SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ทฤษฎีจ ิต สัง คมของอีร ิค สัน
( Erikson’ Theory of Deveiopment
เสนอ
           อาจารย์นิตยา เรืองแป้น
                        จัดทำาโดย
      นางสาวสุไรนี    ดีมูเละ       รหัส
 405201003
      นางสาวนูรมา     ละเล๊าะ     รหัส
405201007
      นางสาวรอสมี     เปาะเสาะ รหัส
405201009
      นางสาวมารีนา นอจิ            รหัส
405201011
      นางสาวกาวากิป มะสะ          รหัส
405201021
อิริคสัน เป็นนักจิตวิเคราะห์ที่มีชอของ
                                          ื่
 อเมริกา และจัดอยู่ในกลุ่มฟรอยรุ่นใหม่ เกิดที่
 เมืองแฟรงเฟิต ประเทศเยอรมัน ต่อมาได้ย้าย
ไปอยู่ประเทศอเมริกาในปี ค.ศ. 1933 อีริคสัน ได้
สร้างทฤษฎีขึ้นในแนวทางความคิดของฟรอยด์
แต่ได้เน้นความสำาคัญทางด้านสังคม วัฒนธรรม
    และสิ่งแวดล้อมด้านจิตใจ (Psychological
    Environment) ว่ามีบทบาทในพัฒนาการ
  บุคลิกภาพมาก ความคิดของอีริคสันต่างกับฟ
 รอยด์หลายประการ เป็นต้นว่า เห็นความสำาคัญ
 ของ Ego มากกว่า Id และถือว่าพัฒนาการของ
  คนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่ต่อไปจนกระทั่งวาระ
สุดท้ายของชีวิต คือ วัยชรา และตอนที่ยังมีชีวิต
1. ความไว้ว างใจกับ ความไม่ไ ว้ว างใจ
  (T rust VS. M  istrust) (ในช่ว ง0 -1 ปี)
      วัยนี้ทารกมีความต้องการแต่ไม่สามารถช่วย
     ตัวเองได้ให้สมความปรารถนา ต้องอาศัยผู้
   ใหญ่หรือู้ใกล้ชด ดั้งนั้น แม่หรือผูเลี้ยวดู จึงมี
                   ิ                  ้
    อิทธิพลต่อเด็กทารกมาก “ความคงเส้น คง
   วา” ในการตอบสนองความต้องการให้ทารก
  ย่อมส่งผลถึงพัฒนาการทางบวกและลบได้ หาก
   ได้รับความพอใจและบรรลุตามความต้องการ
   เสมอทารกก็รู้สกไว้ใจผู้อื่นได้ แต่ถ้าไม่บรรลุ
                     ึ
   ตามความต้องการทารกก็จะรู้สกไม่ไว้ใจผูอื่น
                                   ึ           ้
2. ความเป็น ตัว ของตัว เองกับ ความ
คลางแคลงใจ (Autonomy VS. Doubt)(ใน
            ช่ว ง2 – 3 ปี)
    เด็กในวัยนีจะเริ่มพัฒนาความเป็นตัวของตัว
                 ้
   เอง รู้สึกว่าตนเองมีความสำาคัญและอยาก
 เอาชนะสิ่งแวดล้อมหรืออำานาจที่มีอยู่ พ่อแม่จึง
ควรระวังในเรื่องความสมดุลในการเลี้ยงดู ควร
ให้โ อกาสและกำา ลัง ใจต่อ เด็ก เด็กจะพัฒนา
  ความเป็นตัวเอง มีความมั่นใจ รู้จักอิสระที่จะ
ควบคุมตนเอง แต่ถ้าพ่อแม่ไ ม่ใ ห้โ อกาสหรือ
    ทำา แทนเด็ก ทุก อย่า ง เด็กจะเกิดความ
   คลางแคลงใจในความสามารถของตนเอง
3. ความริเ ริ่ม กับ ความรู้ส ึก ผิด (Initiative
VS. Guilt) (ในช่ว ง4 – 5 ปี)
 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตลอดถึงการใช้ภาษา
จะช่วยให้เด็กเกิดแง่คดในการวางแผนและการ
                         ิ
  ริเริมทำากิจกรรมต่างๆ ก็จะเป็นการส่ง เสริม
       ่
 ทำา ให้เ ขารู้ส ึก ต้อ งการที่จ ะศึก ษาค้น คว้า
ต่อ ไปเด็กก็จะมีความคิดริเริ่ม แต่ในทางตรงกัน
ข้ามถ้าผู้ใหญ่คอยเข้ม งวด ไม่เ ปิด โอกาสให้
เด็ก ตำา หนิอ ยู่ต ลอดเวลา เขาก็จะรูสึกผิดเมือ
                                        ้       ่
  คิดจะทำาสิ่งใดๆ นอกจากนีเขาก็จะเริมเรียนรู้
                             ้            ่
 บทบาททางเพศมาตรฐานทางศีลธรรมและการ
                   ควบคุมอารมณ์
4. ความขยัน หมัน เพีย รกับ ความรู้ส ก
                      ่                  ึ
ตำ่า ต้อ ย (Industry VS. Inferiority) (ใน
                ช่ว ง6 – 11 ปี)
      เด็กในวัยนี้จะเริ่มเข้าเรียนและต้องการเป็น
  ที่ยอมรับของผู้อื่น มีพัฒนาการทางด้านความ
   ขยันขันแข็ง โดยพยายามคิดทำา คิดผลิตสิ่ง
  ต่างๆ ให้เหมือนผู้ใหญ่ด้วยการทุ่มเททั้งกำาลัง
 กายและกำาลังใจ ถ้าเขาได้ร ับ คำา ชมเชยก็จ ะ
เป็น แรงกระตุ้น ให้เ กิด กำา ลัง ใจ มีความมานะ
พยายามมากขึ้น แต่ถ้าตรงกันข้ามเด็กไม่ไ ด้ร ับ
ความสนใจหรือผู้ใหญ่แสดงออกมาให้เขาเห็น
5. ความเป็น เอกลัก ลัก ษณ์ก ับ ความ
  สับ สนในบทบาท (Identity VS. Role
    Confusion) (ในช่ว ง12 – 18 ปี)
   เป็นช่วงที่เด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่น และเริ่มพัฒนา
  เอกลักษณ์ของตนเองว่าตนคือใคร ถ้าเขา
 ค้นหาตนเองได้ เขาจะแสดงบทบาทของ
ตนเองได้อ ย่า งเหมาะสม แต่ถ้าตรงกันข้าม
เขาค้น หาเอกลัก ษณ์ข องตนไม่พ บเขาจะ
เกิด ความสับ สนและแสดงบทบาทที่ไม่เหมาะ
       สมหรือไม่สอดคล้องกับตนเอง
6. ความใกล้ช ด ผูก พัน – ความอ้า งว้า งตัว
                          ิ
คนเดีย ว (Intimacy vsIsolation)
 วัย นีเ ป็น วัย ผูใ หญ่ร ะยะต้น (Young
       ้           ้
Adulthood)
    เป็นขั้นของการพัฒนาทางด้านความรัก ความ
 ผูกพัน เมื่อบุคคลสามารถค้นพบเอกลักษณ์ของ
ตนเองได้แล้ว ก็เกิดความรู้ส ก ต้อ งการมีเ พื่อ น
                               ึ
 สนิท ที่ร ู้ใ จ สามารถปรับทุกข์ซึ่งกันและกันได้
ตลอดถึงแสดงความยินดี และเสียสละให้แก่กัน แต่
 ถ้าพัฒนาการในช่วงนี้ล้มเหลวไม่สามารถสร้าง
 ความรู้สกเช่นนีได้ เขาก็จะขาดเพื่อนสนิท หรือ
           ึ            ้
  เกิดความรู้สึกต้อ งการจะชิง ดีช ง เด่น ชอบ
                                    ิ
 ทะเลาะกับ ผู้อ น รู้ส ก ว้า เหว่เ หมือ นถูก ทอด
                     ื่     ึ
7. การทำา ประโยชน์ใ ห้ส ัง คมกับ การ
 คิด ถึง แต่ต นเอง (Generativity VS. Self
                   Absorption)
  เป็นช่วงของวัยกลางคน ซึ่งมีความพร้อมที่จะ
 สร้างประโยชน์ให้สังคมได้เต็มที่ ถ้าพัฒนาการ
แต่ละขั้นตอนที่ผานมาดำาเนินไปด้วยดี มีการดูแล
                 ่
รับผิดชอบเอาใจใส่ต่อบุตรหลานให้มีความสุข มี
การอบรมสั่ง สอนบุต รหลานให้เ ป็น คนดีต ่อ
ไปในอนาคต แต่ถาตรงกันข้ามก็จะไม่ประสบ
                      ้
  ความสำาเร็จ เขาจะเกิดความรูสึกท้อถอย เบือ
                               ้          ่
  หน่ายชีวต คิดถึงแต่ตนเองไม่ร ับ ผิด ชอบต่อ
           ิ
                     สัง คม
8. บูร ณาการกับ ความสิน หวัง (Integrity
                        ้
VS. Despair) วัย ชรา
      เป็นช่วงของวัยชราซึ่งเป็นวัยสุดท้าย ถ้า
บุคคลผ่านขั้นตอนต่าง ๆ มาด้วยดี ก็จะมองอดีต
  เต็มไปด้วยความสำาเร็จ มีปรัชญาชีวิตตนเอง
 ภูมใจในการถ่า ยทอดประสบการณ์ต ่า งให้
    ิ
  แก่ล ูก หลาน แต่ถ้าตรงกันข้ามกันชีวิตมีแต่
ความล้มเหลว ก็จะเกิดความรู้สกสิ้นหวังในชีวิต
                              ึ
เสียดายเวลาที่ผ่านมาไม่พอกับชีว ิต ในอดีต ไม่
 ยอมรับ สภาพตนเอง เกิด ความคับ ข้อ งใจ
 ต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ขาดความ
                สงบสุขในชีวิต
แนวคิด ของอีร ิค สัน ที่ม ีอ ิท ธิพ ล
         ต่อ การศึก ษา
• ระดับ อนุบ าล
        การสงเสริมให้เกิด Autonomy ในระดับ
    อนุบาลควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองทำาสิง  ่
  ต่างๆอย่างอิสระ ไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวมากนัก แต่
  คอยให้ความช่วยเหลือแนะนำาอยู่ห่างๆทั้งนี้เพื่อ
  ป้องกันมิให้เกิดคลางแคลงในความสามารถของ
  ตน เพราะถ้าครูไม่คอยดูแล้ว เด็กอาจจะทำาใน
   สิ่งที่เกิดความสามารถเกินกำาลังของตน ซึ้งจะ
  ทำาให้เด็กเกิดความสงสัยในความสามารถซึ้งสิ่ง
        ที่จะตามมาคือความไม่มั่นใจในตนเอง
• ระดับ ประถมต้น และประถมปลาย
              การส่งเสริมให้เกิด Industry เด็ก
   วัยนี้อาจจะพัฒนาความรู้สึกตำ่าต้อย ความรู้สึก
      ว่าตนเองสู้เพื่อนๆไม่ได้ โดยง่าย ถ้าครูไม่
   ทราบวิธีที่จะช่วยเหลือ สิ่งสำาคัญที่จะต้องระวัง
   สำาหรับเด็กวัยนี้ คือ พยายามหลีกเลี่ยง การให้
     งานทำาชนิดที่มีการแข่งขัน การเปรียบเทียบ
  ระดับความสามารถ เพราะถ้าให้งานประเภทนี้
     จะทีเด็กเพียงส่วนน้อยเท่านันที่ประสบความ
                                   ้
  สำาเร็จแต่เด็กส่วนใหญ่จำาทำาไม่ได้ ซึ้งจะทำาให้
   เด็กพัฒนาความรู้สึกตำ่าต้อย ความรู้สกสูเพื่อน
                                            ึ ้
   ไม่ได้ ตั้งแต่เริ่มเข้าเรียน ซึ้งเด็กจะมีแนวโน้ม
   คิดว่าตัวเองเป็นเช่นนั้นตลอดไป ฉะนั้นวิธีที่ดี
  ที่สด คือ พยายามจัดประสบการณ์ที่ช่วยส่งเสริม
      ุ
  การเรียนรู้ให้โดยการเปิดโอกาส ให้เด็กทำางาน
• ระดับ มัธ ยมศึก ษา
                สิ่งสำาคัญการจัดการศึกษาสำาหรับเด็ก
         วัยรุ่น คือการเกี่ยวข้องกับ negative
  identity ซึ้งถือว่าเป็นสิ่งที่ยากลำาบาก เด็กพวก
   นี้มักจะยึดยาเสพติดเป็นที่พึ่ง ดั้งนั้นครูที่ทำางาน
  กับเด็ก ควรพยายามทำาความเข้าใจถึงแรงจูงใจ
      ที่ทำาให้เด็กพวกนี้ใช้ยาและพยายามหาทาง
   เลือกให้เด็ก สามารถแสวงหาความหมายหรือ
   ประสบการณ์ในชีวิต ครูอาจมีพูดให้เด็กเข้าใจ
    ว่ามีวิธอื่นที่จะช่วยในการแสวงหาความหมาย
             ี
  ของชีวิตโดยไม่ต้องพึ่งยา สิงสำาคัญที่ครูจะต้อง
                                  ่
      ทำา คือ สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน
    ความเมตตา ความเข้าใจ ความสนใจของเด็ก
   ที่แท้จริง พยายามส่งเสริมให้นักเรียนแสดงออก
สรุป
          ทฤษฎีของอีริคสัน เป็นทฤษฎีที่อธิบาย
 พัฒนาการของชีวิตตั้งแต่งวัยทารกจนถึงวัยชรา
     อีริคสันเชือว่า วัยแรกของชีวิตเป็นวัยที่เป็น
                  ่
    รากฐานเบืองต้น และวัยต่อ ๆ มาก็สร้างจาก
                    ้
 รากฐานนี้ ถ้าหากในวัยทารกเด็กได้รับการดูแล
 อย่างดีและอบอุ่น ก็จะช่วยให้เด็กมีความเชือถือ ่
ในผูอื่นที่อยู่รอบ ๆ ตั้งแต่บิดามารดา บุคคลต่าง ๆ
       ้
ที่อยู่รอบตัวเขา จะช่วยให้เด็กช่วยตนเอง มีความ
 ตั้งใจที่จะทำาอะไรเอง และเมื่อเขาเติบโตขึ้นก็จะ
เป็นผู้ที่รู้สกว่าตนเองมีสมรรถภาพที่จะทำาอะไรได้
              ึ
  นอกจากนีจะมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอื่น
                ้                                ้
เสียสละไม่เห็นแก่ ตัวดูแลผู้ที่อ่อนเยาว์กว่า เช่น
ลูกหลาน หรือคนรุ่นหลังต่อไป และเมื่ออยู่ในวัย
ชราก็จะมีความสุข เพราะว่าได้ทำาประโยชน์และ
หน้าที่มาอย่างเต็มที่แล้ว อีริคสันถือว่าชีวิตของ
คนเรา แต่ละวัยจะมีปญหา บางคนก็สามารถแก้
                      ั
 ปัญหาด้วยตนเอง และดำาเนินชีวิตไปตามขั้น
 แต่บางคนก็แก้ปัญหาเองไม่ได้ อาจจะต้องไป
พบจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยาช่วยเพื่อแก้ปญหา   ั
    แต่บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลเป็นเรื่องที่
  เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และทุกคนมีโอกาสที่จะ
    แก้ไขบุคลิกภาพของตน และผู้ใหญ่ที่อยู่
   แวดล้อมก็มีสวนที่จะช่วยส่งเสริมหรือแก้ไข
               ่
บุคลิกภาพของผู้เยาว์ที่อยู่ในความดูแลให้เจริญ
         เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสุข

More Related Content

What's hot

Child Development
Child DevelopmentChild Development
Child Developmentguestb5cdc4
 
สังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นสังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นapiromrut
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54Patanan0227
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างdirectorcherdsak
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน nimaskah
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์Wuttipong Tubkrathok
 
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กSusheewa Mulmuang
 

What's hot (12)

Child Development
Child DevelopmentChild Development
Child Development
 
สังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นสังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่น
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
วัยรุ่น
วัยรุ่นวัยรุ่น
วัยรุ่น
 
2010111209582136
20101112095821362010111209582136
2010111209582136
 
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามแนวคิดซิกมันฟรอยด์
 
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
 

Viewers also liked

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน6Phepho
 
Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya
Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya
Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya Lucky Andreadi Purboyo
 
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก6Phepho
 
Combating monel laundering
Combating monel launderingCombating monel laundering
Combating monel launderinguelstudent123
 
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน6Phepho
 

Viewers also liked (20)

บรู
บรูบรู
บรู
 
Beat-Off-Silence
Beat-Off-Silence Beat-Off-Silence
Beat-Off-Silence
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
Beat-Off-Silence ru
Beat-Off-Silence ruBeat-Off-Silence ru
Beat-Off-Silence ru
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม ของ อีริคสัน
 
Bosh seminar mspc
Bosh seminar mspcBosh seminar mspc
Bosh seminar mspc
 
Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya
Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya
Media Rekomendasi - Djarum Bakti Budaya - Galeri Indonesia Kaya
 
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
 
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Lab view core1coursemanual_2009_eng
Lab view core1coursemanual_2009_engLab view core1coursemanual_2009_eng
Lab view core1coursemanual_2009_eng
 
Combating monel laundering
Combating monel launderingCombating monel laundering
Combating monel laundering
 
Media Recommendation - Djarum - Black
Media Recommendation -  Djarum - BlackMedia Recommendation -  Djarum - Black
Media Recommendation - Djarum - Black
 
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสันทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
ทฤษฎีจิตสังคม อีริคสัน
 

Similar to Original erikson 2

Similar to Original erikson 2 (20)

อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
273684 ch2 พฤติกรรมทางเพศ
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
เด็ก
เด็กเด็ก
เด็ก
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

More from Rorsed Mardra

1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 

More from Rorsed Mardra (20)

Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 

Original erikson 2

  • 1. ทฤษฎีจ ิต สัง คมของอีร ิค สัน ( Erikson’ Theory of Deveiopment
  • 2. เสนอ อาจารย์นิตยา เรืองแป้น จัดทำาโดย นางสาวสุไรนี ดีมูเละ รหัส 405201003 นางสาวนูรมา ละเล๊าะ รหัส 405201007 นางสาวรอสมี เปาะเสาะ รหัส 405201009 นางสาวมารีนา นอจิ รหัส 405201011 นางสาวกาวากิป มะสะ รหัส 405201021
  • 3. อิริคสัน เป็นนักจิตวิเคราะห์ที่มีชอของ ื่ อเมริกา และจัดอยู่ในกลุ่มฟรอยรุ่นใหม่ เกิดที่ เมืองแฟรงเฟิต ประเทศเยอรมัน ต่อมาได้ย้าย ไปอยู่ประเทศอเมริกาในปี ค.ศ. 1933 อีริคสัน ได้ สร้างทฤษฎีขึ้นในแนวทางความคิดของฟรอยด์ แต่ได้เน้นความสำาคัญทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมด้านจิตใจ (Psychological Environment) ว่ามีบทบาทในพัฒนาการ บุคลิกภาพมาก ความคิดของอีริคสันต่างกับฟ รอยด์หลายประการ เป็นต้นว่า เห็นความสำาคัญ ของ Ego มากกว่า Id และถือว่าพัฒนาการของ คนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่ต่อไปจนกระทั่งวาระ สุดท้ายของชีวิต คือ วัยชรา และตอนที่ยังมีชีวิต
  • 4. 1. ความไว้ว างใจกับ ความไม่ไ ว้ว างใจ (T rust VS. M istrust) (ในช่ว ง0 -1 ปี) วัยนี้ทารกมีความต้องการแต่ไม่สามารถช่วย ตัวเองได้ให้สมความปรารถนา ต้องอาศัยผู้ ใหญ่หรือู้ใกล้ชด ดั้งนั้น แม่หรือผูเลี้ยวดู จึงมี ิ ้ อิทธิพลต่อเด็กทารกมาก “ความคงเส้น คง วา” ในการตอบสนองความต้องการให้ทารก ย่อมส่งผลถึงพัฒนาการทางบวกและลบได้ หาก ได้รับความพอใจและบรรลุตามความต้องการ เสมอทารกก็รู้สกไว้ใจผู้อื่นได้ แต่ถ้าไม่บรรลุ ึ ตามความต้องการทารกก็จะรู้สกไม่ไว้ใจผูอื่น ึ ้
  • 5. 2. ความเป็น ตัว ของตัว เองกับ ความ คลางแคลงใจ (Autonomy VS. Doubt)(ใน ช่ว ง2 – 3 ปี) เด็กในวัยนีจะเริ่มพัฒนาความเป็นตัวของตัว ้ เอง รู้สึกว่าตนเองมีความสำาคัญและอยาก เอาชนะสิ่งแวดล้อมหรืออำานาจที่มีอยู่ พ่อแม่จึง ควรระวังในเรื่องความสมดุลในการเลี้ยงดู ควร ให้โ อกาสและกำา ลัง ใจต่อ เด็ก เด็กจะพัฒนา ความเป็นตัวเอง มีความมั่นใจ รู้จักอิสระที่จะ ควบคุมตนเอง แต่ถ้าพ่อแม่ไ ม่ใ ห้โ อกาสหรือ ทำา แทนเด็ก ทุก อย่า ง เด็กจะเกิดความ คลางแคลงใจในความสามารถของตนเอง
  • 6. 3. ความริเ ริ่ม กับ ความรู้ส ึก ผิด (Initiative VS. Guilt) (ในช่ว ง4 – 5 ปี) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตลอดถึงการใช้ภาษา จะช่วยให้เด็กเกิดแง่คดในการวางแผนและการ ิ ริเริมทำากิจกรรมต่างๆ ก็จะเป็นการส่ง เสริม ่ ทำา ให้เ ขารู้ส ึก ต้อ งการที่จ ะศึก ษาค้น คว้า ต่อ ไปเด็กก็จะมีความคิดริเริ่ม แต่ในทางตรงกัน ข้ามถ้าผู้ใหญ่คอยเข้ม งวด ไม่เ ปิด โอกาสให้ เด็ก ตำา หนิอ ยู่ต ลอดเวลา เขาก็จะรูสึกผิดเมือ ้ ่ คิดจะทำาสิ่งใดๆ นอกจากนีเขาก็จะเริมเรียนรู้ ้ ่ บทบาททางเพศมาตรฐานทางศีลธรรมและการ ควบคุมอารมณ์
  • 7. 4. ความขยัน หมัน เพีย รกับ ความรู้ส ก ่ ึ ตำ่า ต้อ ย (Industry VS. Inferiority) (ใน ช่ว ง6 – 11 ปี) เด็กในวัยนี้จะเริ่มเข้าเรียนและต้องการเป็น ที่ยอมรับของผู้อื่น มีพัฒนาการทางด้านความ ขยันขันแข็ง โดยพยายามคิดทำา คิดผลิตสิ่ง ต่างๆ ให้เหมือนผู้ใหญ่ด้วยการทุ่มเททั้งกำาลัง กายและกำาลังใจ ถ้าเขาได้ร ับ คำา ชมเชยก็จ ะ เป็น แรงกระตุ้น ให้เ กิด กำา ลัง ใจ มีความมานะ พยายามมากขึ้น แต่ถ้าตรงกันข้ามเด็กไม่ไ ด้ร ับ ความสนใจหรือผู้ใหญ่แสดงออกมาให้เขาเห็น
  • 8. 5. ความเป็น เอกลัก ลัก ษณ์ก ับ ความ สับ สนในบทบาท (Identity VS. Role Confusion) (ในช่ว ง12 – 18 ปี) เป็นช่วงที่เด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่น และเริ่มพัฒนา เอกลักษณ์ของตนเองว่าตนคือใคร ถ้าเขา ค้นหาตนเองได้ เขาจะแสดงบทบาทของ ตนเองได้อ ย่า งเหมาะสม แต่ถ้าตรงกันข้าม เขาค้น หาเอกลัก ษณ์ข องตนไม่พ บเขาจะ เกิด ความสับ สนและแสดงบทบาทที่ไม่เหมาะ สมหรือไม่สอดคล้องกับตนเอง
  • 9. 6. ความใกล้ช ด ผูก พัน – ความอ้า งว้า งตัว ิ คนเดีย ว (Intimacy vsIsolation) วัย นีเ ป็น วัย ผูใ หญ่ร ะยะต้น (Young ้ ้ Adulthood) เป็นขั้นของการพัฒนาทางด้านความรัก ความ ผูกพัน เมื่อบุคคลสามารถค้นพบเอกลักษณ์ของ ตนเองได้แล้ว ก็เกิดความรู้ส ก ต้อ งการมีเ พื่อ น ึ สนิท ที่ร ู้ใ จ สามารถปรับทุกข์ซึ่งกันและกันได้ ตลอดถึงแสดงความยินดี และเสียสละให้แก่กัน แต่ ถ้าพัฒนาการในช่วงนี้ล้มเหลวไม่สามารถสร้าง ความรู้สกเช่นนีได้ เขาก็จะขาดเพื่อนสนิท หรือ ึ ้ เกิดความรู้สึกต้อ งการจะชิง ดีช ง เด่น ชอบ ิ ทะเลาะกับ ผู้อ น รู้ส ก ว้า เหว่เ หมือ นถูก ทอด ื่ ึ
  • 10. 7. การทำา ประโยชน์ใ ห้ส ัง คมกับ การ คิด ถึง แต่ต นเอง (Generativity VS. Self Absorption) เป็นช่วงของวัยกลางคน ซึ่งมีความพร้อมที่จะ สร้างประโยชน์ให้สังคมได้เต็มที่ ถ้าพัฒนาการ แต่ละขั้นตอนที่ผานมาดำาเนินไปด้วยดี มีการดูแล ่ รับผิดชอบเอาใจใส่ต่อบุตรหลานให้มีความสุข มี การอบรมสั่ง สอนบุต รหลานให้เ ป็น คนดีต ่อ ไปในอนาคต แต่ถาตรงกันข้ามก็จะไม่ประสบ ้ ความสำาเร็จ เขาจะเกิดความรูสึกท้อถอย เบือ ้ ่ หน่ายชีวต คิดถึงแต่ตนเองไม่ร ับ ผิด ชอบต่อ ิ สัง คม
  • 11. 8. บูร ณาการกับ ความสิน หวัง (Integrity ้ VS. Despair) วัย ชรา เป็นช่วงของวัยชราซึ่งเป็นวัยสุดท้าย ถ้า บุคคลผ่านขั้นตอนต่าง ๆ มาด้วยดี ก็จะมองอดีต เต็มไปด้วยความสำาเร็จ มีปรัชญาชีวิตตนเอง ภูมใจในการถ่า ยทอดประสบการณ์ต ่า งให้ ิ แก่ล ูก หลาน แต่ถ้าตรงกันข้ามกันชีวิตมีแต่ ความล้มเหลว ก็จะเกิดความรู้สกสิ้นหวังในชีวิต ึ เสียดายเวลาที่ผ่านมาไม่พอกับชีว ิต ในอดีต ไม่ ยอมรับ สภาพตนเอง เกิด ความคับ ข้อ งใจ ต่อสภาพความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ขาดความ สงบสุขในชีวิต
  • 12. แนวคิด ของอีร ิค สัน ที่ม ีอ ิท ธิพ ล ต่อ การศึก ษา • ระดับ อนุบ าล การสงเสริมให้เกิด Autonomy ในระดับ อนุบาลควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองทำาสิง ่ ต่างๆอย่างอิสระ ไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวมากนัก แต่ คอยให้ความช่วยเหลือแนะนำาอยู่ห่างๆทั้งนี้เพื่อ ป้องกันมิให้เกิดคลางแคลงในความสามารถของ ตน เพราะถ้าครูไม่คอยดูแล้ว เด็กอาจจะทำาใน สิ่งที่เกิดความสามารถเกินกำาลังของตน ซึ้งจะ ทำาให้เด็กเกิดความสงสัยในความสามารถซึ้งสิ่ง ที่จะตามมาคือความไม่มั่นใจในตนเอง
  • 13. • ระดับ ประถมต้น และประถมปลาย การส่งเสริมให้เกิด Industry เด็ก วัยนี้อาจจะพัฒนาความรู้สึกตำ่าต้อย ความรู้สึก ว่าตนเองสู้เพื่อนๆไม่ได้ โดยง่าย ถ้าครูไม่ ทราบวิธีที่จะช่วยเหลือ สิ่งสำาคัญที่จะต้องระวัง สำาหรับเด็กวัยนี้ คือ พยายามหลีกเลี่ยง การให้ งานทำาชนิดที่มีการแข่งขัน การเปรียบเทียบ ระดับความสามารถ เพราะถ้าให้งานประเภทนี้ จะทีเด็กเพียงส่วนน้อยเท่านันที่ประสบความ ้ สำาเร็จแต่เด็กส่วนใหญ่จำาทำาไม่ได้ ซึ้งจะทำาให้ เด็กพัฒนาความรู้สึกตำ่าต้อย ความรู้สกสูเพื่อน ึ ้ ไม่ได้ ตั้งแต่เริ่มเข้าเรียน ซึ้งเด็กจะมีแนวโน้ม คิดว่าตัวเองเป็นเช่นนั้นตลอดไป ฉะนั้นวิธีที่ดี ที่สด คือ พยายามจัดประสบการณ์ที่ช่วยส่งเสริม ุ การเรียนรู้ให้โดยการเปิดโอกาส ให้เด็กทำางาน
  • 14. • ระดับ มัธ ยมศึก ษา สิ่งสำาคัญการจัดการศึกษาสำาหรับเด็ก วัยรุ่น คือการเกี่ยวข้องกับ negative identity ซึ้งถือว่าเป็นสิ่งที่ยากลำาบาก เด็กพวก นี้มักจะยึดยาเสพติดเป็นที่พึ่ง ดั้งนั้นครูที่ทำางาน กับเด็ก ควรพยายามทำาความเข้าใจถึงแรงจูงใจ ที่ทำาให้เด็กพวกนี้ใช้ยาและพยายามหาทาง เลือกให้เด็ก สามารถแสวงหาความหมายหรือ ประสบการณ์ในชีวิต ครูอาจมีพูดให้เด็กเข้าใจ ว่ามีวิธอื่นที่จะช่วยในการแสวงหาความหมาย ี ของชีวิตโดยไม่ต้องพึ่งยา สิงสำาคัญที่ครูจะต้อง ่ ทำา คือ สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน ความเมตตา ความเข้าใจ ความสนใจของเด็ก ที่แท้จริง พยายามส่งเสริมให้นักเรียนแสดงออก
  • 15. สรุป ทฤษฎีของอีริคสัน เป็นทฤษฎีที่อธิบาย พัฒนาการของชีวิตตั้งแต่งวัยทารกจนถึงวัยชรา อีริคสันเชือว่า วัยแรกของชีวิตเป็นวัยที่เป็น ่ รากฐานเบืองต้น และวัยต่อ ๆ มาก็สร้างจาก ้ รากฐานนี้ ถ้าหากในวัยทารกเด็กได้รับการดูแล อย่างดีและอบอุ่น ก็จะช่วยให้เด็กมีความเชือถือ ่ ในผูอื่นที่อยู่รอบ ๆ ตั้งแต่บิดามารดา บุคคลต่าง ๆ ้ ที่อยู่รอบตัวเขา จะช่วยให้เด็กช่วยตนเอง มีความ ตั้งใจที่จะทำาอะไรเอง และเมื่อเขาเติบโตขึ้นก็จะ เป็นผู้ที่รู้สกว่าตนเองมีสมรรถภาพที่จะทำาอะไรได้ ึ นอกจากนีจะมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอื่น ้ ้
  • 16. เสียสละไม่เห็นแก่ ตัวดูแลผู้ที่อ่อนเยาว์กว่า เช่น ลูกหลาน หรือคนรุ่นหลังต่อไป และเมื่ออยู่ในวัย ชราก็จะมีความสุข เพราะว่าได้ทำาประโยชน์และ หน้าที่มาอย่างเต็มที่แล้ว อีริคสันถือว่าชีวิตของ คนเรา แต่ละวัยจะมีปญหา บางคนก็สามารถแก้ ั ปัญหาด้วยตนเอง และดำาเนินชีวิตไปตามขั้น แต่บางคนก็แก้ปัญหาเองไม่ได้ อาจจะต้องไป พบจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยาช่วยเพื่อแก้ปญหา ั แต่บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลเป็นเรื่องที่ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และทุกคนมีโอกาสที่จะ แก้ไขบุคลิกภาพของตน และผู้ใหญ่ที่อยู่ แวดล้อมก็มีสวนที่จะช่วยส่งเสริมหรือแก้ไข ่ บุคลิกภาพของผู้เยาว์ที่อยู่ในความดูแลให้เจริญ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสุข