SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
อ.ศรีประไพ ปาจรียานนท์
หลักสูตร
การควบคุมสารก่อภูมิแพ้
ในอุตสาหกรรมอาหาร
Copyrightby Sri
ทําไมต้อง ควบคุมสารก่อภูมิแพ้
• เพราะโรคภูมิแพ ้อาหารมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นและรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต การรักษาทําได ้โดย
หลีกเลี่ยงอาหารที่แพ ้เท่านั้น
• เพราะมี ข ้อกําหนด กฎหมายที่ว่าด ้วยการแสดงฉลากสารก่อภูมิแพ ้ในสินค ้าอาหารประเภท
ต่างๆ ออกมาทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น ประกาศกระทรวง ฉบับที่ 367 พ.ศ. 2557
เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ หรือ ของยุโรป (EU) No 1169/2011
• เพราะมาตรฐานรับรองต่างๆ มีข ้อกําหนดที่เกี่ยวกับการควบคุมสารก่อภูมิแพ ้ เช่น BRC Food
issue 7 , FSSC22000 version 4.1
• ข ้อกําหนดของลูกค ้าต่างๆ
sp_new@yahoo.com
2
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
ทําไมต้อง ควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
อะไรคืออาหารก่อภูมิแพ้ ?
ขึ้นอยู่กับกฎหมายของแต่ประเทศที่ สินค ้าของท่านจะวางขาย ?
• สําหรับประเทศไทย ฉบับที่ 367 พ.ศ. 2557
• สําหรับ EU
• สําหรับอเมริกา
• สําหรับญี่ปุ่ น
• สําหรับเกาหลี
sp_new@yahoo.comCopyrightby Sri
3
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ขั้นตอนที่ 1 ดําเนินการดังนี้
1. สํารวจ หาข ้อมูล และสรุปว่า ระเบียบ/กฎหมาย/ข ้อกําหนดต่าง ของประเทศที่เราส่งสินค ้าจําหน่ายมีที่
ไหนบ ้าง และเขากําหนดเรื่อง สารก่อภูมิแพ ้ไว ้อย่างไร เช่น
• สําหรับประเทศไทย ปกส. ฉบับที่ 367 พ.ศ. 2557
• สําหรับ EU ?
• สําหรับอเมริกา ?
• สําหรับญี่ปุ่ น ?
• สําหรับเกาหลี ?
2. สํารวจ หาข ้อมูล และสรุปว่า ลูกค ้าเรามีข ้อกําหนดอะไรเพิ่มเติม จากที่กฎหมายกําหนดในเรื่องสารก่อภูมิ
อีกหรือไม่
3. สํารวจ หาข ้อมูล และสรุปว่า ระเบียบ/กฎหมาย/ข ้อกําหนดต่าง ของประเทศที่ผลิตสินค ้า จําหน่ายมีที่ไหน
บ ้าง และเขากําหนดเรื่อง สารก่อภูมิแพ ้ไว ้อย่างไร
สรุป : เราจะได ้รายการที่บังคับโดยกฎหมาย ลูกค ้า และประเทศที่ผลิต เรารู้ล่ะต ้องคุม สารก่อภูมิแพ ้อะไร ถั่ว
งา นม ไข่
Copyrightby Sri sp_new@yahoo.com
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
4
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 2 การประเมินวัตถุดิบดําเนินการดังนี้
ผู้ที่เกี่ยวข ้องกับการนํา ส่วนผสม วัตถุดิบเข ้ามาในโรงงาน ไม่ว่าจะเป็น จัดซื้อ ฝ่ าย R& D
ทําการสํารวจ สารก่อภูมิแพ ้จากผู้ที่จําหน่ายให ้กับโรงงาน ท่าน
ตัวอย่างแบบฟอร์มForm No 1 allergen survey
Form No.1
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 3 ทะเบียนของสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้
ผู้รับผิดชอบ ดําเนินการสรุปว่า วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆที่ ท่านนําเข ้าในโรงงานมีอะไรบ ้าง
ที่เป็นสารก่อภูมิแพ ้
Form No. 2
5
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 4 การประเมินความเสี่ยงสําหรับการปนเปื้อนข้าม ดําเนินการดังนี้
• เอกสารการประเมินความเสี่ยงต ้องบ่งชี้เส ้นทางการปนเปื้อนและกําหนดนโยบาย
และระเบียบปฎิบัติที่เป็นเอกสารสําหรับการจัดการวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ระหว่าง
กระบวนการ และผลิตภัณฑ์สุดท ้าย เพื่อมั่นใจว่าไม่มีการปนเปื้อน ต ้อง
ประกอบด ้วย
• การพิจารณาสภาพแวดล ้อมทางกายภาพของสารก่อภูมิแพ ้เช่น เป็นผง ของเหลว
หรือเป็นส่วนของผสม
• การบ่งชี้จุดที่สามารถปนเปื้อนข ้ามได ้ตลอดกระบวนการผลิต
• การประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนข ้ามของสารก่อภูมิแพ ้แต่ละขั้นตอน
• การบ่งชี้ที่เหมาะสมต่อการลด หรือกําจัดการปนเปื้อนข ้าม
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
CCP 3.1 P)
CCP 2.2(P)CCP2.1(P)
CCP 1.6(P)CCP 1.2(P)
P4
P3
P2
1.1 Raw Material
2. R/M Receiving
3. Storage
8. Batching
17.Packing in plastic bag /
paper bag
15. Magnetic Trap
18. Weighing & Sealing
19.Metal Detector
24. Storage
25.Loading
26. Delivery
If %Salt /CO2/
Sensory Test
out of Spec
Packaging
material
PM Receiving
PM Storage
PM
Preparation
D : Process Flowchart of Coating System with Breadcrumb
P1
Verified by ………………………………………
Production Manager
Date ………………
14. Blending
12.Mixing
13.2 S30
mesh13.1 S50
mesh
Particle size
13.3 S20
mesh
13.4 S16
mesh
13.5 S10
mesh
Type of R/M
13.6 S5
mm.
Particle size
16.1 S10
mesh
16.2 S16
mesh
No Seive
30
20
After add breadcrumb/Flake RM
50
CCP 1.3 (P) CCP 1.4(P) CCP 1.5(P)
23. palletizing
1.2 Process
spices(A)
1.3 Process
spices mix
(B)
If need sieve
Re-blend with breadcrumb
Type of Metal detector
20. Metal detector
21. Packing
22. Weighing & Sealing
CCP 3.2(P)
Off line In line
4. Fumigating
6. Weighing
5. Grinding
7. R/M Oven Baking
Need Oven Baking
13.7 50x20
mm.
CCP 1.7(P)
11.1 Sieve 20
mesh
11.2 Sieve 50
mesh
16.3 S20
mesh
CCP 2.3 (P)
Sieving
Need Premix
CCP 1.1(P)
CCP1.3 (P)
Type of Packing
G
Small Pack
Type of R/M/
Particle size
Big Bag
H
10. Reprocess
9. Tipping
CCP 1.1(P)
6
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 5 ขั้นตอนที่ปนเปื้อนข้าม ดําเนินการดังนี้
• เอกสารระเบียบปฏิบัติการควบคุมต ้องมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันปนเปื้อนข ้ามไปสู่
ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีสารก่อภูมิแพ ้ดังกล่าว ต ้องประกอบด ้วย
• การจัดแยกเวลาหรือการแยกออกจากกันทางกายภาพ ในบริเวณจัดเก็บ ผลิต และบรรจุวัตถุที่
มีส่วนผสมของสารที่ก่อให ้เกิดการแพ ้
• การแบ่งแยกอุปกรณ์ เสื้อผ ้า หรือเสื้อคลุมในการจัดการสารก่อภูมิแพ ้
• การบ่งชี้ กําหนดความจําเพาะของอุปกรณ์ และเครื่องมือสําหรับกระบวนการผลิต
• การกําหนดตารางการผลิตที่ลดการเปลี่ยนแปลงระหว่างผลิตภัณฑ์ที่มีสารก่อภูมิแพ ้และไม่มี
• ระบบการจํากัดการฟุ้งกระจายของสารก่อภูมิแพ ้
• การจัดการของเสียและการทําหกกระจาย
• การจํากัดอาหารที่นํามาจากพนักงาน ผู้เยี่ยมชม ผู้รับเหมาช่วง และร ้านค ้า
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 6 การทําซํ้า ดําเนินการดังนี้
• เมื่อมีการทําการผลิตใหม่ ต ้องมีระเบียบปฏิบัติสําหรับกระบวนการนํามาผลิตใหม่ เพื่อลด
ความเสี่ยงในการปนเปื้อนข ้ามจากวัตถุที่มีส่วนผสมของสารที่ก่อให ้เกิดการแพ ้
• และมั่นใจได ้ในความปลอดภัย ความถูกต ้องตามกฎหมายและคุณภาพของผลิตภัณฑ์
7
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 7 การติดแจ้งเตือนบนฉลาก ดําเนินการดังนี้
• หากธรรมชาติของกระบวนการผลิตไม่สามารถควบคุมการปนเปื้อนข ้ามของสารก่อภูมิแพ ้
ได ้บนฉลากต ้องมีการระบุสารภูมิแพ ้ดังกล่าว
• แนวทางการปฏิบัติระดับนานาชาติหรือหลักการปฏิบัติต ้องใช ้เป็นหลักการเพื่อระบุคํา
เตือนดังกล่าว
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 8 การกล่าวอ้าง สารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้
• เมื่อมีการอ ้างอิงเกี่ยวกับความเหมาะสมของอาหารสําหรับสารก่อภูมิแพ ้องค์กรต ้อง
มั่นใจว่ากระบวนการผลิตได ้รับการตรวจพิสูจน์ยืนยันอย่างสมบูรณ์ว่ามีความสอดคล ้อง
กับการอ ้างอิงดังกล่าว
• และต ้องมีการจัดเก็บทําเป็นเอกสารไว ้
8
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 9 การทําความสะอาดสําหรับการผลิตสินค้าที่มีส่วนประกอบ
ของสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้
อุปกรณ์เครื่องมือ หรือพื้นที่ต ้องออกแบบเพื่อกําจัดหรือลดระดับความเสี่ยงการปนเปื้อน
สารก่อภูมิแพ ้
วิธีการทําความสะอาดต ้องพิสูจน์ยืนยันและขั้นตอนการทวนสอบต ้องทําเป็นประจํา
อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช ้ในการทําความสะอาด ต ้องมีการบ่งชี้ว่าใช ้กับสารก่อภูมิแพ ้ตัวไหน
ใช ้เฉพาะตัว หรือประสิทธิภาพความสะอาดหลังใช ้
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 9 การทําความสะอาดสําหรับการผลิตสินค้าที่มีส่วนประกอบ
ของสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้
แบบฟอร์มตัวอย่าง Form 4
Form 4 Validated
record
9
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
Copyrightby Sri
sp_new@yahoo.com
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
Copyrightby Sri
sp_new@yahoo.com
R5 sandwich ELISA (Mendez method), R5 ELISA (competitive ELISA)
การตรวจสอบอาหารก่อภูมิแพ ้ตกค้าง Food
Allergens โดยวิธี ELISA อย่างเฉพาะเจาะจง
ในการหาปริมาณโปรตีนชนิดที่ก่อภูมิแพ ้ใน
อาหาร และ ยังใช ้เป็น Clean Validation ร่วมกับ
การ Swab เพื่อตรวจความสะอาดภาชนะอุปกรณ์
หรือ พื้นผิวที่สัมผัสอาหาร
10
Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 ,
Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
Copyrightby Sri
เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
sp_new@yahoo.com
ลําดับที่ 10 การฝึกอบรมเรื่องสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้
บุคลากรที่เกี่ยวข ้องทั้งหมดรวม ถึงพนักงานชั่วคราวและ ผู้รับเหมาจ ้าง ต ้อง ได ้รับการ
อบรม
1. ความตระหนักทั่วไปต่อสารก่อภูมิแพ ้
2. ฝึกอบรมภายในองค์กรถึงขั้นตอนการดูแลสารก่อภูมิแพ ้
ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อได้ที่
Address: Sriprapai Pajareeyanont
70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit
Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.
Tel: 08-91260415
Fax: 0-28738349
Email: sp_new@yahoo.com
Web: https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard
อ.ศรีประไพ ปาจรียานนท์

More Related Content

What's hot

Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังPhisitasak Wisatsukun
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
APQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality PlanningAPQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality PlanningNukool Thanuanram
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพRonnarit Junsiri
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 
โครงงานไซเรน
โครงงานไซเรนโครงงานไซเรน
โครงงานไซเรนWichai Likitponrak
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังPhisitasak Wisatsukun
 

What's hot (20)

Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
APQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality PlanningAPQP: Advanced Product/Project Quality Planning
APQP: Advanced Product/Project Quality Planning
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
Pest control
Pest controlPest control
Pest control
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Presentation haccp
Presentation haccpPresentation haccp
Presentation haccp
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
โครงงานไซเรน
โครงงานไซเรนโครงงานไซเรน
โครงงานไซเรน
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
 

Similar to Allergen control course by aj.sriprapai

แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556Vorawut Wongumpornpinit
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักZiwapohn Peecharoensap
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
มาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otopมาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า OtopWatcharee Phetwong
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่มI'Mah Sunshine
 
โครงงานกลุ่มที่ 7
โครงงานกลุ่มที่ 7โครงงานกลุ่มที่ 7
โครงงานกลุ่มที่ 70892827602
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 

Similar to Allergen control course by aj.sriprapai (14)

แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)
 
มาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otopมาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otop
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับGmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับ
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
 
Sample audit frequency risk assessment
Sample audit frequency risk assessmentSample audit frequency risk assessment
Sample audit frequency risk assessment
 
โครงงานกลุ่มที่ 7
โครงงานกลุ่มที่ 7โครงงานกลุ่มที่ 7
โครงงานกลุ่มที่ 7
 
โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.docโครงงานกลุ่มที่ 7.doc
โครงงานกลุ่มที่ 7.doc
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 

Allergen control course by aj.sriprapai

  • 1. 1 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard อ.ศรีประไพ ปาจรียานนท์ หลักสูตร การควบคุมสารก่อภูมิแพ้ ในอุตสาหกรรมอาหาร Copyrightby Sri ทําไมต้อง ควบคุมสารก่อภูมิแพ้ • เพราะโรคภูมิแพ ้อาหารมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นและรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต การรักษาทําได ้โดย หลีกเลี่ยงอาหารที่แพ ้เท่านั้น • เพราะมี ข ้อกําหนด กฎหมายที่ว่าด ้วยการแสดงฉลากสารก่อภูมิแพ ้ในสินค ้าอาหารประเภท ต่างๆ ออกมาทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น ประกาศกระทรวง ฉบับที่ 367 พ.ศ. 2557 เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ หรือ ของยุโรป (EU) No 1169/2011 • เพราะมาตรฐานรับรองต่างๆ มีข ้อกําหนดที่เกี่ยวกับการควบคุมสารก่อภูมิแพ ้ เช่น BRC Food issue 7 , FSSC22000 version 4.1 • ข ้อกําหนดของลูกค ้าต่างๆ sp_new@yahoo.com
  • 2. 2 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri ทําไมต้อง ควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com อะไรคืออาหารก่อภูมิแพ้ ? ขึ้นอยู่กับกฎหมายของแต่ประเทศที่ สินค ้าของท่านจะวางขาย ? • สําหรับประเทศไทย ฉบับที่ 367 พ.ศ. 2557 • สําหรับ EU • สําหรับอเมริกา • สําหรับญี่ปุ่ น • สําหรับเกาหลี sp_new@yahoo.comCopyrightby Sri
  • 3. 3 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ขั้นตอนที่ 1 ดําเนินการดังนี้ 1. สํารวจ หาข ้อมูล และสรุปว่า ระเบียบ/กฎหมาย/ข ้อกําหนดต่าง ของประเทศที่เราส่งสินค ้าจําหน่ายมีที่ ไหนบ ้าง และเขากําหนดเรื่อง สารก่อภูมิแพ ้ไว ้อย่างไร เช่น • สําหรับประเทศไทย ปกส. ฉบับที่ 367 พ.ศ. 2557 • สําหรับ EU ? • สําหรับอเมริกา ? • สําหรับญี่ปุ่ น ? • สําหรับเกาหลี ? 2. สํารวจ หาข ้อมูล และสรุปว่า ลูกค ้าเรามีข ้อกําหนดอะไรเพิ่มเติม จากที่กฎหมายกําหนดในเรื่องสารก่อภูมิ อีกหรือไม่ 3. สํารวจ หาข ้อมูล และสรุปว่า ระเบียบ/กฎหมาย/ข ้อกําหนดต่าง ของประเทศที่ผลิตสินค ้า จําหน่ายมีที่ไหน บ ้าง และเขากําหนดเรื่อง สารก่อภูมิแพ ้ไว ้อย่างไร สรุป : เราจะได ้รายการที่บังคับโดยกฎหมาย ลูกค ้า และประเทศที่ผลิต เรารู้ล่ะต ้องคุม สารก่อภูมิแพ ้อะไร ถั่ว งา นม ไข่ Copyrightby Sri sp_new@yahoo.com เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้
  • 4. 4 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 2 การประเมินวัตถุดิบดําเนินการดังนี้ ผู้ที่เกี่ยวข ้องกับการนํา ส่วนผสม วัตถุดิบเข ้ามาในโรงงาน ไม่ว่าจะเป็น จัดซื้อ ฝ่ าย R& D ทําการสํารวจ สารก่อภูมิแพ ้จากผู้ที่จําหน่ายให ้กับโรงงาน ท่าน ตัวอย่างแบบฟอร์มForm No 1 allergen survey Form No.1 Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 3 ทะเบียนของสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้ ผู้รับผิดชอบ ดําเนินการสรุปว่า วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆที่ ท่านนําเข ้าในโรงงานมีอะไรบ ้าง ที่เป็นสารก่อภูมิแพ ้ Form No. 2
  • 5. 5 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 4 การประเมินความเสี่ยงสําหรับการปนเปื้อนข้าม ดําเนินการดังนี้ • เอกสารการประเมินความเสี่ยงต ้องบ่งชี้เส ้นทางการปนเปื้อนและกําหนดนโยบาย และระเบียบปฎิบัติที่เป็นเอกสารสําหรับการจัดการวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ระหว่าง กระบวนการ และผลิตภัณฑ์สุดท ้าย เพื่อมั่นใจว่าไม่มีการปนเปื้อน ต ้อง ประกอบด ้วย • การพิจารณาสภาพแวดล ้อมทางกายภาพของสารก่อภูมิแพ ้เช่น เป็นผง ของเหลว หรือเป็นส่วนของผสม • การบ่งชี้จุดที่สามารถปนเปื้อนข ้ามได ้ตลอดกระบวนการผลิต • การประเมินความเสี่ยงการปนเปื้อนข ้ามของสารก่อภูมิแพ ้แต่ละขั้นตอน • การบ่งชี้ที่เหมาะสมต่อการลด หรือกําจัดการปนเปื้อนข ้าม Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com CCP 3.1 P) CCP 2.2(P)CCP2.1(P) CCP 1.6(P)CCP 1.2(P) P4 P3 P2 1.1 Raw Material 2. R/M Receiving 3. Storage 8. Batching 17.Packing in plastic bag / paper bag 15. Magnetic Trap 18. Weighing & Sealing 19.Metal Detector 24. Storage 25.Loading 26. Delivery If %Salt /CO2/ Sensory Test out of Spec Packaging material PM Receiving PM Storage PM Preparation D : Process Flowchart of Coating System with Breadcrumb P1 Verified by ……………………………………… Production Manager Date ……………… 14. Blending 12.Mixing 13.2 S30 mesh13.1 S50 mesh Particle size 13.3 S20 mesh 13.4 S16 mesh 13.5 S10 mesh Type of R/M 13.6 S5 mm. Particle size 16.1 S10 mesh 16.2 S16 mesh No Seive 30 20 After add breadcrumb/Flake RM 50 CCP 1.3 (P) CCP 1.4(P) CCP 1.5(P) 23. palletizing 1.2 Process spices(A) 1.3 Process spices mix (B) If need sieve Re-blend with breadcrumb Type of Metal detector 20. Metal detector 21. Packing 22. Weighing & Sealing CCP 3.2(P) Off line In line 4. Fumigating 6. Weighing 5. Grinding 7. R/M Oven Baking Need Oven Baking 13.7 50x20 mm. CCP 1.7(P) 11.1 Sieve 20 mesh 11.2 Sieve 50 mesh 16.3 S20 mesh CCP 2.3 (P) Sieving Need Premix CCP 1.1(P) CCP1.3 (P) Type of Packing G Small Pack Type of R/M/ Particle size Big Bag H 10. Reprocess 9. Tipping CCP 1.1(P)
  • 6. 6 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 5 ขั้นตอนที่ปนเปื้อนข้าม ดําเนินการดังนี้ • เอกสารระเบียบปฏิบัติการควบคุมต ้องมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันปนเปื้อนข ้ามไปสู่ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีสารก่อภูมิแพ ้ดังกล่าว ต ้องประกอบด ้วย • การจัดแยกเวลาหรือการแยกออกจากกันทางกายภาพ ในบริเวณจัดเก็บ ผลิต และบรรจุวัตถุที่ มีส่วนผสมของสารที่ก่อให ้เกิดการแพ ้ • การแบ่งแยกอุปกรณ์ เสื้อผ ้า หรือเสื้อคลุมในการจัดการสารก่อภูมิแพ ้ • การบ่งชี้ กําหนดความจําเพาะของอุปกรณ์ และเครื่องมือสําหรับกระบวนการผลิต • การกําหนดตารางการผลิตที่ลดการเปลี่ยนแปลงระหว่างผลิตภัณฑ์ที่มีสารก่อภูมิแพ ้และไม่มี • ระบบการจํากัดการฟุ้งกระจายของสารก่อภูมิแพ ้ • การจัดการของเสียและการทําหกกระจาย • การจํากัดอาหารที่นํามาจากพนักงาน ผู้เยี่ยมชม ผู้รับเหมาช่วง และร ้านค ้า Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 6 การทําซํ้า ดําเนินการดังนี้ • เมื่อมีการทําการผลิตใหม่ ต ้องมีระเบียบปฏิบัติสําหรับกระบวนการนํามาผลิตใหม่ เพื่อลด ความเสี่ยงในการปนเปื้อนข ้ามจากวัตถุที่มีส่วนผสมของสารที่ก่อให ้เกิดการแพ ้ • และมั่นใจได ้ในความปลอดภัย ความถูกต ้องตามกฎหมายและคุณภาพของผลิตภัณฑ์
  • 7. 7 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 7 การติดแจ้งเตือนบนฉลาก ดําเนินการดังนี้ • หากธรรมชาติของกระบวนการผลิตไม่สามารถควบคุมการปนเปื้อนข ้ามของสารก่อภูมิแพ ้ ได ้บนฉลากต ้องมีการระบุสารภูมิแพ ้ดังกล่าว • แนวทางการปฏิบัติระดับนานาชาติหรือหลักการปฏิบัติต ้องใช ้เป็นหลักการเพื่อระบุคํา เตือนดังกล่าว Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 8 การกล่าวอ้าง สารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้ • เมื่อมีการอ ้างอิงเกี่ยวกับความเหมาะสมของอาหารสําหรับสารก่อภูมิแพ ้องค์กรต ้อง มั่นใจว่ากระบวนการผลิตได ้รับการตรวจพิสูจน์ยืนยันอย่างสมบูรณ์ว่ามีความสอดคล ้อง กับการอ ้างอิงดังกล่าว • และต ้องมีการจัดเก็บทําเป็นเอกสารไว ้
  • 8. 8 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 9 การทําความสะอาดสําหรับการผลิตสินค้าที่มีส่วนประกอบ ของสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้ อุปกรณ์เครื่องมือ หรือพื้นที่ต ้องออกแบบเพื่อกําจัดหรือลดระดับความเสี่ยงการปนเปื้อน สารก่อภูมิแพ ้ วิธีการทําความสะอาดต ้องพิสูจน์ยืนยันและขั้นตอนการทวนสอบต ้องทําเป็นประจํา อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช ้ในการทําความสะอาด ต ้องมีการบ่งชี้ว่าใช ้กับสารก่อภูมิแพ ้ตัวไหน ใช ้เฉพาะตัว หรือประสิทธิภาพความสะอาดหลังใช ้ Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 9 การทําความสะอาดสําหรับการผลิตสินค้าที่มีส่วนประกอบ ของสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้ แบบฟอร์มตัวอย่าง Form 4 Form 4 Validated record
  • 9. 9 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ Copyrightby Sri sp_new@yahoo.com เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ Copyrightby Sri sp_new@yahoo.com R5 sandwich ELISA (Mendez method), R5 ELISA (competitive ELISA) การตรวจสอบอาหารก่อภูมิแพ ้ตกค้าง Food Allergens โดยวิธี ELISA อย่างเฉพาะเจาะจง ในการหาปริมาณโปรตีนชนิดที่ก่อภูมิแพ ้ใน อาหาร และ ยังใช ้เป็น Clean Validation ร่วมกับ การ Swab เพื่อตรวจความสะอาดภาชนะอุปกรณ์ หรือ พื้นผิวที่สัมผัสอาหาร
  • 10. 10 Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand.Tel : +66 0891260415 , Fax : +66 02-8738349, e-mail : sp_new@yahoo.com , https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard Copyrightby Sri เริ่มต้นอย่างไร กับการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ sp_new@yahoo.com ลําดับที่ 10 การฝึกอบรมเรื่องสารก่อภูมิแพ้ ดําเนินการดังนี้ บุคลากรที่เกี่ยวข ้องทั้งหมดรวม ถึงพนักงานชั่วคราวและ ผู้รับเหมาจ ้าง ต ้อง ได ้รับการ อบรม 1. ความตระหนักทั่วไปต่อสารก่อภูมิแพ ้ 2. ฝึกอบรมภายในองค์กรถึงขั้นตอนการดูแลสารก่อภูมิแพ ้ ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อได้ที่ Address: Sriprapai Pajareeyanont 70/23 Moo 4 , Soi Pracha-utit 70/1,Pracha-u-tit Rd.,Tungkru, Bangkok ,10140 Thailand. Tel: 08-91260415 Fax: 0-28738349 Email: sp_new@yahoo.com Web: https://www.facebook.com/SriprapaiFoodStandard อ.ศรีประไพ ปาจรียานนท์