SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานพัฒนาเกม 
• โครงงานประเภทนีเ้ป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือ 
เพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการ 
ใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนีจ้ะมีการออกแบบ 
ลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทัง้ให้ 
ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวม 
ข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทวั่ไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึน้ 
ใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพืน้ฐานภาพ ประเภท 
Mobile Application 
• ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศภุิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 
ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชัน้ ปริญญาตรีหมวดวิชา 
คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือ 
บนพืน้ฐานภาพนี้ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหา 
ความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถงึระบบการ 
ใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทัง้นียั้งคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่ 
โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพืน้ฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรม 
บนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วสง่ 
คา หรือภาพถ่ายนัน้ผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพ 
คาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นัน้จาก 
ฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนัน้จึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายังโทรศัพท์มือถือ
โครงงาน การพัฒนา software เพ่อืใช้ในการอ่าน และ simulate การประยุกต์ใช้hologram กับบัตร 
ประจาตัว 
• ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดาษพิช ทองนพเนือ้ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ปัญญา 
แก้ว สถาบันการศึกษา นิติระดับปริญญาตรีปีที่1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชัน้ ปริญญาตรีหมวดวิชา 
คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ ปัจจุบันได้มีการนา hologram ไปประยุกต์ใช้ใน 
งานด้านต่าง ๆ มากมาย จึงได้แนวความคิดประยุกต์laser hologram ในด้านการใช้ 
เป็นmemory หรือ data storage เพื่อใช้ในการทาบัตรประจาตัว (ID card) ขึน้ โดยอาศัยลักษณะเด่น 
ของ hologram 360 ซึ่งสามารถให้ภาพสามมิติที่มองได้จากทุก ๆ มุมมองโดยรอบ และภาพที่เกิดเป็น 
แบบ Dynamics เมื่อมีการเปลี่ยนมุมการมอง และตาแหน่ง film ลอดจนลักษณะการปลอมแปลง 
ของ hologram ทาได้ยากจึงนามาเก็บรักษาความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ของบัตร งานวิจัยนีจึ้ง 
ประกอบด้วยการ 
1.ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ hologram 360 เพื่อนาไปประยุกต์สร้างเป็นบัตรประจาตัว 
2.ออกแบบ ทดลอง และพัฒนาการสร้าง hardware ในส่วนของเครื่องสาหรับอ่านและตรวจสอบบัตร 
3.พัฒนา software เพื่อทางานในด้าน pattern recognition เพื่อการอ่านและยืนยัน ( verify) บัตร 
สาหรับเครื่องอ่านบัตร ตลอดจนออกแบบระบบpattern สาหรับเก็บข้อมูลบนบัตร ระบบสาหรับการอ่านและ 
พัฒนา software เพื่อทาการ simulate และทดลองการทางานของระบบ การอ่าน การใช้บัตร การทางาน 
ของเครื่องอ่านบัตรและ software (program) ที่ใช้อ่าน
ชื่อโครงงาน Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์ 
• ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกฤชวัฒน์เวชสาร ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.วิวาราช พรแก้ว สถาบันการศึกษา โรงเรียน 
เทพศิรินทร์ระดับชัน้ มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน ไมร่ะบุ บทคัดย่อ 
คอมพิวเตอร์กราฟิกได้เข้ามามีบทบาทในงานวิจัยด้านต่าง ๆ กว่า 20 ปี ทัง้ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน 
มีความใกล้ชิด และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึน้ เพราะการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกกับสาขาวิชาต่าง 
ๆ อานวยให้การทางานนัน้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง แม่นยา สะดวกและเหมาะสมตอ่การนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ 
แก้ปัญหา และ/หรือใช้กับงานประยุกต์ที่มีความสลับซับซ้อนมาก ๆ ได้ แต่จานวนข้อมูลป้อน (Data input) ใน 
การประมวลผล (Process) แปรผันตรงกับจานวนเวลาที่ใช้ และชุดคาสงั่มักเป็นจานวนชนิดทศนิยม 
(float) ซึ่งทาให้มีค่าหน่วงเวลา (latency) ในการทางานมาก โครงงาน 3D Shader for Game 
Programming นี้มุ่งพัฒนาต้นแบบMini-3D Graphics Engine สาหรับ การพัฒนาเกมส์ในส่วน 
Graphics core โดยอาศัยเทคนิคการ Optimizing code ร่วมกับการวาง Prototyping แบบ 
พิเศษให้เข้ากับ Hardware Functions (Logical Layers)ของ CPU และ Display card ให้การ 
แสดงผลมีประสิทธิภาพสูงขึน้ และเป็นการใช้ทรัพยากรที่คุ้มคา่ เพื่อลด causes of 
bottlenecks และ penaltiesโดยส่วนของฮาร์ดแวร์ใช้AMD Processor และ nVidia 
GeFocre Display card series ส่วนของการ Programming ใช้OpenGL ในการพัฒนา 
โปรแกรมเพื่อการทดสอบ
ชื่อโครงงาน ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR 
• ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธัญญพร เรือนโรจน์รุ่ง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.สุรพันธ์ เมฆนาวิน สถาบันการศึกษา นักเรียนระดับ 
มัธยมศึกษาปีที่5 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ระดับชัน้ มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 
1/1/2541 บทคัดย่อ การศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทา OCR (Optical Character Recognition) และ 
รวบรวมตัวอย่างลายมือจากแหล่งต่างๆ เพื่อนามาศึกษาสภาพปัญหา พบปัญหาที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาในการตัดตัวอักษร 
รูปแบบของตัวอักษรที่คล้ายกันมาก เช่น ด-ค-ต , ก-ถ-ภ , ผ-ฝ-พ-ฟ การเขียน ผิดรูปซึ่งมีผลให้ตัวอักษรที่ต่างกันมีลักษณะ 
คล้ายกัน เช่น ย-ผ , ร-ช , พ-ม และความหลากหลายของ ลายมือ ดังนัน้การจะจดจาลักษณะตัวอักษรแต่ละตัวได้ ควรจะเน้นที่ 
การจดจาลักษณะร่วมหรือลักษณะเด่น ของตัวอักษรนัน้ จากลายมือที่ต่างกัน โดยการพจิารณาว่าตัวอักษร คือ กราฟที่ 
ประกอบด้วยจุดยอดและขอบที่ลากเชื่อมจุด แล้วแทนอักษรแต่ละตัวด้วยจุด แต่เกิดปัญหาว่าไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ว่า 
ลักษณะของจุดนัน้จะใช้แทนตัวอักษรตัวใด จึงเพมิ่แฟกเตอร์บางอย่างเข้าไป คือ เพมิ่จานวนจุดในบริเวณ จุดตัด จุดปลายและ 
จุดสุดขอบด้านต่าง ๆ กาหนดลาดับของจุด อักษรที่คล้ายกันมากและใช้ลักษณะเด่น ของตัวนัน้แทนจุดในบางตาแหน่ง ทาให้ 
ความชัดเจนมากขึน้และจะได้พิจารณาวิธีการอื่น ๆ เช่น การใช้อัตราส่วนของระยะระหว่างจุด การพจิารณาจุดเริ่มต้นและจุด 
สุดท้ายของตัวอักษรในการแบ่งกลุ่มตัวอักษรให้ เหลือตัวที่พิจารณาน้อยลง แต่เนื่องจากตัวอักษรภาษาไทยมีความซับซ้อนและ 
มีรายละเอียดค่อนข้างมาก จึงมุ่งเน้นให้สามารถรู้จาตัวเลข 0-9 ให้ได้ก่อน เพื่อนาไปใช้ในการคัดแยกจดหมาย 
เนื่องจากรูปแบบลายมือที่พบบ่อยในการเขียนตัวเลขมีไม่มากนัก เมื่อแทนตัวเลขด้วยจุดที่มีการกาหนดลาดับ พิจารณา 
จุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวเลขแล้ว ก็สามารถแยกความแยกต่างของตัวเลขแต่ละตัวได้ค่อนข้างมาก นอกจากนีจ้ะใช้วิธี 
ต่าง ๆ มาประกอบเพื่อเพิ่มความถูกต้อง ได้แก่ การพิจารณาตาแหน่งของจุดโดยให้ความสาคัญกับทิศทางมากกว่าระยะทาง 
โดยกาหนดทิศทางเพียง 8 ทิศ ถ้ามีทิศต่างไปจากทิศที่กาหนด จะหาว่ามีทิศใกล้เคียงกับทิศใดที่มกที่สุดและกาหนดให้เป็นทิศ 
นัน้ พิจารณาจากจานวนจุดที่ใกล้เคียงกัน และพิจารณาจากลักษณะเด่ของตัวเลข ก็จะเพมิ่ความถูกต้องได้ในระดับหนงึ่

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Darunee Ongmin
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานพันธิชา ขวัญพรหม
 
ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나Aoy Zied
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Peeravit Tipneht
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2Np Vnk
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานRatanamon Suriya
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPatchara Pussadee
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Nattapon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattarika Pijan
 

What's hot (20)

ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
project
projectproject
project
 
Computer3.1
Computer3.1Computer3.1
Computer3.1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나
 
Poy at 3
Poy at 3Poy at 3
Poy at 3
 
Com puter-project
Com puter-projectCom puter-project
Com puter-project
 
3.3
3.33.3
3.3
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
K3
K3K3
K3
 
K4
K4K4
K4
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPuifai Sineenart Phromnin
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Rattana Wongphu-nga
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์kimaira99
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองอองเอง จ้า
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Mookmanee Paiopree
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Kamonthip Konkaew
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ValenKung
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557Pisit Ausa
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์pim12582
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์pim12582
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8Aungkana Na Na
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์miiztake
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 

Similar to ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (20)

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
08
0808
08
 
งาน3
งาน3งาน3
งาน3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 8
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 

More from Revill Noes

Eating clean & healtily
Eating clean & healtilyEating clean & healtily
Eating clean & healtilyRevill Noes
 
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"Revill Noes
 
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏีใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏีRevill Noes
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือRevill Noes
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือRevill Noes
 
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงานใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงานRevill Noes
 
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Revill Noes
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6Revill Noes
 

More from Revill Noes (8)

Eating clean & healtily
Eating clean & healtilyEating clean & healtily
Eating clean & healtily
 
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
 
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏีใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงานใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
 
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 

ใบงานที่8 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์

  • 2. โครงงานพัฒนาเกม • โครงงานประเภทนีเ้ป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือ เพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการ ใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนีจ้ะมีการออกแบบ ลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทัง้ให้ ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทวั่ไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึน้ ใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
  • 3. ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพืน้ฐานภาพ ประเภท Mobile Application • ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศภุิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชัน้ ปริญญาตรีหมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือ บนพืน้ฐานภาพนี้ได้ถูกพัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหา ความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถงึระบบการ ใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทัง้นียั้งคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพืน้ฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรม บนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วสง่ คา หรือภาพถ่ายนัน้ผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพ คาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นัน้จาก ฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนัน้จึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายังโทรศัพท์มือถือ
  • 4. โครงงาน การพัฒนา software เพ่อืใช้ในการอ่าน และ simulate การประยุกต์ใช้hologram กับบัตร ประจาตัว • ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดาษพิช ทองนพเนือ้ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ปัญญา แก้ว สถาบันการศึกษา นิติระดับปริญญาตรีปีที่1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชัน้ ปริญญาตรีหมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ ปัจจุบันได้มีการนา hologram ไปประยุกต์ใช้ใน งานด้านต่าง ๆ มากมาย จึงได้แนวความคิดประยุกต์laser hologram ในด้านการใช้ เป็นmemory หรือ data storage เพื่อใช้ในการทาบัตรประจาตัว (ID card) ขึน้ โดยอาศัยลักษณะเด่น ของ hologram 360 ซึ่งสามารถให้ภาพสามมิติที่มองได้จากทุก ๆ มุมมองโดยรอบ และภาพที่เกิดเป็น แบบ Dynamics เมื่อมีการเปลี่ยนมุมการมอง และตาแหน่ง film ลอดจนลักษณะการปลอมแปลง ของ hologram ทาได้ยากจึงนามาเก็บรักษาความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ของบัตร งานวิจัยนีจึ้ง ประกอบด้วยการ 1.ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ hologram 360 เพื่อนาไปประยุกต์สร้างเป็นบัตรประจาตัว 2.ออกแบบ ทดลอง และพัฒนาการสร้าง hardware ในส่วนของเครื่องสาหรับอ่านและตรวจสอบบัตร 3.พัฒนา software เพื่อทางานในด้าน pattern recognition เพื่อการอ่านและยืนยัน ( verify) บัตร สาหรับเครื่องอ่านบัตร ตลอดจนออกแบบระบบpattern สาหรับเก็บข้อมูลบนบัตร ระบบสาหรับการอ่านและ พัฒนา software เพื่อทาการ simulate และทดลองการทางานของระบบ การอ่าน การใช้บัตร การทางาน ของเครื่องอ่านบัตรและ software (program) ที่ใช้อ่าน
  • 5. ชื่อโครงงาน Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์ • ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกฤชวัฒน์เวชสาร ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.วิวาราช พรแก้ว สถาบันการศึกษา โรงเรียน เทพศิรินทร์ระดับชัน้ มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน ไมร่ะบุ บทคัดย่อ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้เข้ามามีบทบาทในงานวิจัยด้านต่าง ๆ กว่า 20 ปี ทัง้ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน มีความใกล้ชิด และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึน้ เพราะการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกกับสาขาวิชาต่าง ๆ อานวยให้การทางานนัน้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง แม่นยา สะดวกและเหมาะสมตอ่การนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ แก้ปัญหา และ/หรือใช้กับงานประยุกต์ที่มีความสลับซับซ้อนมาก ๆ ได้ แต่จานวนข้อมูลป้อน (Data input) ใน การประมวลผล (Process) แปรผันตรงกับจานวนเวลาที่ใช้ และชุดคาสงั่มักเป็นจานวนชนิดทศนิยม (float) ซึ่งทาให้มีค่าหน่วงเวลา (latency) ในการทางานมาก โครงงาน 3D Shader for Game Programming นี้มุ่งพัฒนาต้นแบบMini-3D Graphics Engine สาหรับ การพัฒนาเกมส์ในส่วน Graphics core โดยอาศัยเทคนิคการ Optimizing code ร่วมกับการวาง Prototyping แบบ พิเศษให้เข้ากับ Hardware Functions (Logical Layers)ของ CPU และ Display card ให้การ แสดงผลมีประสิทธิภาพสูงขึน้ และเป็นการใช้ทรัพยากรที่คุ้มคา่ เพื่อลด causes of bottlenecks และ penaltiesโดยส่วนของฮาร์ดแวร์ใช้AMD Processor และ nVidia GeFocre Display card series ส่วนของการ Programming ใช้OpenGL ในการพัฒนา โปรแกรมเพื่อการทดสอบ
  • 6. ชื่อโครงงาน ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR • ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธัญญพร เรือนโรจน์รุ่ง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.สุรพันธ์ เมฆนาวิน สถาบันการศึกษา นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปีที่5 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ระดับชัน้ มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทา OCR (Optical Character Recognition) และ รวบรวมตัวอย่างลายมือจากแหล่งต่างๆ เพื่อนามาศึกษาสภาพปัญหา พบปัญหาที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาในการตัดตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษรที่คล้ายกันมาก เช่น ด-ค-ต , ก-ถ-ภ , ผ-ฝ-พ-ฟ การเขียน ผิดรูปซึ่งมีผลให้ตัวอักษรที่ต่างกันมีลักษณะ คล้ายกัน เช่น ย-ผ , ร-ช , พ-ม และความหลากหลายของ ลายมือ ดังนัน้การจะจดจาลักษณะตัวอักษรแต่ละตัวได้ ควรจะเน้นที่ การจดจาลักษณะร่วมหรือลักษณะเด่น ของตัวอักษรนัน้ จากลายมือที่ต่างกัน โดยการพจิารณาว่าตัวอักษร คือ กราฟที่ ประกอบด้วยจุดยอดและขอบที่ลากเชื่อมจุด แล้วแทนอักษรแต่ละตัวด้วยจุด แต่เกิดปัญหาว่าไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ว่า ลักษณะของจุดนัน้จะใช้แทนตัวอักษรตัวใด จึงเพมิ่แฟกเตอร์บางอย่างเข้าไป คือ เพมิ่จานวนจุดในบริเวณ จุดตัด จุดปลายและ จุดสุดขอบด้านต่าง ๆ กาหนดลาดับของจุด อักษรที่คล้ายกันมากและใช้ลักษณะเด่น ของตัวนัน้แทนจุดในบางตาแหน่ง ทาให้ ความชัดเจนมากขึน้และจะได้พิจารณาวิธีการอื่น ๆ เช่น การใช้อัตราส่วนของระยะระหว่างจุด การพจิารณาจุดเริ่มต้นและจุด สุดท้ายของตัวอักษรในการแบ่งกลุ่มตัวอักษรให้ เหลือตัวที่พิจารณาน้อยลง แต่เนื่องจากตัวอักษรภาษาไทยมีความซับซ้อนและ มีรายละเอียดค่อนข้างมาก จึงมุ่งเน้นให้สามารถรู้จาตัวเลข 0-9 ให้ได้ก่อน เพื่อนาไปใช้ในการคัดแยกจดหมาย เนื่องจากรูปแบบลายมือที่พบบ่อยในการเขียนตัวเลขมีไม่มากนัก เมื่อแทนตัวเลขด้วยจุดที่มีการกาหนดลาดับ พิจารณา จุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวเลขแล้ว ก็สามารถแยกความแยกต่างของตัวเลขแต่ละตัวได้ค่อนข้างมาก นอกจากนีจ้ะใช้วิธี ต่าง ๆ มาประกอบเพื่อเพิ่มความถูกต้อง ได้แก่ การพิจารณาตาแหน่งของจุดโดยให้ความสาคัญกับทิศทางมากกว่าระยะทาง โดยกาหนดทิศทางเพียง 8 ทิศ ถ้ามีทิศต่างไปจากทิศที่กาหนด จะหาว่ามีทิศใกล้เคียงกับทิศใดที่มกที่สุดและกาหนดให้เป็นทิศ นัน้ พิจารณาจากจานวนจุดที่ใกล้เคียงกัน และพิจารณาจากลักษณะเด่ของตัวเลข ก็จะเพมิ่ความถูกต้องได้ในระดับหนงึ่