่งคณะทํางานเฉพาะกิจดานกรอบความตกลงอาเซียนสําหรับยาแผนโบราณ
และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Task Force on ASEAN Regulatory Framework for Traditional Medicines
and Health Supplements) ไดใหความเห็นชอบต#อร#างกรอบความตกลงดังกล#าวแลวในการประชุมครั้งที่
๑๘ เมื่อวันที่ ๑๑-๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ประเทศลาว
กรอบความตกลงดังกล#าวประกอบดวยขอบททั้งหมด ๑๔ ขอ ดังนี้
ขอบทที่ ๑ วัตถุประสงค (Objectives)
ขอบทที่ ๒ นิยาม (Definitions)
ขอบทที่ ๓ ขอกําหนดทั่วไป (General Provisions)
ขอบทที่ ๔ ขอกําหนดดานความปลอดภัย คุณภาพ ประสิทธิภาพ/การกล#าวอางสรรพคุณ และฉลาก
(Safety, Quality, Efficacy/Claimed Benefits and Labelling Requirements)
ขอบทที่ ๕ การวางจําหน#ายผลิตภัณฑ (Product Placement)
ขอบทที่ ๖ การเฝrาระวังผลิตภัณฑหลังออกสู#ตลาด (Post Market Surveillance)
ขอบทที่ ๗ การกําหนดโครงสรางเพื่อการจัดการ (Institutional arrangements)
ขอบทที่ ๘ กรณีพิเศษ (Special Cases)
ขอบทที่ ๙ การนําไปปฏิบัติ (Implementation)
ขอบทที่ ๑๐ การระงับขอพิพาท (Dispute Settlement)
ขอบทที่ ๑๑ ภาคผนวก (Annexes)
ขอบทที่ ๑๒ การทบทวน การเปลี่ยนแปลง และการแกไข (Revisions, Modifications and
Amendments)
ขอบทที่ ๑๓ การบังคับใช (Entry into force)
ขอบทที่ ๑๔ การมอบสัตยาบันสาร (Depository)
2
ส;วนที่ 2 ขอคิดเห็นต;อ (ร;าง) ความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ
(ร;าง) ความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ
รัฐบาลของบรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐแห#งสหภาพเมียนมาร สาธารณรัฐฟzลิปปzนส สาธารณรัฐสิงคโปร
ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประเทศสมาชิกของสมาคมประชาชาติแห#งเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต (ต#อไปนี้จะเรียกโดยรวมว#า "กลุ#มประเทศสมาชิก" (Member States) หรือเป"นรายประเทศ
ว#า "ประเทศสมาชิก" (Member State));
พิจารณาถึงความสําคัญของการสรางความมั่นใจดานความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผล/การกล#าวอาง
คุณประโยชนของยาแผนโบราณ เพื่อที่จะคุมครองผูบริโภคในภูมิภาคอาเซียน
รับทราบถึงความแตกต#างของระบบการกํากับดูแลโดยพิจารณาจากบริบทระดับประเทศ ความสามารถ การ
จัดลําดับความสําคัญ และกฎหมาย;
ประสงค5ที่จะปรับประสานและดําเนินการตามขอกําหนดดานเทคนิคและแนวทางต#างๆ สําหรับยาแผนโบราณ
เพื่อลดอุปสรรคทางเทคนิคต#อการคาระหว#างประเทศสมาชิกอาเซียน และนําไปสู#การรวมกลุ#มทางเศรษฐกิจ
ของอาเซียน โดยปราศจากการประนีประนอมดานความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผล/การกล#าวอาง
คุณประโยชนของผลิตภัณฑเหล#านี้
ไดตกลงกันดังต#อไปนี้:
ขอบทที่ 1
วัตถุประสงค5
วัตถุประสงคของความตกลงอาเซียนว#าดวยยาแผนโบราณ (ต#อไปนี้จะเรียกว#า "ความตกลง") คือ:
ก) เพื่อเสริมสรางความร#วมมือระหว#างกลุ#มประเทศสมาชิกในการสรางความมั่นใจดานความปลอดภัย คุณภาพ
และประสิทธิผล/การกล#าวอางคุณประโยชนของยาแผนโบราณที่ว#างจําหน#ายในภูมิภาคอาเซียน และ
ข) เพื่ออํานวยความสะดวกทางการคาของยาแผนโบราณผ#านขอกําหนดทางเทคนิคและแนวทางต#างๆ ที่
สอดคลองกัน โดยปราศจากการประนีประนอมดานความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผล/การกล#าวอาง
คุณประโยชนของผลิตภัณฑเหล#านี้
.
3
ขอบทที่ 2
นิยาม
สําหรับวัตถุประสงคของความตกลงนี้ จะใชนิยามดังต#อไปนี้:
“ยาแผนโบราณ (Traditional medicine)” หมายความว#า ยาสําหรับมนุษยซึ่งประกอบดวยตัวยาสําคัญจาก
แหล#งธรรมชาติ (พืช สัตว และ/หรือแร#ธาตุ) ที่มีการใชในระบบการแพทยแผนโบราณ แต#ไม#รวมถึงผลิตภัณฑ
ในรูปแบบปราศจากเชื้อ, วัคซีน, สารใดๆ ที่ไดมาจากส#วนประกอบของมนุษย และสารประกอบทางเคมี
บริสุทธิ์ใดๆ ที่ไดมาจากการแยกสกัด
“ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Health supplement)” หมายความว#า ผลิตภัณฑที่ใชรับประทานเสริมจากการ
รับประทานอาหารตามปกติ เพื่อใชดูแล เพิ่ม และปรับปรุงสุขภาพของร#างกาย โดยอาจมีส#วนผสมอย#างใด
อย#างหนึ่งหรือหลายอย#าง หรือรวมกันของสารดังต#อไปนี้
ก) วิตามิน แร#ธาตุ กรดอะมิโน กรดไขมัน เอนไซม โพรไบโอติก และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพอื่นๆ
ข) สารที่ไดมาจากแหล#งธรรมชาติ รวมถึงสัตว แร#ธาตุ และพืช ในรูปแบบของสารสกัด สารสกัดที่มีการควบคุม
คุณภาพ สารเขมขน สารเมตาโบไลท
ค) สารจากส#วนประกอบตาม (ก) หรือ (ข) ที่ไดจากการสังเคราะห
ทั้งนี้ รูปแบบการใชอยู#ในหน#วยขนาดเล็ก เช#น แคปซูล เม็ด ผง ของเหลว เป"นตน และไม#รวมถึงรูปแบบที่มีการ
เตรียมแบบปราศจากเชื้อ (เช#น ยาฉีด ยาหยอดตา เป"นตน)
ขอบทที่ 3
บทบัญญัติทั่วไป
ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่จําเป"นเพื่อใหมั่นใจว#ายาแผนโบราณซึ่งเป"นไปตามขอกําหนดของความ
ตกลงนี้และภาคผนวก สามารถจําหน#ายอยู#ในตลาดได
.
4
ขอบทที่ 4
ขอกําหนดความปลอดภัย คุณภาพ ประสิทธิผล/การกล;าวอางคุณประโยชน5 และการแสดงฉลาก
1. ยาแผนโบราณที่วางจําหน#ายในตลาดตองไม#เป"นอันตรายต#อสุขภาพของมนุษยเมื่อบริโภคหรือนําไปใช
2. ยาแผนโบราณตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตามที่อาจนําไปปรับ
ใชได:
ก) ภาคผนวก ก – หลักการทั่วไปของอาเซียนที่ใชเป"นแนวทางในการพิจารณาการรวมเขาไวหรือตัดออกจาก
บัญชีสารสําคัญที่หามใชในยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for
Inclusion into or Exclusion from the Negative List of Substances for TMHS)
ข) ภาคผนวก ข - หลักการทั่วไปของอาเซียนว#าดวยการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for the Use of Additives and Excipients in
TMHS)
ค) ภาคผนวก ค – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป‰Šอน (โลหะหนัก และจุลินทรีย) สําหรับยา
แผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Limits of Contaminants for TMHS)
ง) ภาคผนวก ง – แนวทางอาเซียนว#าดวยการลดความเสี่ยงของการติดต#อของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Minimising Risk of Transmission Spongiform
Encephalopathy in TMHS)
จ) ภาคผนวก จ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บรักษาของยาแผนโบราณ
และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Stability and Shelf-life of TMHS)
ฉ) ภาคผนวก ฉ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนความปลอดภัยของยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles on Safety Substantiation for TMHS)
ช) ภาคผนวก ช - แนวทางอาเซียนว#าดวยการกล#าวอางสรรพคุณและการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนประสิทธิผล
ของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Guidelines on Claims and Claims Substantiation for
TMHS)
ซ) ภาคผนวก ซ – แนวทางอาเซียนว#าดวยหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ
เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Good Manufacturing Practice for TMHS)
ฌ) ภาคผนวก ฌ – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ
เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Labelling Requirement for TMHS)
.
ขอบทที่ 5
การวางจําหน;ายผลิตภัณฑ5
ยาแผนโบราณสามารถวางจําหน#ายในตลาดไดเฉพาะผลิตภัณฑที่ไดรับอนุญาตขึ้นทะเบียนโดยผูมีอํานาจกํากับ
ดูแลในแต#ละประเทศสมาชิก
5
ขอบทที่ 6
การเฝSาระวังหลังผลิตภัณฑ5ออกสู;ตลาด
ประเทศสมาชิกอาเซียนตองทําใหมั่นใจไดว#าการตรวจติดตามเฝrาระวังผลิตภัณฑหลังออกสู#ตลาดมีความพรอม
ในการเตือนภัยล#วงหนาของเหตุการณไม#พึงประสงคใดๆ และ/หรือป•ญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยของ
ผลิตภัณฑที่อาจเกิดขึ้น และตองใชมาตรการที่เหมาะสมเพื่อใหมั่นใจในความปลอดภัยของผูบริโภค
ขอบทที่ 7
การกําหนดโครงสรางเพื่อการจัดการ
1. คณะกรรมการอาเซียนดานยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ในที่นี้จะเรียกว#า “เอทีเอ็มเอชเอสซี
(ATMHSC)”) ไดรับการแต#งตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้
2. คณะกรรมการฯ ตองจัดทําและนําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการไปใช
3. ในแง#ของการดําเนินการตามบทบาทหนาที่ คณะกรรมการฯ ตองตัดสินโดยฉันทามติ และตองรับผิดชอบ
ดังนี้
ก) การประสานงาน การทบทวน และตรวจสอบการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้
ข) การทบทวน และปรับปรุงภาคผนวกต#างๆ ของความตกลงฯ โดยไม#ตองแกไขขอกําหนดภายใต
ขอตกลงฯ
4. คณะกรรมการฯ ตองประกอบดวยผูแทนอย#างเป"นทางการจากหน#วยงานกํากับดูแลของแต#ละประเทศ
สมาชิก ผูแทนนี้อาจมาพรอมกับคณะผูแทนในการประชุม เอทีเอ็มเอชเอสซี
5. คณะกรรมการฯ อาจแต#งตั้งคณะทํางานวิชาการตามความเหมาะสม เพื่อใหความช#วยเหลือและให
คําแนะนําดานเทคนิคหรือวิชาการในการเชื่อมโยงกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ คณะทํางานวิชาการ
ตองจัดทําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินงานของตนขึ้น และผ#านความเห็นชอบโดยคณะกรรมการฯ
6. สมาคมอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณอาเซียนอาจไดรับเชิญใหเขาร#วมประชุมคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี
โดยปรึกษาหารือประเด็นที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณ
7. เลขานุการอาเซียนตองใหการสนับสนุนแก#คณะกรรมการฯ ในการประสานงานและการตรวจสอบการ
ดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
8. คณะกรรมการฯ โดยการสนับสนุนของเลขานุการอาเซียน ตองรายงานความกาวหนาของการดําเนินการ
ตามความตกลงฯ อย#างสม่ําเสมอ ต#อคณะกรรมการที่ปรึกษาอาเซียนดานมาตรฐานและคุณภาพ (ASEAN
Consultative Committee for Standards and Quality, ACCSQ) ซึ่งอาจใหคําแนะนําดานแนวนโยบาย
และขอเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินการตามความตกลงฯ
6
ขอบทที่ 8
กรณีพิเศษ
1. ประเทศสมาชิกอาจหามการจําหน#ายยาแผนโบราณในแต#ละประเทศสมาชิก เนื่องจากเหตุผลเฉพาะเพื่อการ
ปกปrองชีวิตสัตวหรือพันธุพืช สิ่งแวดลอม และความอ#อนไหวทางศาสนาหรือวัฒนธรรม
2. ประเทศสมาชิกที่หามการจําหน#ายหรือมีขอจํากัดต#อยาแผนโบราณนั้นตองแจงใหประเทศสมาชิกอื่นๆ
ทราบพรอมเหตุผลของการดําเนินมาตรการดังกล#าว พรอมกันนี้ ใหสําเนาถึงคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี
และเลขานุการอาเซียนดวย
.
ขอบทที่ 9
การนําไปปฏิบัติ
ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่เหมาะสมในการปฏิบัติตามความตกลงฯ นี้
ขอบทที่ 10
การระงับขอพิพาท
พิธีสารว#าดวยกลไกการระงับขอพิพาท ซึ่งลงนามเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 (ค.ศ.2009) ที่เมือง
เวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และฉบับที่แกไข จะถูกนํามาปรับใชกับขอพิพาทใดๆ ที่
เกิดจากการตีความหรือการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้
ขอบทที่ 11
ภาคผนวก
ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตองกําหนดขึ้นเป"นส#วนหนึ่งและไม#สามารถแยกออกจากความตกลงฯ นี้
ขอบทที่ 12
การทบทวน การเปลี่ยนแปลง และการแกไข
1 บทบัญญัติทั้งหมดหรือบางส#วนของความตกลงฯ นี้ อาจมีการทบทวน ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติมโดย
ความตกลงที่เป"นลายลักษณอักษรของประเทศสมาชิกทุกประเทศ
2 แมว#าจะมีวรรค 1 ของขอบทนี้แลว ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ อาจมีการแกไขภายใตการรับรองของ
คณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี
3 การแกไข เปลี่ยนแปลง หรือแกไขเพิ่มเติมใดๆ ตองไม#กระทบต#อสิทธิและหนาที่ที่เกิดขึ้นจากความตกลงฯ นี้
หรือขึ้นกับความตกลงฯ นี้ ก#อนและจนถึงวันที่ทําการแกไข ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติม
.
3
ขอบทที่ 2
นิยาม
สําหรับวัตถุประสงคของความตกลงนี้ จะใชนิยามดังต#อไปนี้:
“ยาแผนโบราณ (Traditional medicine)” หมายความว#า ยาสําหรับมนุษยซึ่งประกอบดวยตัวยาสําคัญจาก
แหล#งธรรมชาติ (พืช สัตว และ/หรือแร#ธาตุ) ที่มีการใชในระบบการแพทยแผนโบราณ แต#ไม#รวมถึงผลิตภัณฑ
ในรูปแบบปราศจากเชื้อ, วัคซีน, สารใดๆ ที่ไดมาจากส#วนประกอบของมนุษย และสารประกอบทางเคมี
บริสุทธิ์ใดๆ ที่ไดมาจากการแยกสกัด
“ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Health supplement)” หมายความว#า ผลิตภัณฑที่ใชรับประทานเสริมจากการ
รับประทานอาหารตามปกติ เพื่อใชดูแล เพิ่ม และปรับปรุงสุขภาพของร#างกาย โดยอาจมีส#วนผสมอย#างใด
อย#างหนึ่งหรือหลายอย#าง หรือรวมกันของสารดังต#อไปนี้
ก) วิตามิน แร#ธาตุ กรดอะมิโน กรดไขมัน เอนไซม โพรไบโอติก และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพอื่นๆ
ข) สารที่ไดมาจากแหล#งธรรมชาติ รวมถึงสัตว แร#ธาตุ และพืช ในรูปแบบของสารสกัด สารสกัดที่มีการควบคุม
คุณภาพ สารเขมขน สารเมตาโบไลท
ค) สารจากส#วนประกอบตาม (ก) หรือ (ข) ที่ไดจากการสังเคราะห
ทั้งนี้ รูปแบบการใชอยู#ในหน#วยขนาดเล็ก เช#น แคปซูล เม็ด ผง ของเหลว เป"นตน และไม#รวมถึงรูปแบบที่มีการ
เตรียมแบบปราศจากเชื้อ (เช#น ยาฉีด ยาหยอดตา เป"นตน)
ขอบทที่ 3
บทบัญญัติทั่วไป
ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่จําเป"นเพื่อใหมั่นใจว#ายาแผนโบราณซึ่งเป"นไปตามขอกําหนดของความ
ตกลงนี้และภาคผนวก สามารถจําหน#ายอยู#ในตลาดได
.
8
ส;วนที่ 3 ขอคิดเห็นต;อภาคผนวกของยาแผนโบราณ
ภาคผนวก ก –หลักการทั่วไปของอาเซียนที่ใชเป^นแนวทางในการพิจารณาการรวมเขาไวหรือตัดออกจาก
บัญชีสารสําคัญที่หามใชในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร
ตามขอกําหนดของอาเซียนจะมีการจัดทําบัญชีรายการสารหามใชและที่มีขอจํากัดการใชในผลิตภัณฑ
ยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร
ทั้งนี้ สารหามใชหมายถึงสารที่หามใชในผลิตภัณฑ
ภาคผนวก ข - หลักการทั่วไปของอาเซียนว;าดวยการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต;งในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร
หลักการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑอาหารเสริมตามขอกําหนดของ
อาเซียนและการจัดทําบัญชีรายชื่อวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งฯ อางอิงหลักการ มาตรฐานทั่วไป และ
ขอกําหนดเงื่อนไขการใชตามมาตรฐานอาหารระหว#างประเทศ (Codex) และคู#มือการใชสารปรุงแต#งในยา
(Handbook of Pharmaceutical Excipients)
การใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหารไดสรุปไวเป"นขั้นตอน
ดังนี้
(1) หากวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งอยู#ในบัญชีรายชื่อฯ ที่มีขอจํากัดการใช ปริมาณที่ใชควรต่ํากว#า
หรือเป"นไปตามที่กําหนดไวในบัญชีฯ
วัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งที่ใชไดในปริมาณที่เหมาะสมหรือปริมาณที่เหมาะสม (Good
Manufacturing Practice (GMP)) ตามคําแนะนําของโคเด็กซนั้น ปริมาณที่ใชจะตองเป"นปริมาณที่ต่ําที่สุดที่
ใหผลตามที่ตองการ
(2) หากวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งไม#ปรากฏอยู#ในบัญชีรายชื่อฯ ใหตรวจสอบในมาตรฐานทั่วไป
สําหรับวัตถุเจือปนอาหารของโคเด็กซในหมวดผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Codex General Standard for Food
Additives Provision for Food Supplements) หรือ คู#มือการใชสารปรุงแต#งในยา (Handbook of
Pharmaceutical Excipients) หรือ เภสัชตํารับฉบับทางการ (Official Pharmacopoeias) ล#าสุด
(3) ไม#อนุญาตใหใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งที่นอกเหนือจากรายชื่อที่ปรากฎในขอ (1) และ (2)
หากยังไม#ผ#านการประเมินความปลอดภัยหรืออนุญาตใหใชจากหน#วยงานกํากับดูแลระดับประเทศ
9
ภาคผนวก ค – แนวทางอาเซียนว;าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป`aอน (โลหะหนัก และจุลินทรีย5และสาร
จํากัดแมลง) สําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร
1. ขอกําหนดชนิดและปริมาณโลหะหนักตกคาง
ชนิดโลหะหนัก ปริมาณสูงสุดที่ยอมใหมีได (มิลลิกรัม/ยา ๑ กิโลกรัม)
ตะกั่ว (Lead) 10
สารหนู (Arsenic) 5
ปรอท (Mercury) 0.5
แคดเมียม (Cadmium) 0.3
2. ขอกําหนดการปนเป`aอนเชื้อจุลินทรีย5
โดยหลักการ ขอกําหนดการปนเป‰Šอนชื้อจุลินทรียตามขอตกลงอาเซียนเป"นไปตามเภสัชตํารับของ
สหราชอาณาจักร (British Pharmacopoeia) ซึ่งจะตองตรวจเชื้อจุลินทรียทั้งหมด (Total Aerobic
Microbial Count, TAMC), ยีสตและราทั้งหมด (Total Yeast and Mold Count, TYMC), แบคทีเรียแกรม
ลบที่ทนน้ําดีได (Bile-tolerant gram negative bacteria), แซลโมเนลลา (Salmonella), อี.โคไล
(Escherichia coli), สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus), ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา
(Pseudomonas aeruginosa), แคนดิดา อัลบิแคนส (Candida albicans) ตามแต#ประเภทของยาแผน
โบราณ ดังนี้
ขอกําหนดจุลินทรีย5 (โคโลนีต;อกรัมหรือต;อมิลลิลิตร) (cfu/g หรือ
cfu/ml)
ประเภทยาแผนโบราณ เชื้อจุลินทรีย5
ทั้งหมด
(TAMC)
ยีสต5และรา
ทั้งหมด
(TYMC)
ชนิดของจุลินทรีย5จําเพาะที่ตองตรวจ
(Specified microorganisms)
1.ยาสําหรับรับประทาน
A. ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยพืช
สมุนไพร (ที่มีหรือไม#มีสารปรุงแต#ง)
ซึ่งมีการใชในลักษณะชงหรือตมดวย
น้ํารอน (เช#น ชาสมุนไพรที่มีหรือไม#มี
การปรุงแต#งกลิ่น)
ไม#มากกว#า
5x107
ไม#มากกว#า
5x105
- พบ อี.โคไล (E. coli) ไดไม#เกิน 103
cfu
- ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 25
กรัม หรือ 25 มล.
B. ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยสารสกัด
และ/หรือพืชสมุนไพร (ที่มีหรือไม#มี
สารปรุงแต#ง) ซึ่งกระบวนการแปรรูป
พืชสมุนไพร (เช#น การสกัด) สามารถ
ลดปริมาณจุลินทรียใหต่ํากว#าที่ได
กําหนดไวสําหรับผลิตภัณฑประเภทนี้
ไม#มากกว#า
5x104
ไม#มากกว#า
5x102
- แบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีไดพบไดไม#เกิน
102
cfu
- ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 25
กรัม หรือ 25 มล.
- ไม#พบ อี.โคไล (E. coli) ใน 1 กรัม หรือ 1
มล.
C. ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยสารสกัด
และ/หรือพืชสมุนไพร (ที่มีหรือไม#มี
สารปรุงแต#ง) ซึ่งกระบวนการแปรรูป
(เช#น การสกัดดวยเอธานอลที่มีความ
ไม#มากกว#า
5x105
ไม#มากกว#า
5x104
- แบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีไดพบไดไม#เกิน
104
cfu
- ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 25
กรัม หรือ 25 มล.
10
ขอกําหนดจุลินทรีย5 (โคโลนีต;อกรัมหรือต;อมิลลิลิตร) (cfu/g หรือ
cfu/ml)
ประเภทยาแผนโบราณ เชื้อจุลินทรีย5
ทั้งหมด
(TAMC)
ยีสต5และรา
ทั้งหมด
(TYMC)
ชนิดของจุลินทรีย5จําเพาะที่ตองตรวจ
(Specified microorganisms)
เขมขนต่ํา หรือสกัดดวยน้ําที่มีอุณภูมิ
ต่ําหรือไม#ถึงเดือด) ไม#สามารถลด
ปริมาณจุลินทรียใหเป"นไปตาม
เงื่อนไขตามที่ไดกําหนดไวสําหรับ
ผลิตภัณฑประเภท B
- ไม#พบ อี.โคไล (E. coli) ใน 1 กรัม หรือ 1
มล.
D. ผลิตภัณฑประกอบดวยวัตถุดิบที่
ไดจากธรรมชาติ (สัตว/พืช/แร#ธาตุ)
และไม#สามารถผ#านขั้นตอนการลด
ปริมาณเชื้อจุลินทรียได และ
หน#วยงานที่กํากับดูแลยอมรับใหมี
ปริมาณ TAMC ของวัตถุดิบเกิน
103
cfu/g หรือ cfu/ml*
ไม#มากกว#า
2x104
ไม#มากกว#า
2x102
- แบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีไดพบไดไม#เกิน
102
cfu
- ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 10
กรัม หรือ 10 มล.
- ไม#พบ อี.โคไล (E. coli) ใน 1 กรัม หรือ 1
มล.
- ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S.
aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล.
2.ยาใชภายนอก
ทวารหนัก (Rectal) ไม#มากกว#า
2x103
ไม#มากกว#า
2x102
-
ช#องปาก (Oromucosal)
เหงือก (Gingival)
ผิวหนัง (Cutaneous)
จมูก (Nasal)
หู (Auricular)
ไม#มากกว#า
2x102
ไม#มากกว#า
2x101
- ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S.
aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล.
- ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา
(Pseudomonas aeruginosa) ใน 1 กรัม
หรือ 1 มล.
ช#องคลอด (Vaginal)**
ไม#มากกว#า
2x102
ไม#มากกว#า
2x101
- ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S.
aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล.
- ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา
(Pseudomonas aeruginosa) ใน 1 กรัม
หรือ 1 มล.
- ไม#พบแคนดิดา อัลบิแคนส (Candida
albicans) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล.
แผ#นแปะผิวหนัง (Transdermal
patches)
ไม#มากกว#า
2x102
ไม#มากกว#า
2x101
- ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S.
aureus) (1 แผ#น)
11
ขอกําหนดจุลินทรีย5 (โคโลนีต;อกรัมหรือต;อมิลลิลิตร) (cfu/g หรือ
cfu/ml)
ประเภทยาแผนโบราณ เชื้อจุลินทรีย5
ทั้งหมด
(TAMC)
ยีสต5และรา
ทั้งหมด
(TYMC)
ชนิดของจุลินทรีย5จําเพาะที่ตองตรวจ
(Specified microorganisms)
- ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา
(Pseudomonas aeruginosa) (1 แผ#น)
ใชสําหรับสูดพ#น (Inhalation
use)**
ไม#มากกว#า
2x102
ไม#มากกว#า
2x101
- ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S.
aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล.
- ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา
(Pseudomonas aeruginosa) ใน 1 กรัม
หรือ 1 มล.
- ไม#พบแบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีได ใน 1
กรัม หรือ 1 มล.
หมายเหตุ - * ประเทศไทยโดยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอยู#ในระหว#างการหารือกับ
กรมวิทยาศาสตรการแพทยเพื่อหาค#าที่เหมาะสมต#อไป
- ** รูปแบบยาดังกล#าวไม#เคยอนุญาตใหขึ้นทะเบียนในประเทศไทย
3. ขอกําหนดสารกําจัดแมลง
สารกําจัดแมลงมีการจัดทํากฎระเบียบในระดับสากล และดําเนินการปรับประสานกฎระเบียบเกี่ยวกับ
สารกําจัดแมลงทั่วโลก อย#างไรก็ตาม ป•จจุบันยังไม#มีขอกําหนดของปริมาณสารกําจัดแมลงตกคางในยาแผน
โบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหารที่ประกอบดวยพืชสมุนไพร ดังนั้น จึงมุ#งใหความสําคัญกับวัตถุดิบที่นํามาใช
ในการผลิต ผูส#งมอบวัตถุดิบและผูผลิตผลิตภัณฑจะตองมีมาตรการที่ทําใหมั่นใจไดว#าวัตถุดิบที่ส#งมอบและใช
ในการผลิตเป"นไปตามขอกําหนด การควบคุมปริมาณสารกําจัดแมลงในวัตถุดิบอยู#ภายใตหลักเกณฑและวิธีการ
ปฏิบัติที่ดีดานการเกษตร (Good Agricultural Practice, GAP) และหลักเกณฑและวิธีการผลิตที่ดี (Good
Manufacturing Practice, GMP)
ภาคผนวก ง – แนวทางอาเซียนว;าดวยการลดความเสี่ยงของการติดต;อของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณ
และผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร
อาเซียนใชแนวทางการบริหารความเสี่ยงในการลดความเสี่ยงของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหารตามขอแนะนําขององคการอนามัยโลกและหน#วยงานของสหภาพยุโรปสําหรับการ
ประเมินผลิตภัณฑยา (European Medicines Agency; EMEA) และองคการโรคระบาดสัตว Office
International des Epizooties (OIE) ว#าดวยเรื่องโรคทีเอสอี
แนวทางฉบับนี้ครอบคลุมวัตถุดิบและสารทุกชนิดที่นํามาใชในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร
และที่อาจปนเป‰Šอนในระหว#างกระบวนการผลิต เช#น สารสําคัญ วัตถุเจือปนและสารช#วย วัตถุดิบและสารตั้ง
ตน รวมทั้งสารเคมีที่ใชในการผลิต ที่มีแหล#งกําเนิดจากสัตวเคี้ยวเอื้อง โดยมีแนวทางในการจัดการวัตถุดิบดังนี้
1. การลดความเสี่ยงของการติดต#อของโรคทีเอสอี โดยพิจารณาจากป•จจัย 3 ประการที่เกี่ยวของดังนี้
1.1 แหล#งที่มาของสัตวและลักษณะทางภูมิศาสตรของแหล#งกําเนิด
4
ขอบทที่ 4
ขอกําหนดความปลอดภัย คุณภาพ ประสิทธิผล/การกล;าวอางคุณประโยชน5 และการแสดงฉลาก
1. ยาแผนโบราณที่วางจําหน#ายในตลาดตองไม#เป"นอันตรายต#อสุขภาพของมนุษยเมื่อบริโภคหรือนําไปใช
2. ยาแผนโบราณตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตามที่อาจนําไปปรับ
ใชได:
ก) ภาคผนวก ก – หลักการทั่วไปของอาเซียนที่ใชเป"นแนวทางในการพิจารณาการรวมเขาไวหรือตัดออกจาก
บัญชีสารสําคัญที่หามใชในยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for
Inclusion into or Exclusion from the Negative List of Substances for TMHS)
ข) ภาคผนวก ข - หลักการทั่วไปของอาเซียนว#าดวยการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for the Use of Additives and Excipients in
TMHS)
ค) ภาคผนวก ค – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป‰Šอน (โลหะหนัก และจุลินทรีย) สําหรับยา
แผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Limits of Contaminants for TMHS)
ง) ภาคผนวก ง – แนวทางอาเซียนว#าดวยการลดความเสี่ยงของการติดต#อของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Minimising Risk of Transmission Spongiform
Encephalopathy in TMHS)
จ) ภาคผนวก จ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บรักษาของยาแผนโบราณ
และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Stability and Shelf-life of TMHS)
ฉ) ภาคผนวก ฉ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนความปลอดภัยของยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles on Safety Substantiation for TMHS)
ช) ภาคผนวก ช - แนวทางอาเซียนว#าดวยการกล#าวอางสรรพคุณและการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนประสิทธิผล
ของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Guidelines on Claims and Claims Substantiation for
TMHS)
ซ) ภาคผนวก ซ – แนวทางอาเซียนว#าดวยหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ
เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Good Manufacturing Practice for TMHS)
ฌ) ภาคผนวก ฌ – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ
เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Labelling Requirement for TMHS)
.
ขอบทที่ 5
การวางจําหน;ายผลิตภัณฑ5
ยาแผนโบราณสามารถวางจําหน#ายในตลาดไดเฉพาะผลิตภัณฑที่ไดรับอนุญาตขึ้นทะเบียนโดยผูมีอํานาจกํากับ
ดูแลในแต#ละประเทศสมาชิก
13
• นมและผลิตภัณฑของนม
องคการอนามัยโลกและหน#วยงานของสหภาพยุโรปสําหรับการประเมินผลิตภัณฑยาถือว#า
วัตถุดิบดังกล#าวปลอดภัย หาก
- ไดมาจากสัตวเคี้ยวเอื้องที่มีสุขภาพดี เหมาะสําหรับการบริโภคของมนุษย
- วัตถุดิบจากสัตวเคี้ยวเอื้องที่ติดเชื้อไม#ถูกนํามาใชในกระบวนการผลิต
1.3 กระบวนการผลิต
• ใชระบบการประกันคุณภาพในการติดตามเฝrาระวังกระบวนการผลิต เพื่อใหมั่นใจในความ
สอดคลอง สม่ําเสมอ และสามารถตรวจสอบยอนกลับได
• ในการลดความเสี่ยงของการปนเป‰Šอนขามควรพิจารณาในแง#ของกระบวนการผลิต
โดยเฉพาะอย#างยิ่งวัตถุดิบที่ใชในกระบวนการ กระบวนการผลิตควรออกแบบโดยพิจารณา
จากขอมูลและกระบวนการผลิตที่มีอยู#ทั้งหมด ที่สามารถลด หรือยับยั้งการติดเชื้อ หรือ
กําจัดการติดเชื้อจากวัตถุดิบเริ่มตนที่ใช ซึ่งจะช#วยเพิ่มความปลอดภัยดานการจัดหาวัตถุดิบ
และ
• ควรมีกระบวนการตรวจสอบและยืนยันความถูกตอง (validation) เมื่อกระบวนการผลิต
ผลิตภัณฑไดรับการพิจารณาว#ามีผลต#อความปลอดภัยอย#างมีนัยสําคัญ
หากมีการอางว#าความปลอดภัยของผลิตภัณฑสามารถเพิ่มขึ้นไดโดยผ#านกระบวนการผลิต ผูขอ
จะตองส#งขอมูลที่เกี่ยวของ ใหแก#หน#วยงานกํากับดูแลเพื่อตรวจสอบและยืนยันความถูกตอง หากมีการรองขอ
ภาคผนวก จ – แนวทางอาเซียนว;าดวยการศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บรักษาของยาแผนโบราณ
และผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร
1. การเลือกรุ#นผลิต (Selection of Batches)
ตัวอย#างที่ใชในการศึกษาความคงสภาพตองไดจากรุ#นการผลิตที่มีสูตรและรูปแบบ (Dosage Form)
และบรรจุในภาชนะบรรจุชนิดเดียวกับภาชนะบรรจุที่จะจําหน#ายต#อผูบริโภค
ตัวอย#างที่ใชในการศึกษาความคงสภาพตองมาจากรุ#นการผลิตอย#างนอย 2 รุ#น ซึ่งอาจเป"นรุ#นทดลอง
ผลิต (Pilot Scale Batch) รุ#นผลิตขั้นตน (Primary Scale Batch) รุ#นผลิตจําหน#าย (Production Scale
Batch) หรือคละกันก็ไดโดยรุ;นทดลองผลิตและรุ;นผลิตขั้นตนตองมีขนาดอย;างนอยหนึ่งในสิบของรุ;นผลิต
จําหน;ายเพื่อใหกระบวนการผลิตของรุ#นทดลองผลิตเลียนแบบหรือเหมือนกับกระบวนการผลิตของรุ#นผลิต
จําหน#าย ทั้งนี้ ตัวอย#างที่ใชในการศึกษาความคงสภาพตองมีคุณภาพมาตรฐานเดียวกันกับรุ#นผลิตที่ผลิตเพื่อ
จําหน#ายในตลาด
การศึกษาควรทําในแต#ละความแรง/ความเขมขนของผลิตภัณฑ และ/หรือชนิดของภาชนะบรรจุที่ใช
บรรจุผลิตภัณฑ (ในกรณีที่ไม#ไดเลือกการศึกษาแบบยกเวนตัวอย#างไม#ศึกษาความคงสภาพบางส#วน
(Bracketing) หรือแบบยกเวนช#วงเวลาในการสุ#มตัวอย#างมาศึกษา (Matrixing))
2. ขอกําหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ/หัวขอการทดสอบ (Specification/Testing parameters)
การศึกษาควรครอบคลุมการทดสอบดานกายภาพ เคมี จุลินทรีย ของผลิตภัณฑซึ่งง#ายต#อการ
เปลี่ยนแปลงระหว#างการเก็บรักษาและมีผลกระทบต#อคุณภาพ
14
ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยส#วนประกอบที่ไม#ทราบสารสําคัญ (Marker(s)) ใหทําการประเมินความคง
สภาพดานกายภาพ และความคงสภาพดานจุลินทรีย โดยเลือกใชคุณสมบัติทางกายภาพที่สามารถเป"นตัวชี้วัด
ความคงสภาพของผลิตภัณฑนั้นๆ ได ซึ่งการประเมินคุณสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑอาจทําไดโดยใชการ
ทดสอบอย#างนอยหนึ่งในวิธีวิธีทดสอบดังต#อไปนี้
(1) การทดสอบโดยทางประสาทสัมผัสทั่วไป
(2) ใชวิธีทางวิทยาศาสตรอื่นที่สมเหตุสมผล
ในกรณีที่ผลิตภัณฑที่มีส#วนประกอบและสารสําคัญหลายชนิดผสมกัน (combination) แมว#าจะไม#มี
ความจําเป"นตองหาปริมาณสารสําคัญ (Assay) ทุกชนิด แต#ควรประเมินความคงสภาพทางเคมีจากปริมาณ
สารสําคัญตัวใดตัวหนึ่ง และบางกรณีอาจมากกว#าหนึ่งหรือหาปริมาณสารที่เป"นตัวแทน (Surrogate marker)
ซึ่งมีความไวต#อการเปลี่ยนแปลงในระหว#างการเก็บรักษา และมีผลกระทบต#อคุณภาพของผลิตภัณฑ หาก
ผูประกอบการประเมินปริมาณของสารที่เป"นตัวแทนจะตองอธิบายเหตุผลความจําเป"นประกอบในขอมูลการ
ยื่นทะเบียนตํารับดวย
3. ความถี่ของการทดสอบ (Testing frequency)
การศึกษาความคงสภาพที่สภาวะเร#งและสภาวะจริงจะตองเพียงพอต#อการกําหนดรายละเอียดความคง
สภาพและอายุการเก็บรักษา (Stability profile) ของผลิตภัณฑ
ที่สภาวะเร#งใหทดสอบอย#างนอย 3 ช#วงเวลา โดยรวมช#วงเริ่มตนและสิ้นสุด ตัวอย#างเช#น การศึกษาแบบ
6 เดือน จะทดสอบที่เดือนที่ 0, 3 และ 6
ความถี่ของการทดสอบที่สภาวะจริงใหทดสอบทุก 3 เดือนในช#วงป˜แรก ทุก 6 เดือนในช#วงป˜ที่สอง และ
ทุกป˜จนถึงอายุการเก็บรักษาที่คาดไว
ตารางแสดงสภาวะการเก็บรักษาและความถี่ในการทดสอบ
สภาวะการเก็บรักษา(Storage condition) ความถี่ในการทดสอบ(Testing frequency)
สภาวะตามจริง (Real Time) เดือนที่ 0, 3, 6, 9, 12, 18, 24 และรายป˜จนถึงอายุการ
เก็บรักษาที่คาดคะเนไว
สภาวะเร#ง (Accelerated study) เดือนที่ 0, 3, 6
เมื่อผลการทดสอบที่สภาวะเร#งพบว#าผลิตภัณฑเกิดการเปลี่ยนแปลงอย#างมีนัยสําคัญ เช#น ป•จจัยที่
ทดสอบไม#เป"นไปตามขอกําหนดคุณภาพที่ตั้งไว กรณีดังกล#าวนี้แนะนําใหทําการทดสอบเพิ่ม ไม#ว#าจะเป"นการ
เพิ่มจํานวนตัวอย#างที่จุดสิ้นสุดของการทดสอบ หรือเพิ่มจุดทดสอบที่ 4 ในการออกแบบการศึกษา
ถาการเปลี่ยนแปลงอย;างมีนัยสําคัญ (Significant change)เกิดขึ้นภายใน 3 เดือนแรกของ
การศึกษาที่สภาวะเร;ง ตองระบุเหตุผลสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต#อผลิตภัณฑที่เกิดขึ้น
นอกเหนือจากการเก็บรักษาตามที่ระบุบนฉลาก เช#น ในระหว#างการขนส#งหรือการจัดการ เป"นตน การใหเหตุผล
สนับสนุนสามารถทําการทดสอบเพิ่มเติมกับผลิตภัณฑอีก 1 รุ#นผลิต (Single batch) ในช#วงระยะเวลา0-3 เดือน
แต#เพิ่มความถี่ของการทดสอบมากขึ้นกว#าปกติ นอกจากนี้ หากการเปลี่ยนแปลงอย#างมีนัยสําคัญเกิดขึ้นภายใน3
15
เดือนแรก ก็ไม#มีความจําเป"นตองทําการทดสอบผลิตภัณฑในช#วงเวลาที่เหลืออยู#ต#อไป และอายุการเก็บ
รักษาของผลิตภัณฑจะตองขึ้นอยู#กับขอมูลที่ไดจากสภาวะจริง กรณีดังกล#าวนี้สามารถใชไดกับผลิตภัณฑ เช#น
ขี้ผึ้ง ครีม หรือยาเหน็บ เป"นตน
หากการเปลี่ยนแปลงอย#างมีนัยสําคัญเกิดขึ้นในช#วง 3-6 เดือน การทดสอบที่สภาวะเร#งและอายุการเก็บ
รักษาตองขึ้นอยู#กับขอมูลที่ไดจากสภาวะจริง
4. สภาวะการเก็บรักษาที่ทดสอบ (Storage condition)
โดยทั่วไป ผลิตภัณฑจะตองทําการทดสอบภายใตสภาวะการเก็บรักษาของผลิตภัณฑนั้นๆ ดานการคง
สภาพต#อความรอน ความชื้น หรือการสูญเสียตัวทําละลาย (Solvent loss) สภาวะการเก็บรักษาและ
ระยะเวลาศึกษาที่เลือกควรเพียงพอและครอบคลุมช#วงการเก็บรักษา การขนส#ง และการใชในภายหลัง
(Subsequent use) เช#น หลังจากทําละลายหรือเจือจางตามคําแนะนําที่ระบุบนฉลาก
อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่เฉพาะเจาะจงสําหรับการเก็บรักษาที่นํามาใชในการศึกษาความคงสภาพ
และชนิดภาชนะบรรจุ ขึ้นอยู#กับธรรมชาติของผลิตภัณฑและชนิดของภาชนะบรรจุปฐมภูมิ (Primary
container) (ภาชนะชั้นในสุด) ซึ่งสอดคลองกับสภาวะการเก็บรักษาที่แนะนําบนฉลากผลิตภัณฑ สภาวะการ
เก็บรักษาทั่วไปแสดงไวในตารางดานล#าง
ตารางแสดงสภาวะการเก็บรักษาแยกตามชนิดของภาชนะบรรจุและการศึกษา
ชนิดของภาชนะบรรจุ / การศึกษา
(Type of container closure system / Study)
สภาวะการเก็บรักษา
(Storage condition)
สภาวะจริง (Real Time study)
ผลิตภัณฑบรรจุในภาชนะบรรจุที่ไอน้ําสามารถซึมผ#านเขา-ออกได อุณหภูมิ 30 + 2 องศาเซลเซียส/
ความชื้นสัมพัทธ 75 + 5%
ผลิตภัณฑบรรจุในภาชนะบรรจุที่ไอน้ําไม#สามารถซึมผ#านเขา-ออกได อุณหภูมิ 30 + 2 องศาเซลเซียส
สภาวะเร;ง (Accelerated study) อุณหภูมิ 40 + 2 องศาเซลเซียส/
ความชื้นสัมพัทธ 75 + 5%
หากขอมูลที่ยื่นเป"นผลการทดสอบที่สภาวะที่เขมงวดนอยกว#าที่ระบุในตาราง เช#น 30องศาเซลเซียส /
ความชื้นสัมพัทธ 65% ผูขอจะตองส#งเอกสาร/ขอมูลสนับสนุนทางวิทยาศาสตรประกอบการพิจารณาเพิ่มเติม
ป•จจัยที่ตองพิจารณารวมถึงประเด็นดังนี้
- เกิดความไม#คงสภาพปรากฏใหเห็นหรือไม#
- ขอมูลที่ยื่นนั้นเป"นผลการทดสอบภายใตสภาวะเร#งหรือไม#
- ชนิดของภาชนะบรรจุ
สามารถอนุญาตสภาวะการเก็บรักษาที่นอกเหนือจากที่ระบุในตารางไดหากมีเหตุผลสนับสนุน
เพียงพอ เช#น
• ผลิตภัณฑที่ไม#ทนต#อความรอนซึ่งควรเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํากว#าที่กําหนดไวในตาราง
- ผลิตภัณฑประกอบดวยสารสําคัญที่ไม#คงตัว และสูตรไม#เหมาะสมที่จะเก็บรักษาที่อุณหภูมิที่สูงขึ้น
(เช#น ยาเหน็บ) กรณีนี้ตองทําการศึกษาความคงสภาพแบบสภาวะจริง
16
- กรณีที่ทําการศึกษาที่อุณหภูมิต่ํา การศึกษาความคงสภาพแบบสภาวะเร#ง 6 เดือน ควรทําที่อุณหภูมิ
อย#างนอย 15 องศาเซลเซียส สูงกว#าอุณหภูมิการเก็บรักษาจริงที่คาดไว (พรอมกับความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสม
กับอุณหภูมินั้นๆ) ตัวอย#างเช#น กรณีผลิตภัณฑที่ตองเก็บในตูเย็นเป"นเวลานาน การทดสอบที่สภาวะเร#งควรทํา
ที่ 25 + 2องศาเซลเซียส / ความชื้นสัมพัทธ 60% + 5% และตองระบุสภาวะการเก็บรักษาที่กําหนดใน
การศึกษาแบบสภาวะจริงไวบนฉลากพรอมอายุการเก็บรักษา (วันหมดอายุ) ผลิตภัณฑซึ่งตองเก็บรักษาใน
ตูเย็น สภาวะการเก็บรักษาที่แนะนําในการศึกษาความคงสภาพเป"นดังแสดงในตารางดานล#าง
ตารางแสดงสภาวะการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา
การศึกษา สภาวะการเก็บรักษา
สภาวะตามจริง (Real Time study) อุณหภูมิ 5 + 3 องศาเซลเซียส
สภาวะเร#ง (Accelerated study) อุณหภูมิ 25 + 2 องศาเซลเซียส
/ ความชื้นสัมพัทธ 60 + 5%
• ผลิตภัณฑที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือเคมีที่อุณหภูมิต่ํา เช#น สารแขวนตะกอน
(Suspension) หรืออิมัลชัน (Emulsion) ซึ่งอาจจะเกิดการตกตะกอนหรือแยกชั้น หรือผลิตภัณฑประเภทครีม
น้ํามัน และของกึ่งแข็ง ซึ่งอาจส#งผลต#อความหนืดที่เพิ่มขึ้นได
ขอมูลการศึกษาที่สภาวะเร#งสามารถใชในการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
นอกเหนือจากสภาวะที่ระบุไวบนฉลาก เช#น ในระหว#างการขนส#ง เป"นตน ขอมูลจากการศึกษาสภาวะเร#งและ
สภาวะจริง สามารถใชเป"นหลักฐานสนับสนุนอายุการเก็บรักษาที่คาดคะเนไวเป"นการชั่วคราวได อย#างไรก็ตาม
ในที่สุดแลว อายุการเก็บรักษาจริงควรขึ้นอยู#กับขอมูลการศึกษาความคงสภาพที่สภาวะจริงตามที่แนะนําไวบน
ฉลาก
5. ภาชนะบรรจุ (Container closure system)
ขอมูลการศึกษาความคงสภาพเพื่อใชประกอบการขึ้นทะเบียนตํารับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริม
อาหาร ตองบรรจุอยู#ในภาชนะบรรจุปฐมภูมิที่ตั้งใจจะจําหน#ายต#อผูบริโภค รวมทั้งภาชนะบรรจุทุติยภูมิ ตาม
ความเหมาะสม
ผลิตภัณฑ5สําเร็จรูปที่บรรจุอยู;ในภาชนะบรรจุที่ไม;ยอมใหความชื้น กlาซซึมเขาออกได ไม;ตอง
ทดสอบภายใตสภาวะที่มีความชื้นสัมพัทธ5สูง โดยทั่วไปภาชนะบรรจุที่ไม#ยอมใหความชื้น ก›าซซึมเขาออกได
ไดแก# แผงบลิสเตอรอลูมิเนียม/ อลูมิเนียม (aluminum/aluminum blisters), ขวดพลาสติกชนิดไฮเดนซิตี้โพ
ลีเอทธีลีน (High Density Polyethylene (HDPE)) หรือขวดแกวปzดดวยฝาโลหะหรือฝาพลาสติกชนิดไฮเดน
ซิตี้โพลีเอทธีลีน
สําหรับผลิตภัณฑ5ที่บรรจุในภาชนะบรรจุที่ยอมใหความชื้น กlาซซึมเขาออกได ควรศึกษาความคง
สภาพภายใตสภาวะที่มีความชื้นสัมพัทธ5สูง เนื่องจากความชื้นอาจส#งผลเสียต#อความคงตัวทางกายภาพและ
ทางเคมีของผลิตภัณฑสําเร็จรูปได ภาชนะบรรจุที่ยอมใหความชื้นสามารถผ#านเขาออกได ไดแก#แผงบลิสเตอร
ชนิดพีวีซี ขวดพลาสติกชนิดไฮเดนซิตี้โพลีเอทธีลีน ขวดแกวหรือขวดพลาสติกชนิดไฮเดนซิตี้โพลีเอทธีลีนที่ปzด
ดวยฝาพลาสติกชนิดอื่น เป"นตน
5
ขอบทที่ 6
การเฝSาระวังหลังผลิตภัณฑ5ออกสู;ตลาด
ประเทศสมาชิกอาเซียนตองทําใหมั่นใจไดว#าการตรวจติดตามเฝrาระวังผลิตภัณฑหลังออกสู#ตลาดมีความพรอม
ในการเตือนภัยล#วงหนาของเหตุการณไม#พึงประสงคใดๆ และ/หรือป•ญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยของ
ผลิตภัณฑที่อาจเกิดขึ้น และตองใชมาตรการที่เหมาะสมเพื่อใหมั่นใจในความปลอดภัยของผูบริโภค
ขอบทที่ 7
การกําหนดโครงสรางเพื่อการจัดการ
1. คณะกรรมการอาเซียนดานยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ในที่นี้จะเรียกว#า “เอทีเอ็มเอชเอสซี
(ATMHSC)”) ไดรับการแต#งตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้
2. คณะกรรมการฯ ตองจัดทําและนําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการไปใช
3. ในแง#ของการดําเนินการตามบทบาทหนาที่ คณะกรรมการฯ ตองตัดสินโดยฉันทามติ และตองรับผิดชอบ
ดังนี้
ก) การประสานงาน การทบทวน และตรวจสอบการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้
ข) การทบทวน และปรับปรุงภาคผนวกต#างๆ ของความตกลงฯ โดยไม#ตองแกไขขอกําหนดภายใต
ขอตกลงฯ
4. คณะกรรมการฯ ตองประกอบดวยผูแทนอย#างเป"นทางการจากหน#วยงานกํากับดูแลของแต#ละประเทศ
สมาชิก ผูแทนนี้อาจมาพรอมกับคณะผูแทนในการประชุม เอทีเอ็มเอชเอสซี
5. คณะกรรมการฯ อาจแต#งตั้งคณะทํางานวิชาการตามความเหมาะสม เพื่อใหความช#วยเหลือและให
คําแนะนําดานเทคนิคหรือวิชาการในการเชื่อมโยงกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ คณะทํางานวิชาการ
ตองจัดทําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินงานของตนขึ้น และผ#านความเห็นชอบโดยคณะกรรมการฯ
6. สมาคมอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณอาเซียนอาจไดรับเชิญใหเขาร#วมประชุมคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี
โดยปรึกษาหารือประเด็นที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณ
7. เลขานุการอาเซียนตองใหการสนับสนุนแก#คณะกรรมการฯ ในการประสานงานและการตรวจสอบการ
ดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
8. คณะกรรมการฯ โดยการสนับสนุนของเลขานุการอาเซียน ตองรายงานความกาวหนาของการดําเนินการ
ตามความตกลงฯ อย#างสม่ําเสมอ ต#อคณะกรรมการที่ปรึกษาอาเซียนดานมาตรฐานและคุณภาพ (ASEAN
Consultative Committee for Standards and Quality, ACCSQ) ซึ่งอาจใหคําแนะนําดานแนวนโยบาย
และขอเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินการตามความตกลงฯ
18
ระดับการกล;าวอาง เอกสารสนับสนุน
(1) การใชเพื่อดูแลสุขภาพตามองคความรูแพทยแผน
โบราณ (Traditional Health Use) เช#น บํารุง
ร#างกาย
เอกสารอางอิงการใชมาแต#โบราณหรือประวัติการใช
เช#น
- ตํารายาแผนโบราณ
- เภสัชตํารับและโมโนกราฟ
- ตําราวิชาการ/วารสาร
(2) การใชเพื่อรักษาโรคตามองคความรูแพทยแผน
โบราณ (Traditional Treatment) เช#น แกไข
เอกสารอางอิงการใชมาแต#โบราณหรือประวัติการใช
เช#น
- ตํารายาแผนโบราณ
- เภสัชตํารับและโมโนกราฟ
- ตําราวิชาการ/วารสาร
(3) การใชเพื่อรักษาโรคตามหลักฐานทางวิทยาศาสตร
(Scientifically Established Treatment) แต#มี
ความสัมพันธกับการแพทยแผนโบราณ เช#น รักษา
ความดันโลหิตสูง ลดระดับน้ําตาลในเลือด
เอกสารสนับสนุนที่ตองยื่น
- หลักฐานทางวิทยาศาสตรของวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ
ขึ้นกับการพิจารณาของเจาหนาที่
เอกสารสนับสนุนเพิ่มเติมอย#างนอย 1 ชิ้น
เอกสารอางอิงการใชมาแต#โบราณหรือประวัติการใช
เช#น
- ตํารายาแผนโบราณ
- เภสัชตํารับและโมโนกราฟ
- ตําราวิชาการ/วารสาร
ภาคผนวก ซ – แนวทางอาเซียนว;าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ5
เสริมอาหาร
แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร สรุป
โดยสังเขป ดังนี้
1. ฉลากทั่วไป
1.1 ชื่อผลิตภัณฑ ชื่อตรา (หากมี)
1.2 รูปแบบผลิตภัณฑ (Dosage form) เช#น เม็ด แคปซูล
1.3 ชื่อและปริมาณของส#วนประกอบสําคัญ
- หากเป"นพืชหรือสัตว ใหแจงชื่อวิทยาศาสตรพรอมส#วนที่ใช เช#น เหงาขมิ้นชัน Curcuma longa
(Rhizome) 350 mg
-หากเป"นวิตามินหรือแร#ธาตุ ใหแจงเป"นชื่อสามัญหรือชื่อทางเคมี
1.4 รุ#นการผลิต (Batch or Lot number)
1.5 วันที่ผลิตและวันที่หมดอายุ หรือเฉพาะวันที่หมดอายุ (Manufacturing and expiry date or
Expiry date only)
1.6 วิธีใช (Directions of use)
19
1.7 วัตถุประสงคการใช / ขอบ#งใช (Indication or Intended use)
1.8 การเก็บรักษา เช#น เก็บที่อุณหภูมิไม#เกิน 30 องศาเซลเซียส
1.9 สัญลักษณ ตัวอักษร เลขทะเบียนที่ผ#านการอนุญาตจากหน#วยงานกํากับดูแลของประเทศสมาชิก
อาเซียน
1.10 ชื่อและที่ตั้งผูผลิต
1.11 ชื่อและที่ตั้งผูนําเขา
1.12 ขอควรระวัง (ถามี) เช#น หามใชในผูที่เป"นโรคลมชัก
1.13 ขนาดบรรจุ ระบุเป"นระบบเมตริก
1.14 ขอกําหนดเฉพาะของแต#ละประเทศ (Country Specific requirements)
2. ฉลากขนาดเล็ก และฉลากแผง
2.1 ชื่อผลิตภัณฑ ชื่อตรา (หากมี)
2.2 สัญลักษณ ตัวอักษร เลขทะเบียนที่ผ#านการอนุญาตจากหน#วยงานกํากับดูแลของประเทศสมาชิก
อาเซียน
2.3 รุ#นการผลิต (Batch or Lot number)
2.4 วันที่ผลิตและวันที่หมดอายุ หรือเฉพาะวันที่หมดอายุ (Manufacturing and expiry date or
Expiry date only)
2.5 ขอมูลอื่นๆ ที่ตองระบุในฉลากทั่วไปควรระบุไวในเอกสารกํากับยาหรือใบแนบ และ/หรือภาชนะบรรจุ
หรือฉลากชั้นนอก
2.6 ขอกําหนดเฉพาะของแต#ละประเทศ (Country Specific requirements)
1
แบบสํารวจความคิดเห็นที่มีต;อความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ
ส;วนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
1. ชื่อ-สกุล .
2. อายุ .
3. เพศ ชาย หญิง
4. การศึกษาสูงสุด
ต่ํากว#าปริญญาตรี ปริญญาตรี
ปริญญาโท ปริญญาเอก
5. ท#านเป"น
ผูบริโภค
ผูประกอบการ (ผลิต/นําเขา)
ผูทํางานภาครัฐ โปรดระบุ .
ผูทํางานภาคการศึกษา โปรดระบุ .
ผูทํางานหน#วยงานวิจัย โปรดระบุ .
ผูประกอบวิชาชีพ (เช#น เภสัชกรแผนโบราณ แพทยแผนโบราณ) โปรดระบุ .
เจาหนาที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เจาหนาที่องคกรอิสระ
อื่นๆ โปรดระบุ .
กรณีท#านเป"นผูประกอบการ กรุณาตอบคําถามขอ 6-9 หากไม#ใช#กรุณาขามไปตอบคําถามขอ 10
6. ความเกี่ยวของของท#านกับสถานประกอบการ
เจาของ ผูบริหาร หุนส#วน
พนักงาน ตําแหน#ง อื่นๆ .
7. ชื่อและที่ตั้งสถานประกอบการผลิต / นําเขา
.
8. สถานที่ผลิตยาแผนโบราณของท#านไดรับการรับรองระบบการผลิตใดบาง
ไดรับการรับรอง WHO GMP
ไดรับการรับรอง ASEAN GMP
ไดรับการรับรอง GMP ป˜ 2548
ยังไม#ไดรับการรับรองมาตรฐานใดๆ
2
9. ป•จจุบันสถานประกอบการของท#านมีมูลค#ายอดขายรวมต#อป˜ ประมาณเท#าใด
ต่ํากว#า 1,000,000 บาท ต#อป˜
1,000,001 – 5,000,000 บาท ต#อป˜
5,000,001 – 20,000,000 บาท ต#อป˜
มากกว#า 20,000,000 บาท ต#อป˜
9.1 ขอมูลการผลิต นําเขา และส#งออก
9.1.1 ลักษณะการประกอบการของท#าน (เลือกตอบไดมากกว#า 1 ขอ)
ผูผลิต มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜
ผูนําเขา มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜
ส#งออก มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜
จําหน#ายในประเทศ มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜
อื่นๆ โปรดระบุ_________________ มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜
9.1.2 ในกรณีที่ท#านมีการส#งออก
สัดส#วนมูลค#าการส#งออกไปยังภูมิภาคอาเซียน : นอกภูมิภาคอาเซียน (เช#น 70:30)_____________
10. ท#านทราบเกี่ยวกับการจัดทําความตกลงและปรับประสานขอกําหนดดานมาตรฐานและคุณภาพของ
ผลิตภัณฑเสริมอาหารของกลุ#มประเทศสมาชิกอาเซียน มาก#อนการประชุมครั้งนี้หรือไม# หากทราบมาก#อน
ท#านทราบจากที่ใด
ทราบมาก#อน จาก (เลือกไดมากกว#า 1 ขอ)
การประชุมที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจัด
สมาคมผูผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร
อื่นๆ .
ไม#ทราบ
6
ขอบทที่ 8
กรณีพิเศษ
1. ประเทศสมาชิกอาจหามการจําหน#ายยาแผนโบราณในแต#ละประเทศสมาชิก เนื่องจากเหตุผลเฉพาะเพื่อการ
ปกปrองชีวิตสัตวหรือพันธุพืช สิ่งแวดลอม และความอ#อนไหวทางศาสนาหรือวัฒนธรรม
2. ประเทศสมาชิกที่หามการจําหน#ายหรือมีขอจํากัดต#อยาแผนโบราณนั้นตองแจงใหประเทศสมาชิกอื่นๆ
ทราบพรอมเหตุผลของการดําเนินมาตรการดังกล#าว พรอมกันนี้ ใหสําเนาถึงคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี
และเลขานุการอาเซียนดวย
.
ขอบทที่ 9
การนําไปปฏิบัติ
ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่เหมาะสมในการปฏิบัติตามความตกลงฯ นี้
ขอบทที่ 10
การระงับขอพิพาท
พิธีสารว#าดวยกลไกการระงับขอพิพาท ซึ่งลงนามเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 (ค.ศ.2009) ที่เมือง
เวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และฉบับที่แกไข จะถูกนํามาปรับใชกับขอพิพาทใดๆ ที่
เกิดจากการตีความหรือการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้
ขอบทที่ 11
ภาคผนวก
ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตองกําหนดขึ้นเป"นส#วนหนึ่งและไม#สามารถแยกออกจากความตกลงฯ นี้
ขอบทที่ 12
การทบทวน การเปลี่ยนแปลง และการแกไข
1 บทบัญญัติทั้งหมดหรือบางส#วนของความตกลงฯ นี้ อาจมีการทบทวน ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติมโดย
ความตกลงที่เป"นลายลักษณอักษรของประเทศสมาชิกทุกประเทศ
2 แมว#าจะมีวรรค 1 ของขอบทนี้แลว ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ อาจมีการแกไขภายใตการรับรองของ
คณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี
3 การแกไข เปลี่ยนแปลง หรือแกไขเพิ่มเติมใดๆ ตองไม#กระทบต#อสิทธิและหนาที่ที่เกิดขึ้นจากความตกลงฯ นี้
หรือขึ้นกับความตกลงฯ นี้ ก#อนและจนถึงวันที่ทําการแกไข ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติม
.
4
ความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ เห็นดวย ไม;เห็นดวย เหตุผล/ความคิดเห็น
ค-2. ขอกําหนดการปนเป‰Šอนเชื้อจุลินทรีย
ค-3. ขอกําหนดสารกําจัดศัตรูพืชและสาร
กําจัดแมลง
ภาคผนวก ง แนวทางการลดความเสี่ยงของ
โรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ
เสริมอาหาร
ภาคผนวก จ แนวทางอาเซียนว#าดวย
การศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บ
รักษาของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ
เสริมอาหาร
ภาคผนวก จ-2
หากในระยะเริ่มตน อย. จะกําหนดเกณฑ
การยื่นส#งเอกสารการขึ้นทะเบียนยาแผน
โบราณตามขอกําหนดอาเซียนตามความ
เสี่ยงของผลิตภัณฑ เช#น แบ#งเป"น
1. ยาพัฒนาจากสมุนไพร
2. ยาเดี่ยวที่การจะแสดงสรรพคุณที่ฉลาก
ตองมีการควบคุมคุณภาพ เช#น ฟrาทะลาย
โจรสําหรับบรรเทาอาการทองเสียจากไม#ติด
เชื้อ หรือกรณีตองการแสดงปริมาณ
สารสําคัญที่ฉลาก
3. ยาเดี่ยวที่ไม#สามารถหาสารสําคัญได/ยา
ตํารับ (สูตรผสม)
4. ยาใชภายนอก
ภาคผนวก ฉ แนวทางอาเซียนว#าดวยการ
แสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนความปลอดภัย
ของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริม
อาหาร
ภาคผนวก ฌ แนวทางอาเซียนว#าดวยการ
กล#าวอางสรรพคุณและการแสดงหลักฐาน
เพื่อพิสูจนประสิทธิผลของยาแผนโบราณ
และผลิตภัณฑเสริมอาหาร
ภาคผนวก ซ แนวทางอาเซียนว#าดวยขอ
กําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผน
โบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร
5
กรณีที่ท;านเป^นผูประกอบการ ท#านสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดอาเซียน ในแต#ละภาคผนวก
ไดหรือไม#อย#างไร
ภาคผนวก สามารถ
ปฏิบัติได
ไม;สามารถ
ปฏิบัติได
เหตุผล/ความคิดเห็น
ส;วนที่ 3 ขอคิดเห็นต;อภาคผนวกของยาแผนโบราณ
ภาคผนวก ก หลักการทั่วไป
ของอาเซียนที่ใชเป"นแนวทางใน
การพิจารณาการรวมเขาไวหรือ
ตัดออกจากบัญชีสารสําคัญที่
หามใชในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร
ภาคผนวก ข หลักการทั่วไป
ของอาเซียนว#าดวยการใชวัตถุ
เจือปนและสารปรุงแต#งในยา
แผนโบราณและผลิตภัณฑเสริม
อาหาร
ภาคผนวก ค แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป‰Šอน (โลหะหนัก จุลินทรีย และสารกําจัดแมลง) สําหรับ
ยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร
ค-1. ขอกําหนดชนิดและ
ปริมาณโลหะหนักตกคาง
ค-2. ขอกําหนดการปนเป‰Šอน
เชื้อจุลินทรีย
ค-3. ขอกําหนดสารกําจัด
ศัตรูพืชและสารกําจัดแมลง
ภาคผนวก ง
แนวทางการลดความเสี่ยงของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร
ง -1 สามารถปฏิบัติตามแนว
ทางการลดความเสี่ยงของโรคที
เอสอีในยาแผนโบราณและ
ผลิตภัณฑเสริมอาหารดังกล#าว
ขางตน
ง -2 ประเด็นการยื่นเอกสาร
รับรองวัตถุดิบที่นํามาใชใน
กระบวนการผลิต เช#น แคปซูล
เพื่อพิสูจนว#าไม#มีความเสี่ยงของ
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)

More Related Content

What's hot

ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงานคู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงานSupakarn Yimchom
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554Utai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
 
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงานคู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
 
Allergen control course by aj.sriprapai
Allergen control course by aj.sriprapaiAllergen control course by aj.sriprapai
Allergen control course by aj.sriprapai
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
Chilli gel
Chilli gelChilli gel
Chilli gel
 

More from Parun Rutjanathamrong

แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวันแฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวันParun Rutjanathamrong
 
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575Parun Rutjanathamrong
 
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลหนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลParun Rutjanathamrong
 
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภคข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภคParun Rutjanathamrong
 
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทยโดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทยParun Rutjanathamrong
 
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)Parun Rutjanathamrong
 
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015Parun Rutjanathamrong
 
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาเรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาParun Rutjanathamrong
 
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482Parun Rutjanathamrong
 
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527Parun Rutjanathamrong
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...Parun Rutjanathamrong
 
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'Parun Rutjanathamrong
 
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านองค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านParun Rutjanathamrong
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...Parun Rutjanathamrong
 
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...Parun Rutjanathamrong
 
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...Parun Rutjanathamrong
 
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปีคำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปีParun Rutjanathamrong
 
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556Parun Rutjanathamrong
 
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาParun Rutjanathamrong
 
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาParun Rutjanathamrong
 

More from Parun Rutjanathamrong (20)

แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวันแฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
แฉนายทุนจ้างให้ใส่ยาโคลิสตินในหมูทุกวัน
 
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทยเพื่อเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2575
 
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลหนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
หนังสือสั่งการ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
 
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภคข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปหน่วยงานภาครัฐในการคุ้มครองผู้บริโภค
 
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทยโดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
โดรนกับกฎหมายการเดินอากาศของไทย
 
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
Pharmacycouncil_ผู้สมัครกรรมการสภาเภสัชกรรมวาระที่ 8 (2558-2561)
 
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
WHO guideline on country pharmaceutical pricing policies 2015
 
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตาเรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
เรื่องร้องทุกข์กรณีขอย้ายในตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการและอ้างถึงการย้ายข้ามหน้าข้ามตา
 
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
รายงานการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมหมอดูและหมอทำเสน่ห์ยาแฝด พ.ศ. 2482
 
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
การอภิปรายให้ร้านยามีเภสัชกรประจำตลอดเวลาเปิดทำการ ปี 2527
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลราชการ เจ้าหน้าที่ไม่เชื่อว...
 
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
จับตา!สอบข้อเท็จจริง2ฝ่าย'หมอณรงค์ สปสช.'
 
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้านองค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
องค์การเภสัชกรรมโชว์กำไร6ปี ช่วยรัฐประหยัดเกือบ 2 หมื่นล้าน
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
 
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร  ...
W11 2557-แนวทางการดำเนินการตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กรณีการเรี่ยไร ...
 
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
คู่มือการตรวจสอบคำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรทางด้านเคมีและเภสัช...
 
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปีคำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
คำสั่งศาลปกครองสูงสุด กรณีไม่รับคำฟ้องให้เพิกถอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ 6 ปี
 
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
สถิติคดีในศาลยุติธรรมปี2556
 
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยาเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
เกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อยาและการส่งเสริมการขายยา
 
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยาตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
ตารางเปรียบเทียบร่างพ.ร.บ.ยา
 

เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)

  • 1. 1 เนื้อหากรอบความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ (ASEAN Agreement on Traditional Medicines) และกรอบความตกลงดานผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร (ASEAN Agreement on Health Supplements) โดยย;อ กรอบความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ และกรอบความตกลงอาเซียนดานผลิตภัณฑเสริมอาหาร เป"นความตกลงระหว#างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๑๐ ประเทศ ที่มีการจัดทําเป"นลายลักษณอักษร และจะมี ผลผูกพันทางกฎหมายในอนาคต ซึ่งคณะทํางานเฉพาะกิจดานกรอบความตกลงอาเซียนสําหรับยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Task Force on ASEAN Regulatory Framework for Traditional Medicines and Health Supplements) ไดใหความเห็นชอบต#อร#างกรอบความตกลงดังกล#าวแลวในการประชุมครั้งที่ ๑๘ เมื่อวันที่ ๑๑-๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ประเทศลาว กรอบความตกลงดังกล#าวประกอบดวยขอบททั้งหมด ๑๔ ขอ ดังนี้ ขอบทที่ ๑ วัตถุประสงค (Objectives) ขอบทที่ ๒ นิยาม (Definitions) ขอบทที่ ๓ ขอกําหนดทั่วไป (General Provisions) ขอบทที่ ๔ ขอกําหนดดานความปลอดภัย คุณภาพ ประสิทธิภาพ/การกล#าวอางสรรพคุณ และฉลาก (Safety, Quality, Efficacy/Claimed Benefits and Labelling Requirements) ขอบทที่ ๕ การวางจําหน#ายผลิตภัณฑ (Product Placement) ขอบทที่ ๖ การเฝrาระวังผลิตภัณฑหลังออกสู#ตลาด (Post Market Surveillance) ขอบทที่ ๗ การกําหนดโครงสรางเพื่อการจัดการ (Institutional arrangements) ขอบทที่ ๘ กรณีพิเศษ (Special Cases) ขอบทที่ ๙ การนําไปปฏิบัติ (Implementation) ขอบทที่ ๑๐ การระงับขอพิพาท (Dispute Settlement) ขอบทที่ ๑๑ ภาคผนวก (Annexes) ขอบทที่ ๑๒ การทบทวน การเปลี่ยนแปลง และการแกไข (Revisions, Modifications and Amendments) ขอบทที่ ๑๓ การบังคับใช (Entry into force) ขอบทที่ ๑๔ การมอบสัตยาบันสาร (Depository)
  • 2. 2 ส;วนที่ 2 ขอคิดเห็นต;อ (ร;าง) ความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ (ร;าง) ความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ รัฐบาลของบรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว มาเลเซีย สาธารณรัฐแห#งสหภาพเมียนมาร สาธารณรัฐฟzลิปปzนส สาธารณรัฐสิงคโปร ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประเทศสมาชิกของสมาคมประชาชาติแห#งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต (ต#อไปนี้จะเรียกโดยรวมว#า "กลุ#มประเทศสมาชิก" (Member States) หรือเป"นรายประเทศ ว#า "ประเทศสมาชิก" (Member State)); พิจารณาถึงความสําคัญของการสรางความมั่นใจดานความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผล/การกล#าวอาง คุณประโยชนของยาแผนโบราณ เพื่อที่จะคุมครองผูบริโภคในภูมิภาคอาเซียน รับทราบถึงความแตกต#างของระบบการกํากับดูแลโดยพิจารณาจากบริบทระดับประเทศ ความสามารถ การ จัดลําดับความสําคัญ และกฎหมาย; ประสงค5ที่จะปรับประสานและดําเนินการตามขอกําหนดดานเทคนิคและแนวทางต#างๆ สําหรับยาแผนโบราณ เพื่อลดอุปสรรคทางเทคนิคต#อการคาระหว#างประเทศสมาชิกอาเซียน และนําไปสู#การรวมกลุ#มทางเศรษฐกิจ ของอาเซียน โดยปราศจากการประนีประนอมดานความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผล/การกล#าวอาง คุณประโยชนของผลิตภัณฑเหล#านี้ ไดตกลงกันดังต#อไปนี้: ขอบทที่ 1 วัตถุประสงค5 วัตถุประสงคของความตกลงอาเซียนว#าดวยยาแผนโบราณ (ต#อไปนี้จะเรียกว#า "ความตกลง") คือ: ก) เพื่อเสริมสรางความร#วมมือระหว#างกลุ#มประเทศสมาชิกในการสรางความมั่นใจดานความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผล/การกล#าวอางคุณประโยชนของยาแผนโบราณที่ว#างจําหน#ายในภูมิภาคอาเซียน และ ข) เพื่ออํานวยความสะดวกทางการคาของยาแผนโบราณผ#านขอกําหนดทางเทคนิคและแนวทางต#างๆ ที่ สอดคลองกัน โดยปราศจากการประนีประนอมดานความปลอดภัย คุณภาพ และประสิทธิผล/การกล#าวอาง คุณประโยชนของผลิตภัณฑเหล#านี้ .
  • 3. 3 ขอบทที่ 2 นิยาม สําหรับวัตถุประสงคของความตกลงนี้ จะใชนิยามดังต#อไปนี้: “ยาแผนโบราณ (Traditional medicine)” หมายความว#า ยาสําหรับมนุษยซึ่งประกอบดวยตัวยาสําคัญจาก แหล#งธรรมชาติ (พืช สัตว และ/หรือแร#ธาตุ) ที่มีการใชในระบบการแพทยแผนโบราณ แต#ไม#รวมถึงผลิตภัณฑ ในรูปแบบปราศจากเชื้อ, วัคซีน, สารใดๆ ที่ไดมาจากส#วนประกอบของมนุษย และสารประกอบทางเคมี บริสุทธิ์ใดๆ ที่ไดมาจากการแยกสกัด “ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Health supplement)” หมายความว#า ผลิตภัณฑที่ใชรับประทานเสริมจากการ รับประทานอาหารตามปกติ เพื่อใชดูแล เพิ่ม และปรับปรุงสุขภาพของร#างกาย โดยอาจมีส#วนผสมอย#างใด อย#างหนึ่งหรือหลายอย#าง หรือรวมกันของสารดังต#อไปนี้ ก) วิตามิน แร#ธาตุ กรดอะมิโน กรดไขมัน เอนไซม โพรไบโอติก และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพอื่นๆ ข) สารที่ไดมาจากแหล#งธรรมชาติ รวมถึงสัตว แร#ธาตุ และพืช ในรูปแบบของสารสกัด สารสกัดที่มีการควบคุม คุณภาพ สารเขมขน สารเมตาโบไลท ค) สารจากส#วนประกอบตาม (ก) หรือ (ข) ที่ไดจากการสังเคราะห ทั้งนี้ รูปแบบการใชอยู#ในหน#วยขนาดเล็ก เช#น แคปซูล เม็ด ผง ของเหลว เป"นตน และไม#รวมถึงรูปแบบที่มีการ เตรียมแบบปราศจากเชื้อ (เช#น ยาฉีด ยาหยอดตา เป"นตน) ขอบทที่ 3 บทบัญญัติทั่วไป ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่จําเป"นเพื่อใหมั่นใจว#ายาแผนโบราณซึ่งเป"นไปตามขอกําหนดของความ ตกลงนี้และภาคผนวก สามารถจําหน#ายอยู#ในตลาดได .
  • 4. 4 ขอบทที่ 4 ขอกําหนดความปลอดภัย คุณภาพ ประสิทธิผล/การกล;าวอางคุณประโยชน5 และการแสดงฉลาก 1. ยาแผนโบราณที่วางจําหน#ายในตลาดตองไม#เป"นอันตรายต#อสุขภาพของมนุษยเมื่อบริโภคหรือนําไปใช 2. ยาแผนโบราณตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตามที่อาจนําไปปรับ ใชได: ก) ภาคผนวก ก – หลักการทั่วไปของอาเซียนที่ใชเป"นแนวทางในการพิจารณาการรวมเขาไวหรือตัดออกจาก บัญชีสารสําคัญที่หามใชในยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for Inclusion into or Exclusion from the Negative List of Substances for TMHS) ข) ภาคผนวก ข - หลักการทั่วไปของอาเซียนว#าดวยการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for the Use of Additives and Excipients in TMHS) ค) ภาคผนวก ค – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป‰Šอน (โลหะหนัก และจุลินทรีย) สําหรับยา แผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Limits of Contaminants for TMHS) ง) ภาคผนวก ง – แนวทางอาเซียนว#าดวยการลดความเสี่ยงของการติดต#อของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Minimising Risk of Transmission Spongiform Encephalopathy in TMHS) จ) ภาคผนวก จ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บรักษาของยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Stability and Shelf-life of TMHS) ฉ) ภาคผนวก ฉ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนความปลอดภัยของยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles on Safety Substantiation for TMHS) ช) ภาคผนวก ช - แนวทางอาเซียนว#าดวยการกล#าวอางสรรพคุณและการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนประสิทธิผล ของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Guidelines on Claims and Claims Substantiation for TMHS) ซ) ภาคผนวก ซ – แนวทางอาเซียนว#าดวยหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Good Manufacturing Practice for TMHS) ฌ) ภาคผนวก ฌ – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Labelling Requirement for TMHS) . ขอบทที่ 5 การวางจําหน;ายผลิตภัณฑ5 ยาแผนโบราณสามารถวางจําหน#ายในตลาดไดเฉพาะผลิตภัณฑที่ไดรับอนุญาตขึ้นทะเบียนโดยผูมีอํานาจกํากับ ดูแลในแต#ละประเทศสมาชิก
  • 5. 5 ขอบทที่ 6 การเฝSาระวังหลังผลิตภัณฑ5ออกสู;ตลาด ประเทศสมาชิกอาเซียนตองทําใหมั่นใจไดว#าการตรวจติดตามเฝrาระวังผลิตภัณฑหลังออกสู#ตลาดมีความพรอม ในการเตือนภัยล#วงหนาของเหตุการณไม#พึงประสงคใดๆ และ/หรือป•ญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑที่อาจเกิดขึ้น และตองใชมาตรการที่เหมาะสมเพื่อใหมั่นใจในความปลอดภัยของผูบริโภค ขอบทที่ 7 การกําหนดโครงสรางเพื่อการจัดการ 1. คณะกรรมการอาเซียนดานยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ในที่นี้จะเรียกว#า “เอทีเอ็มเอชเอสซี (ATMHSC)”) ไดรับการแต#งตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ 2. คณะกรรมการฯ ตองจัดทําและนําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการไปใช 3. ในแง#ของการดําเนินการตามบทบาทหนาที่ คณะกรรมการฯ ตองตัดสินโดยฉันทามติ และตองรับผิดชอบ ดังนี้ ก) การประสานงาน การทบทวน และตรวจสอบการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ ข) การทบทวน และปรับปรุงภาคผนวกต#างๆ ของความตกลงฯ โดยไม#ตองแกไขขอกําหนดภายใต ขอตกลงฯ 4. คณะกรรมการฯ ตองประกอบดวยผูแทนอย#างเป"นทางการจากหน#วยงานกํากับดูแลของแต#ละประเทศ สมาชิก ผูแทนนี้อาจมาพรอมกับคณะผูแทนในการประชุม เอทีเอ็มเอชเอสซี 5. คณะกรรมการฯ อาจแต#งตั้งคณะทํางานวิชาการตามความเหมาะสม เพื่อใหความช#วยเหลือและให คําแนะนําดานเทคนิคหรือวิชาการในการเชื่อมโยงกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ คณะทํางานวิชาการ ตองจัดทําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินงานของตนขึ้น และผ#านความเห็นชอบโดยคณะกรรมการฯ 6. สมาคมอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณอาเซียนอาจไดรับเชิญใหเขาร#วมประชุมคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี โดยปรึกษาหารือประเด็นที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณ 7. เลขานุการอาเซียนตองใหการสนับสนุนแก#คณะกรรมการฯ ในการประสานงานและการตรวจสอบการ ดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 8. คณะกรรมการฯ โดยการสนับสนุนของเลขานุการอาเซียน ตองรายงานความกาวหนาของการดําเนินการ ตามความตกลงฯ อย#างสม่ําเสมอ ต#อคณะกรรมการที่ปรึกษาอาเซียนดานมาตรฐานและคุณภาพ (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality, ACCSQ) ซึ่งอาจใหคําแนะนําดานแนวนโยบาย และขอเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินการตามความตกลงฯ
  • 6. 6 ขอบทที่ 8 กรณีพิเศษ 1. ประเทศสมาชิกอาจหามการจําหน#ายยาแผนโบราณในแต#ละประเทศสมาชิก เนื่องจากเหตุผลเฉพาะเพื่อการ ปกปrองชีวิตสัตวหรือพันธุพืช สิ่งแวดลอม และความอ#อนไหวทางศาสนาหรือวัฒนธรรม 2. ประเทศสมาชิกที่หามการจําหน#ายหรือมีขอจํากัดต#อยาแผนโบราณนั้นตองแจงใหประเทศสมาชิกอื่นๆ ทราบพรอมเหตุผลของการดําเนินมาตรการดังกล#าว พรอมกันนี้ ใหสําเนาถึงคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี และเลขานุการอาเซียนดวย . ขอบทที่ 9 การนําไปปฏิบัติ ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่เหมาะสมในการปฏิบัติตามความตกลงฯ นี้ ขอบทที่ 10 การระงับขอพิพาท พิธีสารว#าดวยกลไกการระงับขอพิพาท ซึ่งลงนามเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 (ค.ศ.2009) ที่เมือง เวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และฉบับที่แกไข จะถูกนํามาปรับใชกับขอพิพาทใดๆ ที่ เกิดจากการตีความหรือการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ ขอบทที่ 11 ภาคผนวก ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตองกําหนดขึ้นเป"นส#วนหนึ่งและไม#สามารถแยกออกจากความตกลงฯ นี้ ขอบทที่ 12 การทบทวน การเปลี่ยนแปลง และการแกไข 1 บทบัญญัติทั้งหมดหรือบางส#วนของความตกลงฯ นี้ อาจมีการทบทวน ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติมโดย ความตกลงที่เป"นลายลักษณอักษรของประเทศสมาชิกทุกประเทศ 2 แมว#าจะมีวรรค 1 ของขอบทนี้แลว ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ อาจมีการแกไขภายใตการรับรองของ คณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี 3 การแกไข เปลี่ยนแปลง หรือแกไขเพิ่มเติมใดๆ ตองไม#กระทบต#อสิทธิและหนาที่ที่เกิดขึ้นจากความตกลงฯ นี้ หรือขึ้นกับความตกลงฯ นี้ ก#อนและจนถึงวันที่ทําการแกไข ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติม .
  • 7. 3 ขอบทที่ 2 นิยาม สําหรับวัตถุประสงคของความตกลงนี้ จะใชนิยามดังต#อไปนี้: “ยาแผนโบราณ (Traditional medicine)” หมายความว#า ยาสําหรับมนุษยซึ่งประกอบดวยตัวยาสําคัญจาก แหล#งธรรมชาติ (พืช สัตว และ/หรือแร#ธาตุ) ที่มีการใชในระบบการแพทยแผนโบราณ แต#ไม#รวมถึงผลิตภัณฑ ในรูปแบบปราศจากเชื้อ, วัคซีน, สารใดๆ ที่ไดมาจากส#วนประกอบของมนุษย และสารประกอบทางเคมี บริสุทธิ์ใดๆ ที่ไดมาจากการแยกสกัด “ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Health supplement)” หมายความว#า ผลิตภัณฑที่ใชรับประทานเสริมจากการ รับประทานอาหารตามปกติ เพื่อใชดูแล เพิ่ม และปรับปรุงสุขภาพของร#างกาย โดยอาจมีส#วนผสมอย#างใด อย#างหนึ่งหรือหลายอย#าง หรือรวมกันของสารดังต#อไปนี้ ก) วิตามิน แร#ธาตุ กรดอะมิโน กรดไขมัน เอนไซม โพรไบโอติก และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพอื่นๆ ข) สารที่ไดมาจากแหล#งธรรมชาติ รวมถึงสัตว แร#ธาตุ และพืช ในรูปแบบของสารสกัด สารสกัดที่มีการควบคุม คุณภาพ สารเขมขน สารเมตาโบไลท ค) สารจากส#วนประกอบตาม (ก) หรือ (ข) ที่ไดจากการสังเคราะห ทั้งนี้ รูปแบบการใชอยู#ในหน#วยขนาดเล็ก เช#น แคปซูล เม็ด ผง ของเหลว เป"นตน และไม#รวมถึงรูปแบบที่มีการ เตรียมแบบปราศจากเชื้อ (เช#น ยาฉีด ยาหยอดตา เป"นตน) ขอบทที่ 3 บทบัญญัติทั่วไป ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่จําเป"นเพื่อใหมั่นใจว#ายาแผนโบราณซึ่งเป"นไปตามขอกําหนดของความ ตกลงนี้และภาคผนวก สามารถจําหน#ายอยู#ในตลาดได .
  • 8. 8 ส;วนที่ 3 ขอคิดเห็นต;อภาคผนวกของยาแผนโบราณ ภาคผนวก ก –หลักการทั่วไปของอาเซียนที่ใชเป^นแนวทางในการพิจารณาการรวมเขาไวหรือตัดออกจาก บัญชีสารสําคัญที่หามใชในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร ตามขอกําหนดของอาเซียนจะมีการจัดทําบัญชีรายการสารหามใชและที่มีขอจํากัดการใชในผลิตภัณฑ ยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร ทั้งนี้ สารหามใชหมายถึงสารที่หามใชในผลิตภัณฑ ภาคผนวก ข - หลักการทั่วไปของอาเซียนว;าดวยการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต;งในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร หลักการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑอาหารเสริมตามขอกําหนดของ อาเซียนและการจัดทําบัญชีรายชื่อวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งฯ อางอิงหลักการ มาตรฐานทั่วไป และ ขอกําหนดเงื่อนไขการใชตามมาตรฐานอาหารระหว#างประเทศ (Codex) และคู#มือการใชสารปรุงแต#งในยา (Handbook of Pharmaceutical Excipients) การใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหารไดสรุปไวเป"นขั้นตอน ดังนี้ (1) หากวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งอยู#ในบัญชีรายชื่อฯ ที่มีขอจํากัดการใช ปริมาณที่ใชควรต่ํากว#า หรือเป"นไปตามที่กําหนดไวในบัญชีฯ วัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งที่ใชไดในปริมาณที่เหมาะสมหรือปริมาณที่เหมาะสม (Good Manufacturing Practice (GMP)) ตามคําแนะนําของโคเด็กซนั้น ปริมาณที่ใชจะตองเป"นปริมาณที่ต่ําที่สุดที่ ใหผลตามที่ตองการ (2) หากวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งไม#ปรากฏอยู#ในบัญชีรายชื่อฯ ใหตรวจสอบในมาตรฐานทั่วไป สําหรับวัตถุเจือปนอาหารของโคเด็กซในหมวดผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Codex General Standard for Food Additives Provision for Food Supplements) หรือ คู#มือการใชสารปรุงแต#งในยา (Handbook of Pharmaceutical Excipients) หรือ เภสัชตํารับฉบับทางการ (Official Pharmacopoeias) ล#าสุด (3) ไม#อนุญาตใหใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งที่นอกเหนือจากรายชื่อที่ปรากฎในขอ (1) และ (2) หากยังไม#ผ#านการประเมินความปลอดภัยหรืออนุญาตใหใชจากหน#วยงานกํากับดูแลระดับประเทศ
  • 9. 9 ภาคผนวก ค – แนวทางอาเซียนว;าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป`aอน (โลหะหนัก และจุลินทรีย5และสาร จํากัดแมลง) สําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร 1. ขอกําหนดชนิดและปริมาณโลหะหนักตกคาง ชนิดโลหะหนัก ปริมาณสูงสุดที่ยอมใหมีได (มิลลิกรัม/ยา ๑ กิโลกรัม) ตะกั่ว (Lead) 10 สารหนู (Arsenic) 5 ปรอท (Mercury) 0.5 แคดเมียม (Cadmium) 0.3 2. ขอกําหนดการปนเป`aอนเชื้อจุลินทรีย5 โดยหลักการ ขอกําหนดการปนเป‰Šอนชื้อจุลินทรียตามขอตกลงอาเซียนเป"นไปตามเภสัชตํารับของ สหราชอาณาจักร (British Pharmacopoeia) ซึ่งจะตองตรวจเชื้อจุลินทรียทั้งหมด (Total Aerobic Microbial Count, TAMC), ยีสตและราทั้งหมด (Total Yeast and Mold Count, TYMC), แบคทีเรียแกรม ลบที่ทนน้ําดีได (Bile-tolerant gram negative bacteria), แซลโมเนลลา (Salmonella), อี.โคไล (Escherichia coli), สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus), ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa), แคนดิดา อัลบิแคนส (Candida albicans) ตามแต#ประเภทของยาแผน โบราณ ดังนี้ ขอกําหนดจุลินทรีย5 (โคโลนีต;อกรัมหรือต;อมิลลิลิตร) (cfu/g หรือ cfu/ml) ประเภทยาแผนโบราณ เชื้อจุลินทรีย5 ทั้งหมด (TAMC) ยีสต5และรา ทั้งหมด (TYMC) ชนิดของจุลินทรีย5จําเพาะที่ตองตรวจ (Specified microorganisms) 1.ยาสําหรับรับประทาน A. ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยพืช สมุนไพร (ที่มีหรือไม#มีสารปรุงแต#ง) ซึ่งมีการใชในลักษณะชงหรือตมดวย น้ํารอน (เช#น ชาสมุนไพรที่มีหรือไม#มี การปรุงแต#งกลิ่น) ไม#มากกว#า 5x107 ไม#มากกว#า 5x105 - พบ อี.โคไล (E. coli) ไดไม#เกิน 103 cfu - ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 25 กรัม หรือ 25 มล. B. ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยสารสกัด และ/หรือพืชสมุนไพร (ที่มีหรือไม#มี สารปรุงแต#ง) ซึ่งกระบวนการแปรรูป พืชสมุนไพร (เช#น การสกัด) สามารถ ลดปริมาณจุลินทรียใหต่ํากว#าที่ได กําหนดไวสําหรับผลิตภัณฑประเภทนี้ ไม#มากกว#า 5x104 ไม#มากกว#า 5x102 - แบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีไดพบไดไม#เกิน 102 cfu - ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 25 กรัม หรือ 25 มล. - ไม#พบ อี.โคไล (E. coli) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. C. ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยสารสกัด และ/หรือพืชสมุนไพร (ที่มีหรือไม#มี สารปรุงแต#ง) ซึ่งกระบวนการแปรรูป (เช#น การสกัดดวยเอธานอลที่มีความ ไม#มากกว#า 5x105 ไม#มากกว#า 5x104 - แบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีไดพบไดไม#เกิน 104 cfu - ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 25 กรัม หรือ 25 มล.
  • 10. 10 ขอกําหนดจุลินทรีย5 (โคโลนีต;อกรัมหรือต;อมิลลิลิตร) (cfu/g หรือ cfu/ml) ประเภทยาแผนโบราณ เชื้อจุลินทรีย5 ทั้งหมด (TAMC) ยีสต5และรา ทั้งหมด (TYMC) ชนิดของจุลินทรีย5จําเพาะที่ตองตรวจ (Specified microorganisms) เขมขนต่ํา หรือสกัดดวยน้ําที่มีอุณภูมิ ต่ําหรือไม#ถึงเดือด) ไม#สามารถลด ปริมาณจุลินทรียใหเป"นไปตาม เงื่อนไขตามที่ไดกําหนดไวสําหรับ ผลิตภัณฑประเภท B - ไม#พบ อี.โคไล (E. coli) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. D. ผลิตภัณฑประกอบดวยวัตถุดิบที่ ไดจากธรรมชาติ (สัตว/พืช/แร#ธาตุ) และไม#สามารถผ#านขั้นตอนการลด ปริมาณเชื้อจุลินทรียได และ หน#วยงานที่กํากับดูแลยอมรับใหมี ปริมาณ TAMC ของวัตถุดิบเกิน 103 cfu/g หรือ cfu/ml* ไม#มากกว#า 2x104 ไม#มากกว#า 2x102 - แบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีไดพบไดไม#เกิน 102 cfu - ไม#พบ แซลโมเนลลา (Salmonella) ใน 10 กรัม หรือ 10 มล. - ไม#พบ อี.โคไล (E. coli) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. - ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S. aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. 2.ยาใชภายนอก ทวารหนัก (Rectal) ไม#มากกว#า 2x103 ไม#มากกว#า 2x102 - ช#องปาก (Oromucosal) เหงือก (Gingival) ผิวหนัง (Cutaneous) จมูก (Nasal) หู (Auricular) ไม#มากกว#า 2x102 ไม#มากกว#า 2x101 - ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S. aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. - ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. ช#องคลอด (Vaginal)** ไม#มากกว#า 2x102 ไม#มากกว#า 2x101 - ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S. aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. - ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. - ไม#พบแคนดิดา อัลบิแคนส (Candida albicans) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. แผ#นแปะผิวหนัง (Transdermal patches) ไม#มากกว#า 2x102 ไม#มากกว#า 2x101 - ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S. aureus) (1 แผ#น)
  • 11. 11 ขอกําหนดจุลินทรีย5 (โคโลนีต;อกรัมหรือต;อมิลลิลิตร) (cfu/g หรือ cfu/ml) ประเภทยาแผนโบราณ เชื้อจุลินทรีย5 ทั้งหมด (TAMC) ยีสต5และรา ทั้งหมด (TYMC) ชนิดของจุลินทรีย5จําเพาะที่ตองตรวจ (Specified microorganisms) - ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa) (1 แผ#น) ใชสําหรับสูดพ#น (Inhalation use)** ไม#มากกว#า 2x102 ไม#มากกว#า 2x101 - ไม#พบ สแตฟzโลค็อกคัส ออเรียส (S. aureus) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. - ไม#พบ ซูโดโมแนส แอโรจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa) ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. - ไม#พบแบคทีเรียแกรมลบที่ทนน้ําดีได ใน 1 กรัม หรือ 1 มล. หมายเหตุ - * ประเทศไทยโดยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอยู#ในระหว#างการหารือกับ กรมวิทยาศาสตรการแพทยเพื่อหาค#าที่เหมาะสมต#อไป - ** รูปแบบยาดังกล#าวไม#เคยอนุญาตใหขึ้นทะเบียนในประเทศไทย 3. ขอกําหนดสารกําจัดแมลง สารกําจัดแมลงมีการจัดทํากฎระเบียบในระดับสากล และดําเนินการปรับประสานกฎระเบียบเกี่ยวกับ สารกําจัดแมลงทั่วโลก อย#างไรก็ตาม ป•จจุบันยังไม#มีขอกําหนดของปริมาณสารกําจัดแมลงตกคางในยาแผน โบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหารที่ประกอบดวยพืชสมุนไพร ดังนั้น จึงมุ#งใหความสําคัญกับวัตถุดิบที่นํามาใช ในการผลิต ผูส#งมอบวัตถุดิบและผูผลิตผลิตภัณฑจะตองมีมาตรการที่ทําใหมั่นใจไดว#าวัตถุดิบที่ส#งมอบและใช ในการผลิตเป"นไปตามขอกําหนด การควบคุมปริมาณสารกําจัดแมลงในวัตถุดิบอยู#ภายใตหลักเกณฑและวิธีการ ปฏิบัติที่ดีดานการเกษตร (Good Agricultural Practice, GAP) และหลักเกณฑและวิธีการผลิตที่ดี (Good Manufacturing Practice, GMP) ภาคผนวก ง – แนวทางอาเซียนว;าดวยการลดความเสี่ยงของการติดต;อของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร อาเซียนใชแนวทางการบริหารความเสี่ยงในการลดความเสี่ยงของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหารตามขอแนะนําขององคการอนามัยโลกและหน#วยงานของสหภาพยุโรปสําหรับการ ประเมินผลิตภัณฑยา (European Medicines Agency; EMEA) และองคการโรคระบาดสัตว Office International des Epizooties (OIE) ว#าดวยเรื่องโรคทีเอสอี แนวทางฉบับนี้ครอบคลุมวัตถุดิบและสารทุกชนิดที่นํามาใชในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร และที่อาจปนเป‰Šอนในระหว#างกระบวนการผลิต เช#น สารสําคัญ วัตถุเจือปนและสารช#วย วัตถุดิบและสารตั้ง ตน รวมทั้งสารเคมีที่ใชในการผลิต ที่มีแหล#งกําเนิดจากสัตวเคี้ยวเอื้อง โดยมีแนวทางในการจัดการวัตถุดิบดังนี้ 1. การลดความเสี่ยงของการติดต#อของโรคทีเอสอี โดยพิจารณาจากป•จจัย 3 ประการที่เกี่ยวของดังนี้ 1.1 แหล#งที่มาของสัตวและลักษณะทางภูมิศาสตรของแหล#งกําเนิด
  • 12. 4 ขอบทที่ 4 ขอกําหนดความปลอดภัย คุณภาพ ประสิทธิผล/การกล;าวอางคุณประโยชน5 และการแสดงฉลาก 1. ยาแผนโบราณที่วางจําหน#ายในตลาดตองไม#เป"นอันตรายต#อสุขภาพของมนุษยเมื่อบริโภคหรือนําไปใช 2. ยาแผนโบราณตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตามที่อาจนําไปปรับ ใชได: ก) ภาคผนวก ก – หลักการทั่วไปของอาเซียนที่ใชเป"นแนวทางในการพิจารณาการรวมเขาไวหรือตัดออกจาก บัญชีสารสําคัญที่หามใชในยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for Inclusion into or Exclusion from the Negative List of Substances for TMHS) ข) ภาคผนวก ข - หลักการทั่วไปของอาเซียนว#าดวยการใชวัตถุเจือปนและสารปรุงแต#งในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles for the Use of Additives and Excipients in TMHS) ค) ภาคผนวก ค – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป‰Šอน (โลหะหนัก และจุลินทรีย) สําหรับยา แผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Limits of Contaminants for TMHS) ง) ภาคผนวก ง – แนวทางอาเซียนว#าดวยการลดความเสี่ยงของการติดต#อของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Minimising Risk of Transmission Spongiform Encephalopathy in TMHS) จ) ภาคผนวก จ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บรักษาของยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Stability and Shelf-life of TMHS) ฉ) ภาคผนวก ฉ – แนวทางอาเซียนว#าดวยการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนความปลอดภัยของยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ASEAN Guiding Principles on Safety Substantiation for TMHS) ช) ภาคผนวก ช - แนวทางอาเซียนว#าดวยการกล#าวอางสรรพคุณและการแสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนประสิทธิผล ของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Guidelines on Claims and Claims Substantiation for TMHS) ซ) ภาคผนวก ซ – แนวทางอาเซียนว#าดวยหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines on Good Manufacturing Practice for TMHS) ฌ) ภาคผนวก ฌ – แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ เสริมอาหาร (ASEAN Guidelines for Labelling Requirement for TMHS) . ขอบทที่ 5 การวางจําหน;ายผลิตภัณฑ5 ยาแผนโบราณสามารถวางจําหน#ายในตลาดไดเฉพาะผลิตภัณฑที่ไดรับอนุญาตขึ้นทะเบียนโดยผูมีอํานาจกํากับ ดูแลในแต#ละประเทศสมาชิก
  • 13. 13 • นมและผลิตภัณฑของนม องคการอนามัยโลกและหน#วยงานของสหภาพยุโรปสําหรับการประเมินผลิตภัณฑยาถือว#า วัตถุดิบดังกล#าวปลอดภัย หาก - ไดมาจากสัตวเคี้ยวเอื้องที่มีสุขภาพดี เหมาะสําหรับการบริโภคของมนุษย - วัตถุดิบจากสัตวเคี้ยวเอื้องที่ติดเชื้อไม#ถูกนํามาใชในกระบวนการผลิต 1.3 กระบวนการผลิต • ใชระบบการประกันคุณภาพในการติดตามเฝrาระวังกระบวนการผลิต เพื่อใหมั่นใจในความ สอดคลอง สม่ําเสมอ และสามารถตรวจสอบยอนกลับได • ในการลดความเสี่ยงของการปนเป‰Šอนขามควรพิจารณาในแง#ของกระบวนการผลิต โดยเฉพาะอย#างยิ่งวัตถุดิบที่ใชในกระบวนการ กระบวนการผลิตควรออกแบบโดยพิจารณา จากขอมูลและกระบวนการผลิตที่มีอยู#ทั้งหมด ที่สามารถลด หรือยับยั้งการติดเชื้อ หรือ กําจัดการติดเชื้อจากวัตถุดิบเริ่มตนที่ใช ซึ่งจะช#วยเพิ่มความปลอดภัยดานการจัดหาวัตถุดิบ และ • ควรมีกระบวนการตรวจสอบและยืนยันความถูกตอง (validation) เมื่อกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑไดรับการพิจารณาว#ามีผลต#อความปลอดภัยอย#างมีนัยสําคัญ หากมีการอางว#าความปลอดภัยของผลิตภัณฑสามารถเพิ่มขึ้นไดโดยผ#านกระบวนการผลิต ผูขอ จะตองส#งขอมูลที่เกี่ยวของ ใหแก#หน#วยงานกํากับดูแลเพื่อตรวจสอบและยืนยันความถูกตอง หากมีการรองขอ ภาคผนวก จ – แนวทางอาเซียนว;าดวยการศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บรักษาของยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ5เสริมอาหาร 1. การเลือกรุ#นผลิต (Selection of Batches) ตัวอย#างที่ใชในการศึกษาความคงสภาพตองไดจากรุ#นการผลิตที่มีสูตรและรูปแบบ (Dosage Form) และบรรจุในภาชนะบรรจุชนิดเดียวกับภาชนะบรรจุที่จะจําหน#ายต#อผูบริโภค ตัวอย#างที่ใชในการศึกษาความคงสภาพตองมาจากรุ#นการผลิตอย#างนอย 2 รุ#น ซึ่งอาจเป"นรุ#นทดลอง ผลิต (Pilot Scale Batch) รุ#นผลิตขั้นตน (Primary Scale Batch) รุ#นผลิตจําหน#าย (Production Scale Batch) หรือคละกันก็ไดโดยรุ;นทดลองผลิตและรุ;นผลิตขั้นตนตองมีขนาดอย;างนอยหนึ่งในสิบของรุ;นผลิต จําหน;ายเพื่อใหกระบวนการผลิตของรุ#นทดลองผลิตเลียนแบบหรือเหมือนกับกระบวนการผลิตของรุ#นผลิต จําหน#าย ทั้งนี้ ตัวอย#างที่ใชในการศึกษาความคงสภาพตองมีคุณภาพมาตรฐานเดียวกันกับรุ#นผลิตที่ผลิตเพื่อ จําหน#ายในตลาด การศึกษาควรทําในแต#ละความแรง/ความเขมขนของผลิตภัณฑ และ/หรือชนิดของภาชนะบรรจุที่ใช บรรจุผลิตภัณฑ (ในกรณีที่ไม#ไดเลือกการศึกษาแบบยกเวนตัวอย#างไม#ศึกษาความคงสภาพบางส#วน (Bracketing) หรือแบบยกเวนช#วงเวลาในการสุ#มตัวอย#างมาศึกษา (Matrixing)) 2. ขอกําหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ/หัวขอการทดสอบ (Specification/Testing parameters) การศึกษาควรครอบคลุมการทดสอบดานกายภาพ เคมี จุลินทรีย ของผลิตภัณฑซึ่งง#ายต#อการ เปลี่ยนแปลงระหว#างการเก็บรักษาและมีผลกระทบต#อคุณภาพ
  • 14. 14 ผลิตภัณฑที่ประกอบดวยส#วนประกอบที่ไม#ทราบสารสําคัญ (Marker(s)) ใหทําการประเมินความคง สภาพดานกายภาพ และความคงสภาพดานจุลินทรีย โดยเลือกใชคุณสมบัติทางกายภาพที่สามารถเป"นตัวชี้วัด ความคงสภาพของผลิตภัณฑนั้นๆ ได ซึ่งการประเมินคุณสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑอาจทําไดโดยใชการ ทดสอบอย#างนอยหนึ่งในวิธีวิธีทดสอบดังต#อไปนี้ (1) การทดสอบโดยทางประสาทสัมผัสทั่วไป (2) ใชวิธีทางวิทยาศาสตรอื่นที่สมเหตุสมผล ในกรณีที่ผลิตภัณฑที่มีส#วนประกอบและสารสําคัญหลายชนิดผสมกัน (combination) แมว#าจะไม#มี ความจําเป"นตองหาปริมาณสารสําคัญ (Assay) ทุกชนิด แต#ควรประเมินความคงสภาพทางเคมีจากปริมาณ สารสําคัญตัวใดตัวหนึ่ง และบางกรณีอาจมากกว#าหนึ่งหรือหาปริมาณสารที่เป"นตัวแทน (Surrogate marker) ซึ่งมีความไวต#อการเปลี่ยนแปลงในระหว#างการเก็บรักษา และมีผลกระทบต#อคุณภาพของผลิตภัณฑ หาก ผูประกอบการประเมินปริมาณของสารที่เป"นตัวแทนจะตองอธิบายเหตุผลความจําเป"นประกอบในขอมูลการ ยื่นทะเบียนตํารับดวย 3. ความถี่ของการทดสอบ (Testing frequency) การศึกษาความคงสภาพที่สภาวะเร#งและสภาวะจริงจะตองเพียงพอต#อการกําหนดรายละเอียดความคง สภาพและอายุการเก็บรักษา (Stability profile) ของผลิตภัณฑ ที่สภาวะเร#งใหทดสอบอย#างนอย 3 ช#วงเวลา โดยรวมช#วงเริ่มตนและสิ้นสุด ตัวอย#างเช#น การศึกษาแบบ 6 เดือน จะทดสอบที่เดือนที่ 0, 3 และ 6 ความถี่ของการทดสอบที่สภาวะจริงใหทดสอบทุก 3 เดือนในช#วงป˜แรก ทุก 6 เดือนในช#วงป˜ที่สอง และ ทุกป˜จนถึงอายุการเก็บรักษาที่คาดไว ตารางแสดงสภาวะการเก็บรักษาและความถี่ในการทดสอบ สภาวะการเก็บรักษา(Storage condition) ความถี่ในการทดสอบ(Testing frequency) สภาวะตามจริง (Real Time) เดือนที่ 0, 3, 6, 9, 12, 18, 24 และรายป˜จนถึงอายุการ เก็บรักษาที่คาดคะเนไว สภาวะเร#ง (Accelerated study) เดือนที่ 0, 3, 6 เมื่อผลการทดสอบที่สภาวะเร#งพบว#าผลิตภัณฑเกิดการเปลี่ยนแปลงอย#างมีนัยสําคัญ เช#น ป•จจัยที่ ทดสอบไม#เป"นไปตามขอกําหนดคุณภาพที่ตั้งไว กรณีดังกล#าวนี้แนะนําใหทําการทดสอบเพิ่ม ไม#ว#าจะเป"นการ เพิ่มจํานวนตัวอย#างที่จุดสิ้นสุดของการทดสอบ หรือเพิ่มจุดทดสอบที่ 4 ในการออกแบบการศึกษา ถาการเปลี่ยนแปลงอย;างมีนัยสําคัญ (Significant change)เกิดขึ้นภายใน 3 เดือนแรกของ การศึกษาที่สภาวะเร;ง ตองระบุเหตุผลสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต#อผลิตภัณฑที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากการเก็บรักษาตามที่ระบุบนฉลาก เช#น ในระหว#างการขนส#งหรือการจัดการ เป"นตน การใหเหตุผล สนับสนุนสามารถทําการทดสอบเพิ่มเติมกับผลิตภัณฑอีก 1 รุ#นผลิต (Single batch) ในช#วงระยะเวลา0-3 เดือน แต#เพิ่มความถี่ของการทดสอบมากขึ้นกว#าปกติ นอกจากนี้ หากการเปลี่ยนแปลงอย#างมีนัยสําคัญเกิดขึ้นภายใน3
  • 15. 15 เดือนแรก ก็ไม#มีความจําเป"นตองทําการทดสอบผลิตภัณฑในช#วงเวลาที่เหลืออยู#ต#อไป และอายุการเก็บ รักษาของผลิตภัณฑจะตองขึ้นอยู#กับขอมูลที่ไดจากสภาวะจริง กรณีดังกล#าวนี้สามารถใชไดกับผลิตภัณฑ เช#น ขี้ผึ้ง ครีม หรือยาเหน็บ เป"นตน หากการเปลี่ยนแปลงอย#างมีนัยสําคัญเกิดขึ้นในช#วง 3-6 เดือน การทดสอบที่สภาวะเร#งและอายุการเก็บ รักษาตองขึ้นอยู#กับขอมูลที่ไดจากสภาวะจริง 4. สภาวะการเก็บรักษาที่ทดสอบ (Storage condition) โดยทั่วไป ผลิตภัณฑจะตองทําการทดสอบภายใตสภาวะการเก็บรักษาของผลิตภัณฑนั้นๆ ดานการคง สภาพต#อความรอน ความชื้น หรือการสูญเสียตัวทําละลาย (Solvent loss) สภาวะการเก็บรักษาและ ระยะเวลาศึกษาที่เลือกควรเพียงพอและครอบคลุมช#วงการเก็บรักษา การขนส#ง และการใชในภายหลัง (Subsequent use) เช#น หลังจากทําละลายหรือเจือจางตามคําแนะนําที่ระบุบนฉลาก อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธที่เฉพาะเจาะจงสําหรับการเก็บรักษาที่นํามาใชในการศึกษาความคงสภาพ และชนิดภาชนะบรรจุ ขึ้นอยู#กับธรรมชาติของผลิตภัณฑและชนิดของภาชนะบรรจุปฐมภูมิ (Primary container) (ภาชนะชั้นในสุด) ซึ่งสอดคลองกับสภาวะการเก็บรักษาที่แนะนําบนฉลากผลิตภัณฑ สภาวะการ เก็บรักษาทั่วไปแสดงไวในตารางดานล#าง ตารางแสดงสภาวะการเก็บรักษาแยกตามชนิดของภาชนะบรรจุและการศึกษา ชนิดของภาชนะบรรจุ / การศึกษา (Type of container closure system / Study) สภาวะการเก็บรักษา (Storage condition) สภาวะจริง (Real Time study) ผลิตภัณฑบรรจุในภาชนะบรรจุที่ไอน้ําสามารถซึมผ#านเขา-ออกได อุณหภูมิ 30 + 2 องศาเซลเซียส/ ความชื้นสัมพัทธ 75 + 5% ผลิตภัณฑบรรจุในภาชนะบรรจุที่ไอน้ําไม#สามารถซึมผ#านเขา-ออกได อุณหภูมิ 30 + 2 องศาเซลเซียส สภาวะเร;ง (Accelerated study) อุณหภูมิ 40 + 2 องศาเซลเซียส/ ความชื้นสัมพัทธ 75 + 5% หากขอมูลที่ยื่นเป"นผลการทดสอบที่สภาวะที่เขมงวดนอยกว#าที่ระบุในตาราง เช#น 30องศาเซลเซียส / ความชื้นสัมพัทธ 65% ผูขอจะตองส#งเอกสาร/ขอมูลสนับสนุนทางวิทยาศาสตรประกอบการพิจารณาเพิ่มเติม ป•จจัยที่ตองพิจารณารวมถึงประเด็นดังนี้ - เกิดความไม#คงสภาพปรากฏใหเห็นหรือไม# - ขอมูลที่ยื่นนั้นเป"นผลการทดสอบภายใตสภาวะเร#งหรือไม# - ชนิดของภาชนะบรรจุ สามารถอนุญาตสภาวะการเก็บรักษาที่นอกเหนือจากที่ระบุในตารางไดหากมีเหตุผลสนับสนุน เพียงพอ เช#น • ผลิตภัณฑที่ไม#ทนต#อความรอนซึ่งควรเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํากว#าที่กําหนดไวในตาราง - ผลิตภัณฑประกอบดวยสารสําคัญที่ไม#คงตัว และสูตรไม#เหมาะสมที่จะเก็บรักษาที่อุณหภูมิที่สูงขึ้น (เช#น ยาเหน็บ) กรณีนี้ตองทําการศึกษาความคงสภาพแบบสภาวะจริง
  • 16. 16 - กรณีที่ทําการศึกษาที่อุณหภูมิต่ํา การศึกษาความคงสภาพแบบสภาวะเร#ง 6 เดือน ควรทําที่อุณหภูมิ อย#างนอย 15 องศาเซลเซียส สูงกว#าอุณหภูมิการเก็บรักษาจริงที่คาดไว (พรอมกับความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสม กับอุณหภูมินั้นๆ) ตัวอย#างเช#น กรณีผลิตภัณฑที่ตองเก็บในตูเย็นเป"นเวลานาน การทดสอบที่สภาวะเร#งควรทํา ที่ 25 + 2องศาเซลเซียส / ความชื้นสัมพัทธ 60% + 5% และตองระบุสภาวะการเก็บรักษาที่กําหนดใน การศึกษาแบบสภาวะจริงไวบนฉลากพรอมอายุการเก็บรักษา (วันหมดอายุ) ผลิตภัณฑซึ่งตองเก็บรักษาใน ตูเย็น สภาวะการเก็บรักษาที่แนะนําในการศึกษาความคงสภาพเป"นดังแสดงในตารางดานล#าง ตารางแสดงสภาวะการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา การศึกษา สภาวะการเก็บรักษา สภาวะตามจริง (Real Time study) อุณหภูมิ 5 + 3 องศาเซลเซียส สภาวะเร#ง (Accelerated study) อุณหภูมิ 25 + 2 องศาเซลเซียส / ความชื้นสัมพัทธ 60 + 5% • ผลิตภัณฑที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือเคมีที่อุณหภูมิต่ํา เช#น สารแขวนตะกอน (Suspension) หรืออิมัลชัน (Emulsion) ซึ่งอาจจะเกิดการตกตะกอนหรือแยกชั้น หรือผลิตภัณฑประเภทครีม น้ํามัน และของกึ่งแข็ง ซึ่งอาจส#งผลต#อความหนืดที่เพิ่มขึ้นได ขอมูลการศึกษาที่สภาวะเร#งสามารถใชในการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น นอกเหนือจากสภาวะที่ระบุไวบนฉลาก เช#น ในระหว#างการขนส#ง เป"นตน ขอมูลจากการศึกษาสภาวะเร#งและ สภาวะจริง สามารถใชเป"นหลักฐานสนับสนุนอายุการเก็บรักษาที่คาดคะเนไวเป"นการชั่วคราวได อย#างไรก็ตาม ในที่สุดแลว อายุการเก็บรักษาจริงควรขึ้นอยู#กับขอมูลการศึกษาความคงสภาพที่สภาวะจริงตามที่แนะนําไวบน ฉลาก 5. ภาชนะบรรจุ (Container closure system) ขอมูลการศึกษาความคงสภาพเพื่อใชประกอบการขึ้นทะเบียนตํารับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริม อาหาร ตองบรรจุอยู#ในภาชนะบรรจุปฐมภูมิที่ตั้งใจจะจําหน#ายต#อผูบริโภค รวมทั้งภาชนะบรรจุทุติยภูมิ ตาม ความเหมาะสม ผลิตภัณฑ5สําเร็จรูปที่บรรจุอยู;ในภาชนะบรรจุที่ไม;ยอมใหความชื้น กlาซซึมเขาออกได ไม;ตอง ทดสอบภายใตสภาวะที่มีความชื้นสัมพัทธ5สูง โดยทั่วไปภาชนะบรรจุที่ไม#ยอมใหความชื้น ก›าซซึมเขาออกได ไดแก# แผงบลิสเตอรอลูมิเนียม/ อลูมิเนียม (aluminum/aluminum blisters), ขวดพลาสติกชนิดไฮเดนซิตี้โพ ลีเอทธีลีน (High Density Polyethylene (HDPE)) หรือขวดแกวปzดดวยฝาโลหะหรือฝาพลาสติกชนิดไฮเดน ซิตี้โพลีเอทธีลีน สําหรับผลิตภัณฑ5ที่บรรจุในภาชนะบรรจุที่ยอมใหความชื้น กlาซซึมเขาออกได ควรศึกษาความคง สภาพภายใตสภาวะที่มีความชื้นสัมพัทธ5สูง เนื่องจากความชื้นอาจส#งผลเสียต#อความคงตัวทางกายภาพและ ทางเคมีของผลิตภัณฑสําเร็จรูปได ภาชนะบรรจุที่ยอมใหความชื้นสามารถผ#านเขาออกได ไดแก#แผงบลิสเตอร ชนิดพีวีซี ขวดพลาสติกชนิดไฮเดนซิตี้โพลีเอทธีลีน ขวดแกวหรือขวดพลาสติกชนิดไฮเดนซิตี้โพลีเอทธีลีนที่ปzด ดวยฝาพลาสติกชนิดอื่น เป"นตน
  • 17. 5 ขอบทที่ 6 การเฝSาระวังหลังผลิตภัณฑ5ออกสู;ตลาด ประเทศสมาชิกอาเซียนตองทําใหมั่นใจไดว#าการตรวจติดตามเฝrาระวังผลิตภัณฑหลังออกสู#ตลาดมีความพรอม ในการเตือนภัยล#วงหนาของเหตุการณไม#พึงประสงคใดๆ และ/หรือป•ญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยของ ผลิตภัณฑที่อาจเกิดขึ้น และตองใชมาตรการที่เหมาะสมเพื่อใหมั่นใจในความปลอดภัยของผูบริโภค ขอบทที่ 7 การกําหนดโครงสรางเพื่อการจัดการ 1. คณะกรรมการอาเซียนดานยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร (ในที่นี้จะเรียกว#า “เอทีเอ็มเอชเอสซี (ATMHSC)”) ไดรับการแต#งตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ 2. คณะกรรมการฯ ตองจัดทําและนําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการไปใช 3. ในแง#ของการดําเนินการตามบทบาทหนาที่ คณะกรรมการฯ ตองตัดสินโดยฉันทามติ และตองรับผิดชอบ ดังนี้ ก) การประสานงาน การทบทวน และตรวจสอบการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ ข) การทบทวน และปรับปรุงภาคผนวกต#างๆ ของความตกลงฯ โดยไม#ตองแกไขขอกําหนดภายใต ขอตกลงฯ 4. คณะกรรมการฯ ตองประกอบดวยผูแทนอย#างเป"นทางการจากหน#วยงานกํากับดูแลของแต#ละประเทศ สมาชิก ผูแทนนี้อาจมาพรอมกับคณะผูแทนในการประชุม เอทีเอ็มเอชเอสซี 5. คณะกรรมการฯ อาจแต#งตั้งคณะทํางานวิชาการตามความเหมาะสม เพื่อใหความช#วยเหลือและให คําแนะนําดานเทคนิคหรือวิชาการในการเชื่อมโยงกับการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ คณะทํางานวิชาการ ตองจัดทําหลักเกณฑและวิธีการดําเนินงานของตนขึ้น และผ#านความเห็นชอบโดยคณะกรรมการฯ 6. สมาคมอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณอาเซียนอาจไดรับเชิญใหเขาร#วมประชุมคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี โดยปรึกษาหารือประเด็นที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม ยาแผนโบราณ 7. เลขานุการอาเซียนตองใหการสนับสนุนแก#คณะกรรมการฯ ในการประสานงานและการตรวจสอบการ ดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 8. คณะกรรมการฯ โดยการสนับสนุนของเลขานุการอาเซียน ตองรายงานความกาวหนาของการดําเนินการ ตามความตกลงฯ อย#างสม่ําเสมอ ต#อคณะกรรมการที่ปรึกษาอาเซียนดานมาตรฐานและคุณภาพ (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality, ACCSQ) ซึ่งอาจใหคําแนะนําดานแนวนโยบาย และขอเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินการตามความตกลงฯ
  • 18. 18 ระดับการกล;าวอาง เอกสารสนับสนุน (1) การใชเพื่อดูแลสุขภาพตามองคความรูแพทยแผน โบราณ (Traditional Health Use) เช#น บํารุง ร#างกาย เอกสารอางอิงการใชมาแต#โบราณหรือประวัติการใช เช#น - ตํารายาแผนโบราณ - เภสัชตํารับและโมโนกราฟ - ตําราวิชาการ/วารสาร (2) การใชเพื่อรักษาโรคตามองคความรูแพทยแผน โบราณ (Traditional Treatment) เช#น แกไข เอกสารอางอิงการใชมาแต#โบราณหรือประวัติการใช เช#น - ตํารายาแผนโบราณ - เภสัชตํารับและโมโนกราฟ - ตําราวิชาการ/วารสาร (3) การใชเพื่อรักษาโรคตามหลักฐานทางวิทยาศาสตร (Scientifically Established Treatment) แต#มี ความสัมพันธกับการแพทยแผนโบราณ เช#น รักษา ความดันโลหิตสูง ลดระดับน้ําตาลในเลือด เอกสารสนับสนุนที่ตองยื่น - หลักฐานทางวิทยาศาสตรของวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ ขึ้นกับการพิจารณาของเจาหนาที่ เอกสารสนับสนุนเพิ่มเติมอย#างนอย 1 ชิ้น เอกสารอางอิงการใชมาแต#โบราณหรือประวัติการใช เช#น - ตํารายาแผนโบราณ - เภสัชตํารับและโมโนกราฟ - ตําราวิชาการ/วารสาร ภาคผนวก ซ – แนวทางอาเซียนว;าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ5 เสริมอาหาร แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร สรุป โดยสังเขป ดังนี้ 1. ฉลากทั่วไป 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ ชื่อตรา (หากมี) 1.2 รูปแบบผลิตภัณฑ (Dosage form) เช#น เม็ด แคปซูล 1.3 ชื่อและปริมาณของส#วนประกอบสําคัญ - หากเป"นพืชหรือสัตว ใหแจงชื่อวิทยาศาสตรพรอมส#วนที่ใช เช#น เหงาขมิ้นชัน Curcuma longa (Rhizome) 350 mg -หากเป"นวิตามินหรือแร#ธาตุ ใหแจงเป"นชื่อสามัญหรือชื่อทางเคมี 1.4 รุ#นการผลิต (Batch or Lot number) 1.5 วันที่ผลิตและวันที่หมดอายุ หรือเฉพาะวันที่หมดอายุ (Manufacturing and expiry date or Expiry date only) 1.6 วิธีใช (Directions of use)
  • 19. 19 1.7 วัตถุประสงคการใช / ขอบ#งใช (Indication or Intended use) 1.8 การเก็บรักษา เช#น เก็บที่อุณหภูมิไม#เกิน 30 องศาเซลเซียส 1.9 สัญลักษณ ตัวอักษร เลขทะเบียนที่ผ#านการอนุญาตจากหน#วยงานกํากับดูแลของประเทศสมาชิก อาเซียน 1.10 ชื่อและที่ตั้งผูผลิต 1.11 ชื่อและที่ตั้งผูนําเขา 1.12 ขอควรระวัง (ถามี) เช#น หามใชในผูที่เป"นโรคลมชัก 1.13 ขนาดบรรจุ ระบุเป"นระบบเมตริก 1.14 ขอกําหนดเฉพาะของแต#ละประเทศ (Country Specific requirements) 2. ฉลากขนาดเล็ก และฉลากแผง 2.1 ชื่อผลิตภัณฑ ชื่อตรา (หากมี) 2.2 สัญลักษณ ตัวอักษร เลขทะเบียนที่ผ#านการอนุญาตจากหน#วยงานกํากับดูแลของประเทศสมาชิก อาเซียน 2.3 รุ#นการผลิต (Batch or Lot number) 2.4 วันที่ผลิตและวันที่หมดอายุ หรือเฉพาะวันที่หมดอายุ (Manufacturing and expiry date or Expiry date only) 2.5 ขอมูลอื่นๆ ที่ตองระบุในฉลากทั่วไปควรระบุไวในเอกสารกํากับยาหรือใบแนบ และ/หรือภาชนะบรรจุ หรือฉลากชั้นนอก 2.6 ขอกําหนดเฉพาะของแต#ละประเทศ (Country Specific requirements)
  • 20. 1 แบบสํารวจความคิดเห็นที่มีต;อความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ ส;วนที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. ชื่อ-สกุล . 2. อายุ . 3. เพศ ชาย หญิง 4. การศึกษาสูงสุด ต่ํากว#าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 5. ท#านเป"น ผูบริโภค ผูประกอบการ (ผลิต/นําเขา) ผูทํางานภาครัฐ โปรดระบุ . ผูทํางานภาคการศึกษา โปรดระบุ . ผูทํางานหน#วยงานวิจัย โปรดระบุ . ผูประกอบวิชาชีพ (เช#น เภสัชกรแผนโบราณ แพทยแผนโบราณ) โปรดระบุ . เจาหนาที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด เจาหนาที่องคกรอิสระ อื่นๆ โปรดระบุ . กรณีท#านเป"นผูประกอบการ กรุณาตอบคําถามขอ 6-9 หากไม#ใช#กรุณาขามไปตอบคําถามขอ 10 6. ความเกี่ยวของของท#านกับสถานประกอบการ เจาของ ผูบริหาร หุนส#วน พนักงาน ตําแหน#ง อื่นๆ . 7. ชื่อและที่ตั้งสถานประกอบการผลิต / นําเขา . 8. สถานที่ผลิตยาแผนโบราณของท#านไดรับการรับรองระบบการผลิตใดบาง ไดรับการรับรอง WHO GMP ไดรับการรับรอง ASEAN GMP ไดรับการรับรอง GMP ป˜ 2548 ยังไม#ไดรับการรับรองมาตรฐานใดๆ
  • 21. 2 9. ป•จจุบันสถานประกอบการของท#านมีมูลค#ายอดขายรวมต#อป˜ ประมาณเท#าใด ต่ํากว#า 1,000,000 บาท ต#อป˜ 1,000,001 – 5,000,000 บาท ต#อป˜ 5,000,001 – 20,000,000 บาท ต#อป˜ มากกว#า 20,000,000 บาท ต#อป˜ 9.1 ขอมูลการผลิต นําเขา และส#งออก 9.1.1 ลักษณะการประกอบการของท#าน (เลือกตอบไดมากกว#า 1 ขอ) ผูผลิต มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜ ผูนําเขา มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜ ส#งออก มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜ จําหน#ายในประเทศ มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜ อื่นๆ โปรดระบุ_________________ มูลค#าทั้งหมด____________________บาท/ป˜ 9.1.2 ในกรณีที่ท#านมีการส#งออก สัดส#วนมูลค#าการส#งออกไปยังภูมิภาคอาเซียน : นอกภูมิภาคอาเซียน (เช#น 70:30)_____________ 10. ท#านทราบเกี่ยวกับการจัดทําความตกลงและปรับประสานขอกําหนดดานมาตรฐานและคุณภาพของ ผลิตภัณฑเสริมอาหารของกลุ#มประเทศสมาชิกอาเซียน มาก#อนการประชุมครั้งนี้หรือไม# หากทราบมาก#อน ท#านทราบจากที่ใด ทราบมาก#อน จาก (เลือกไดมากกว#า 1 ขอ) การประชุมที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจัด สมาคมผูผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร อื่นๆ . ไม#ทราบ
  • 22. 6 ขอบทที่ 8 กรณีพิเศษ 1. ประเทศสมาชิกอาจหามการจําหน#ายยาแผนโบราณในแต#ละประเทศสมาชิก เนื่องจากเหตุผลเฉพาะเพื่อการ ปกปrองชีวิตสัตวหรือพันธุพืช สิ่งแวดลอม และความอ#อนไหวทางศาสนาหรือวัฒนธรรม 2. ประเทศสมาชิกที่หามการจําหน#ายหรือมีขอจํากัดต#อยาแผนโบราณนั้นตองแจงใหประเทศสมาชิกอื่นๆ ทราบพรอมเหตุผลของการดําเนินมาตรการดังกล#าว พรอมกันนี้ ใหสําเนาถึงคณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี และเลขานุการอาเซียนดวย . ขอบทที่ 9 การนําไปปฏิบัติ ประเทศสมาชิกตองดําเนินมาตรการที่เหมาะสมในการปฏิบัติตามความตกลงฯ นี้ ขอบทที่ 10 การระงับขอพิพาท พิธีสารว#าดวยกลไกการระงับขอพิพาท ซึ่งลงนามเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 (ค.ศ.2009) ที่เมือง เวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และฉบับที่แกไข จะถูกนํามาปรับใชกับขอพิพาทใดๆ ที่ เกิดจากการตีความหรือการดําเนินการตามความตกลงฯ นี้ ขอบทที่ 11 ภาคผนวก ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ ตองกําหนดขึ้นเป"นส#วนหนึ่งและไม#สามารถแยกออกจากความตกลงฯ นี้ ขอบทที่ 12 การทบทวน การเปลี่ยนแปลง และการแกไข 1 บทบัญญัติทั้งหมดหรือบางส#วนของความตกลงฯ นี้ อาจมีการทบทวน ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติมโดย ความตกลงที่เป"นลายลักษณอักษรของประเทศสมาชิกทุกประเทศ 2 แมว#าจะมีวรรค 1 ของขอบทนี้แลว ภาคผนวกของความตกลงฯ นี้ อาจมีการแกไขภายใตการรับรองของ คณะกรรมการเอทีเอ็มเอชเอสซี 3 การแกไข เปลี่ยนแปลง หรือแกไขเพิ่มเติมใดๆ ตองไม#กระทบต#อสิทธิและหนาที่ที่เกิดขึ้นจากความตกลงฯ นี้ หรือขึ้นกับความตกลงฯ นี้ ก#อนและจนถึงวันที่ทําการแกไข ปรับเปลี่ยน หรือแกไขเพิ่มเติม .
  • 23. 4 ความตกลงอาเซียนดานยาแผนโบราณ เห็นดวย ไม;เห็นดวย เหตุผล/ความคิดเห็น ค-2. ขอกําหนดการปนเป‰Šอนเชื้อจุลินทรีย ค-3. ขอกําหนดสารกําจัดศัตรูพืชและสาร กําจัดแมลง ภาคผนวก ง แนวทางการลดความเสี่ยงของ โรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ เสริมอาหาร ภาคผนวก จ แนวทางอาเซียนว#าดวย การศึกษาความคงสภาพและอายุการเก็บ รักษาของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ เสริมอาหาร ภาคผนวก จ-2 หากในระยะเริ่มตน อย. จะกําหนดเกณฑ การยื่นส#งเอกสารการขึ้นทะเบียนยาแผน โบราณตามขอกําหนดอาเซียนตามความ เสี่ยงของผลิตภัณฑ เช#น แบ#งเป"น 1. ยาพัฒนาจากสมุนไพร 2. ยาเดี่ยวที่การจะแสดงสรรพคุณที่ฉลาก ตองมีการควบคุมคุณภาพ เช#น ฟrาทะลาย โจรสําหรับบรรเทาอาการทองเสียจากไม#ติด เชื้อ หรือกรณีตองการแสดงปริมาณ สารสําคัญที่ฉลาก 3. ยาเดี่ยวที่ไม#สามารถหาสารสําคัญได/ยา ตํารับ (สูตรผสม) 4. ยาใชภายนอก ภาคผนวก ฉ แนวทางอาเซียนว#าดวยการ แสดงหลักฐานเพื่อพิสูจนความปลอดภัย ของยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริม อาหาร ภาคผนวก ฌ แนวทางอาเซียนว#าดวยการ กล#าวอางสรรพคุณและการแสดงหลักฐาน เพื่อพิสูจนประสิทธิผลของยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑเสริมอาหาร ภาคผนวก ซ แนวทางอาเซียนว#าดวยขอ กําหนดการแสดงฉลากสําหรับยาแผน โบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร
  • 24. 5 กรณีที่ท;านเป^นผูประกอบการ ท#านสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดอาเซียน ในแต#ละภาคผนวก ไดหรือไม#อย#างไร ภาคผนวก สามารถ ปฏิบัติได ไม;สามารถ ปฏิบัติได เหตุผล/ความคิดเห็น ส;วนที่ 3 ขอคิดเห็นต;อภาคผนวกของยาแผนโบราณ ภาคผนวก ก หลักการทั่วไป ของอาเซียนที่ใชเป"นแนวทางใน การพิจารณาการรวมเขาไวหรือ ตัดออกจากบัญชีสารสําคัญที่ หามใชในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร ภาคผนวก ข หลักการทั่วไป ของอาเซียนว#าดวยการใชวัตถุ เจือปนและสารปรุงแต#งในยา แผนโบราณและผลิตภัณฑเสริม อาหาร ภาคผนวก ค แนวทางอาเซียนว#าดวยขอกําหนดของสิ่งปนเป‰Šอน (โลหะหนัก จุลินทรีย และสารกําจัดแมลง) สําหรับ ยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร ค-1. ขอกําหนดชนิดและ ปริมาณโลหะหนักตกคาง ค-2. ขอกําหนดการปนเป‰Šอน เชื้อจุลินทรีย ค-3. ขอกําหนดสารกําจัด ศัตรูพืชและสารกําจัดแมลง ภาคผนวก ง แนวทางการลดความเสี่ยงของโรคทีเอสอีในยาแผนโบราณและผลิตภัณฑเสริมอาหาร ง -1 สามารถปฏิบัติตามแนว ทางการลดความเสี่ยงของโรคที เอสอีในยาแผนโบราณและ ผลิตภัณฑเสริมอาหารดังกล#าว ขางตน ง -2 ประเด็นการยื่นเอกสาร รับรองวัตถุดิบที่นํามาใชใน กระบวนการผลิต เช#น แคปซูล เพื่อพิสูจนว#าไม#มีความเสี่ยงของ